| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     สถานที่ๆพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาเกิดในบริเวณที่ตั้งของกลุ่มพุทธสถานสารนาถภายในอาณาบริเวณของป่าอิสิปตนมฤคทายวัน๙กิโลเมตรเศษทางเหนือของเมืองพาราณสีเมืองศูนย์กลางทางศาสนาของศาสนาฮินดูรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดียในปัจจุบันหรือแคว้นกาสีชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลค่ะ สารนาถ สารนาถ สารนาถ สารนาถ กลุ่มพุทธสถานสารนาถ

     สบงคือผ้านุ่งของภิกษุสามเณรคำวัดเรียกว่าอันตรวาสกเป็นผ้าผืนหนึ่งในจำนวน๓ผืนหรือไตรจีวรของพระสงฆ์มีลักษณะเป็นผ้าสี่เหลี่ยมเหมือนผ้าขาวม้าขนาดกลางกว้าง๙๑๔๔เซนติเมตรยาว๒๘๓๘๔เซนติเมตรโดยประมาณเล็กใหญ่กว่านั้นบ้างค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สบง สบง สบง สบง

     สภาวทุกข์คือทุกข์ประจำทุกข์ที่มีอยู่ด้วยกันทุกคนไม่มียกเว้นได้แก่ความเกิดความแก่ความตาย สภาวทุกข์ ทุกข์ สภาวทุกข์

     สมณศักดิ์ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพศ๒๕๔๒หมายความว่ายศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานมีหลายชั้นแต่ละชั้นมีพัดยศเป็นเครื่องกำหนดอาจกล่าวได้ว่าสมณศักดิ์คือบรรดาศักดิ์หรือยศที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่พระสงฆ์ผู้ประพฤติดีประพฤติชอบให้ดำรงมั่นอยู่ในสมณเพศเพื่อเป็นกำลังสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาและเพื่อให้การปกครองคณะสงฆ์เป็นไปโดยเรียบร้อยเพราะการที่พระสงฆ์รูปใดได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ย่อมได้รับมอบหมายภาระหน้าที่ในการปกครองหมู่คณะแห่งสงฆ์ไปพร้อมกันด้วย สมณศักดิ์ สมณศักดิ์ สมณศักดิ์ สมณศักดิ์ ยศพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทาน

     สมัยแห่งการแต่งพระสูตรนั้นไม่มีมติที่แน่นอนบ้างก็ว่าหลายร้อยปีหลังพุทธปรินิพพานบ้างก็ว่าแต่งขึ้นในราวพศ๓๐๐เป็นอย่างเร็วแต่ต้นฉบับสันสกฤตที่ค้นพบในเนปาลล้วนมีอายุหลังพุทธกาลราว๑,๕๐๐ปีทั้งสิ้นแม้ฉบับแปลของทิเบตก็มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่๑๕วินเตอร์นิตซ์ได้เสนอความเห็นว่าพระนาคารชุนได้อ้างถึงข้อความจากสัทธรรมปุณฑรีกสูตรอยู่หลายตอนเพราะฉะนั้นต้นฉบับเดิมย่อมต้องมีอยู่แล้วในพศ๖๙๓จึงสันนิษฐานได้ว่าสัทธรรมปุณฑรีกสูตรน่าจะมีอายุไม่ต่ำกว่าพุทธศตวรรษที่๖ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาที่ความคิดแบบมหายานพัฒนาขึ้นอย่างสมบูรณ์แล้วในอินเดียค่ะ สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ไม่มีมติที่แน่นอน

     สมาทานหมายถึงการรับมาปฏิบัติเช่นสมาทานศีลคือการรับศีลมาเป็นหลักปฏิบัติสมาทานธุดงค์คือการถือปฏิบัติตามหลักธุดงควัตรตามปกติจะกระทำต่อหน้าผู้อื่นเช่นพระสงฆ์ด้วยการเปล่งวาจาหรือนึกในใจว่าจะทำอย่างโน้นอย่างนี้คล้ายกับให้คำมั่นสัญญาทั้งแก่ตนเองหรือผู้อื่นไว้การสมาทานจึงเป็นอุบายวิธีให้ประพฤติปฏิบัติตามที่เปล่งวาจาไว้เพื่อรักษาคำมั่นสัญญาอันแสดงถึงความเป็นคนมีจิตใจมั่นคงพูดจริงทำจริงไม่โลเลเหลาะแหละพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สมาทาน สมาทาน สมาทาน สมาทาน

     สมาทานแปลว่าการถือเอาการรับเอาการถือปฏิบัติค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สมาทาน สมาทาน สมาทาน สมาทาน แปลว่าการถือเอา

     สมานสังวาสอ่านว่าสะมานะสังวาดแปลว่ามีสังวาสเสมอกันมีธรรมเป็นเครื่องอยู่เสมอกันการอยู่ร่วมกัน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สมานสังวาส สมานสังวาส

     สมานสังวาสเป็นภาษาพระวินัยหมายถึงการที่ภิกษุได้รับการบรรพชาอุปสมบทถูกต้องตามพระธรรมวินัยเป็นแบบเดียวกันมีสิทธิ์ในการเป็นอยู่และเข้าร่วมอุโบสถและสังฆกรรมกับภิกษุตามปกติและอื่นๆเรียกว่าเป็นสมานสังวาสคือมีสังวาสเสมอกันหากได้รับอุปสมบทต่างกันหรือมีสิทธิ์ต่างกันไม่สามารถเข้าร่วมอุโบสถสังฆกรรมด้วยกันได้เรียกว่าเป็นนานาสังวาสคือมีสังวาสต่างกันและเป็นการแสดงถึงการที่ภิกษุจะอยู่ขบฉันและทำสังฆกรรมร่วมกันได้จะต้องมีจุดกำเนิดและข้อปฏิบัติเสมอเหมือนและเท่ากันค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สมานสังวาส สมานสังวาส สมานสังวาส สมานสังวาส

     สมาบัติแปลว่าการเข้าถึงฌานการบรรลุฌานธรรมที่พึงเข้าถึงฌาน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สมาบัติ สมาบัติ สมาบัติ สมาบัติ

     สมาบัติโดยทั่วไปหมายถึงทั้งฌานและการเข้าฌานที่กล่าวว่าเข้าสมาบัติก็คือเข้าฌานนั่นเองมี๘อย่างเรียกว่าสมาบัติ๘ได้แก่รูปฌาน๔อรูปฌาน๔เรียกแยกว่ารูปสมาบัติอรูปสมาบัติเรียกรวมว่าฌานสมาบัติและยังมีอีกอย่างหนึ่งคือนิโรธสมาบัติหรือสัญญาเวทยิตนิโรธซึ่งละเอียดสุขุมกว่าอรูปฌานเมื่อรวมกับสมาบัติ๘ข้างต้นก็เป็น๙มีคำเรียกต่างหากว่าอนุปุพพวิหารสมาบัติค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สมาบัติ สมาบัติ สมาบัติ สมาบัติ

     สมุจเฉทวิมุตติคือความดับตัวกูด้วยการกระทำทางปัญญาคือการทำลายอวิชชาลงอย่างสิ้นเชิงสมุจเฉทวิมุตติ สมุจเฉทวิมุตติ สมุจเฉทวิมุตติ

     สมุทัยหรือทุกขสมุทัยหรือทุกขสมุทัยอริยสัจเป็นหลักธรรมข้อหนึ่งในหมวดอริยสัจหรืออริยสัจ๔หมายถึงเหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดทุกข์ซึ่งเกิดจากตัณหา"ดูกรภิกษุทั้งหลายข้อนี้แลเป็นทุกขอริยสัจคือความเกิดก็เป็นทุกข์ความแก่ก็เป็นทุกข์ความเจ็บไข้ก็เป็นทุกข์ความตายก็เป็นทุกข์ความประจวบด้วยสิ่งที่ไม่เป็นที่รักก็เป็นทุกข์ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รักก็เป็นทุกข์ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สิ่งนั้นก็เป็นทุกข์โดยย่นย่ออุปาทานขันธ์๕เป็นทุกข์ดูกรภิกษุทั้งหลายข้อนี้แลเป็นทุกขสมุทัยอริยสัจคือตัณหาอันทำให้เกิดอีกประกอบด้วยความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลินมีปกติเพลิดเพลินในอารมณ์นั้นๆคือกามตัณหาภวตัณหาวิภวตัณหาดูกรภิกษุทั้งหลายข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธอริยสัจคือตัณหานั่นแลดับโดยไม่เหลือด้วยมรรคคือวิราคะสละสละคืนปล่อยไปไม่พัวพันดูกรภิกษุทั้งหลายข้อนี้แลเป็นทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจคืออริยมรรคมีองค์๘นี้แหละคือปัญญาเห็นชอบ๑ตั้งจิตชอบ๑" จากพระไตรปิฎกธัมมจักกัปปวัตตนสูตรปฐมเทศนาสมุทัยคือเหตุให้เกิดทุกข์ทุกสิ่งทุกอย่างมันมีเหตุผลทั้งนั้นเหตุของทุกข์คือตัวสมุทัยเช่นเราต้องการอยากได้อยากดีอยากเป็นแล้วขวนขวายหาก็ต้องเดือดร้อนเป็นทุกข์ได้บ้างไม่ได้บ้างถูกใจบ้างไม่ถูกใจบ้างเศร้าโศกเสียใจเดือดร้อนวุ่นวายเรียกว่ามันประสบเหตุให้เกิดทุกข์คือความอยากพระองค์เรียกว่าตัณหาสามคือกามตัณหาภวตัณหาวิภวตัณหาไม่นอกเหนือไปจากตัณหาสามประการนี้๑กามตัณหาคือความอยากได้คนเกิดขึ้นมาด้วยกามกินอยู่ด้วยกามนอนอยู่ในกามนั่งอยู่ในกามคือรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะไม่หนีไปจากห้าอย่างนี้ผู้ใดเกิดมาต้องวุ่นวายอยู่กับของเหล่านี้แหละเดือดร้อนอยู่กับของเหล่านี้คือมันข้องมันติดไปไม่หลุดไปไม่พ้น๒ภวตัณหาคือความอยากเป็นอยากได้โน่นอยากได้นี่ได้แล้วก็อยากได้อีกเป็นแล้วก็อยากเป็นอีกไม่อิ่มไม่พอเป็นสักทีนี่ก็เป็นทุกข์เพราะความไม่อิ่มไม่พอเรียกว่าภวตัณหาพระองค์ได้ละแล้ว๓วิภวตัณหาคือความไม่อยากเป็นไม่อยากได้โน่นไม่อยากได้นี่ก็เป็นทุกข์เหมือนกันเพราะความไม่อยากจึงเป็นเหตุให้เดือดร้อนเป็นทุกข์เรียกว่าวิภวตัณหาขันธวิบากทุกข์ซึ่งยังมีร่างกายอันนี้อยู่จึงจำเป็นจะต้องเสวยทุกข์อยู่ด้วยกันทุกรูปทุกนามสมุทัยเป็นของควรละอย่างความอยากเราอยากได้โน่นอยากได้นี่เราไม่เอาละสละทิ้งเลยปล่อยวางเลยสละได้จริงๆนั่นแหละสมุทัยคือตัณหา สมุทัย สมุทัย สมุทัย สมุทัย ปัจจัยที่ทำให้เกิดทุกข์

     สรณะหมายถึงบุคคลหรือสิ่งใดใดสิ่งหนึ่งที่สามารถเป็นหลักสำหรับเหนี่ยวรั้งไว้มิให้เคว้งคว้างเป็นที่พึ่งพิงอาศัยเป็นที่ให้ความอุ่นใจแม้เพียงแค่ระลึกถึงก็ทำให้สบายใจเกิดความอบอุ่นได้ในคำวัดหมายถึงพระรัตนตรัยซึ่งเป็นที่พึ่งที่ระลึกสูงสุดไม่มีสรณะอื่นยิ่งกว่า พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สรณะ สรณะ สรณะ สรณะ

     สรณะอ่านว่าสะระณะแปลว่าที่พึ่งที่ระลึกที่ยึดเหนี่ยวที่เหนี่ยวรั้งใจ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สรณะ สรณะ สรณะ สรณะ

     สรภัญญะอ่านว่าสะระพันยะหรือจะสอระพันยะคือทำนองสำหรับสวดฉันท์เป็นทำนองแบบสังโยคมักใช้สวดบูชาพระรัตนตรัยในพระพุทธศาสนาค่ะ สรภัญญะ สรภัญญะ สรภัญญะ สรภัญญะ สะระพันยะ

     สลากภัตเป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกค่ะเป็นชื่อเรียกวิธีถวายทานแก่พระสงฆ์วิธีหนึ่งโดยการจับสลากเพื่อแจกภัตตาหารหรือปัจจัยวัตถุที่ได้รับจากผู้ศรัทธาถวายเพื่ออนุเคราะห์แก่ผู้ศรัทธาที่มีปัจจัยวัตถุจำกัดและไม่สามารถถวายแก่พระสงฆ์ทั้งหมดได้ สลากภัต สลากภัต สลากภัต สลากภัต จับสลากเพื่อแจกภัตตาหาร

     สหชาติคือเกิดวันเดือนปีเดียวกันกับพระพุทธเจ้าค่ะ สารนาถ สหชาติ สหชาติ สหชาติ เกิดวันเดียวกับพระพุทธเจ้า

     สอุปาทิเสสนิพพานแปลว่าดับกิเลสแต่ยังดำรงชีวิตอยู่เช่นการตรัสรู้สอุปาทิเสสนิพพานแปลว่าอะไร สอุปาทิเสสนิพพาน สอุปาทิเสสนิพพาน

     สักกวันหรือมิสกวันแปลว่าป่าไม้ระคนตั้งอยู่ทางทิศตะวันเหนือของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์สระใหญ่ในอุทยานนี้มีชื่อว่าธรรมาโบกขรณีและสุธรรมาโบกขรณีส่วนแผ่นศิลาแก้วมีชื่อว่าธรรมาปริถิปาสาณและสุธรรมาปิริถิปาสาณอุทยานบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สักกวัน สักกวัน

     สักกะหรือศักระเป็นชื่อของเทพผู้ปกครองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในจักรวาลวิทยาของศาสนาพุทธปรากฏนามในภาษาบาลีว่าสกฺโกเทวานํอินฺโทหมายถึงสักกะผู้เป็นใหญ่เหนือทวยเทพทั้งหลายในคัมภีร์ทางศาสนาพุทธคำว่าสักกะถือว่าเป็นวิสามานยนามไม่อาจใช้เป็นชื่อแทนตัวของเทพองค์อื่นได้ในทางตรงกันข้ามคำว่าอินฺทในภาษาบาลีหรืออินฺทฺรในภาษาสันสกฤตซึ่งมีความหมายว่าผู้เป็นใหญ่จะถูกใช้เป็นคำเรียกแทนตัวท้าวสักกะอยู่บ่อยครั้งเทพสักกะมักถูกกล่าวถึงในชื่อท้าวสักกเทวราชหรืออาจเรียกเพียงย่อว่าท้าวสักกะในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกท้าวสักกะเป็นที่รู้จักในนามตี้ซื่อเทียนหรือซื่อถีหฺวันอินในภาษาจีนและไทชะกุเท็นในภาษาญี่ปุ่นสำหรับในประเทศจีนแล้วบางครั้งมีการเปรียบเทียบว่าท้าวสักกะคือเง็กเซียนฮ่องเต้หรือจักรพรรดิหยกในลัทธิเต๋าด้วยถือว่าเทพทั้งสององค์นี้มีวันประสูติเป็นวันเดียวกันคือในวันที่๙เดือนที่๑ตามปฏิทินจันทรคติจีนซึ่งโดยปกติจะอยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ตามปฏิทินสุริยคติในฤคเวทอันเป็นวรรณคดีภาษาสันสกฤตในศาสนาฮินดูคำว่าศักระอันเป็นนามของท้าวสักกะในภาษาสันสกฤตถูกใช้เป็นนามแทนตัวเทพอินทระหรือพระอินทร์อยู่บ่อยครั้งแต่ในศาสนาพุทธตำนานและบุคลิกลักษณะของท้าวสักกะแตกต่างไปจากพระอินทร์ในพระเวทอย่างสิ้นเชิงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ซึ่งเป็นที่สถิตของท้าวสักกะตั้งอยู่เหนือยอดเขาพระสุเมรุซึ่งตามคติเรื่องไตรภูมิถือว่าภูเขาแห่งนี้เป็นศูนย์กลางของโลกอันมีพระอาทิตย์และพระจันทร์เวียนโคจรโดยรอบสวรรค์ชั้นนี้นับเป็นสวรรค์ชั้นที่สูงที่สุดที่เชื่อมต่อกับมนุสสภูมิ(โลกมนุษย์)โดยตรงท้าวสักกะมีชีวิตที่ยาวนานเช่นเดียวกับเทพทั้งหลายหากแต่ก็มีวาระที่จะหมดอายุขัยตามแรงบุญของตนเองเช่นกันในยามที่ท้าวสักกะจะต้องจุติ(ตาย)เมื่อจิตดับไปแล้วจะบังเกิดท้าวสักกะองค์ใหม่ซึ่งอาจเป็นเทพองค์อื่นขึ้นแทนที่ท้าวสักกะองค์เดิมทันทีเรื่องราวของท้าวสักกะในทางพระพุทธศาสนาทั้งไม่ว่าจะในอดีตหรือปัจจุบันในช่วงที่บันทึกพระไตรปิฎกปรากฏอยู่ในชาดกและพระสูตรต่างๆซึ่งโดยมากจะอยู่ในหมวดสังยุตตนิกายชื่อของท้าวสักกะถูกกล่าวถึงในพระสูตรหลายตอนและมักปรากฏบทบาทเป็นผู้กราบทูลของคำปรึกษาจากพระโคดมพุทธเจ้าในปัญหาธรรมต่างๆถือกันว่าพระองค์เป็นธรรมบาลหรือผู้คุ้มครองธรรมในพุทธศาสนาร่วมกับเหล่าพรหมทั้งหลาย ท้าวสักกะ ท้าวสักกะ ท้าวสักกะ ท้าวสักกะ เทพผู้ปกครองสวรรค์ชั้นดาวดึงส์

     สักกะเป็นชื่อของกษัตริย์ในราชวงศ์ศากยะหรือศากยวงศ์ซึ่งครอบครองเมืองกบิลพัสดุ์อันเป็นเมืองที่ประสูติของพระพุทธเจ้าสักกะศากยะสากิยะทั้งสามคำมีความหมายอย่างเดียวกันและใช้แทนกันได้ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สักกะ สักกะ ศากยวงศ์ สักกะ วงศ์

     สักกะแปลว่าผู้องอาจผู้สามารถค่ะ สักกะ สักกะ สักกะ สักกะ



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ