| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ปัพพาชนียกรรมอ่านว่าปับพาชะนียะกำใช้ว่าบัพพาชนียกรรมก็ได้ค่ะคือการลงโทษพระภิกษุที่กระทำผิดโดยการขับออกจากคณะสงฆ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัพพาชนียกรรมปัพพาชนียกรรมแปลว่าอะไร

     ปาฏิโมกขสังวรศีลหมายถึงศีลคือความสำรวมในพระปาฏิโมกข์เว้นจากข้อห้ามและทำตามข้ออนุญาตตลอดจนประพฤติเคร่งครัดในสิกขาบทคือศีลและมารยาทที่มีอยู่ในพระไตรปิฎกนั่นเองปาฏิโมกขสังวรศีล

     ปาติโมกข์หมายถึงคัมภีร์ที่รวมวินัยของสงฆ์๒๒๗ข้อคัมภีร์ที่ประมวลพุทธบัญญัติอันทรงตั้งขึ้นเป็นพุทธอาณาค่ะปาติโมกข์ปาติโมกข์

     ปาพจน์หมายถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่เป็นหลักใหญ่คือพระธรรมวินัยซึ่งถือว่าเป็นศาสดาแทนองค์พระพุทธเจ้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปาพจน์ปาพจน์คืออะไร

     ปาพจน์แปลว่าคำเป็นประธานหมายถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่เป็นหลักใหญ่คือพระธรรมวินัยซึ่งถือว่าเป็นศาสดาแทนองค์พระพุทธเจ้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปาพจน์ปาพจน์แปลว่าอะไร

     ปาราชิกคือประเภทของโทษที่เกิดจากการล่วงละเมิดสิกขาบทประเภทครุกาบัติที่เรียกว่าอาบัติปาราชิกพระภิกษุต้องอาบัติปาราชิกข้อใดข้อหนึ่งแม้จะไม่กล่าวลาสิกขาบทก็ถือว่าขาดจากความเป็นพระภิกษุทันทีเมื่อความผิดสำเร็จปาราชิกปาราชิก

     ปาราชิกมี๔ข้ออยู่ในศีล๒๒๗ได้แก่เสพเมถุนแม้กับสัตว์เดรัจฉานตัวเมียถือเอาทรัพย์ที่เจ้าของไม่ได้ให้มาเป็นของตนจากบ้านก็ดีจากป่าก็ดีพรากกายมนุษย์จากชีวิตหรือแสวงหาศาสตราอันจะนำไปสู่ความตายแก่ร่างกายมนุษย์กล่าวอวดอุตริมนุสธรรมอันเป็นความเห็นอย่างประเสริฐอย่างสามารถน้อมเข้าในตัวว่าข้าพเจ้ารู้อย่างนี้ข้าพเจ้าเห็นอย่างนี้ปาราชิกปาราชิกมีอะไรบ้าง

     ปาวาคือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาลเคยเป็นเมืองหลวง๑ใน๒เมืองหลวงของเจ้ามัลลกษัตริย์แห่งแควันมัลละ๑ใน๑๖มหาชนบทในสมัยพุทธกาลปาวาตามที่ปรากฏเรื่องราวในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนานั้นเป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าเคยเสด็จผ่านเมื่อคราวเสด็จจากเมืองเวสาลีไปยังกุสินาราเพื่อเสด็จดับขันธปรินิพพานโดยพระพุทธเจ้าได้แวะพักที่ป่ามะม่วงของนายจุนทะเพื่อฉลองศรัทธาเสวยอาหารมื้อสุดท้ายของพระองค์ที่นายจุนทะกัมมารบุตรซึ่งแปลว่านายจุนทะบุตรของนายช่างทองจัดถวายปาวาปาวา

     ปุคคลัญญุตาหรือปุคคลปโรปรัญญุตาเป็นผู้รู้จักบุคคลคือความแตกต่างแห่งบุคคลว่าโดยอัธยาศัยความสามารถและคุณธรรมเป็นต้นใครๆยิ่งหรือหย่อนอย่างไรและรู้ที่จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นๆด้วยดีว่าควรจะคบหรือไม่จะใช้จะตำหนิยกย่องและแนะนำสั่งสอนอย่างไรเป็นต้น"ก็ภิกษุเป็นปุคคลปโรปรัญญูอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นผู้รู้จักบุคคลโดยส่วน๒คือบุคคล๒จำพวกคือพวกหนึ่งต้องการเห็นพระอริยะพวกหนึ่งไม่ต้องการเห็นพระอริยะบุคคลที่ไม่ต้องการเห็นพระอริยะพึงถูกติเตียนด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ต้องการเห็นพระอริยะพึงได้รับความสรรเสริญด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ต้องการเห็นพระอริยะก็มี๒จำพวกคือพวกหนึ่งต้องการจะฟังสัทธรรมพวกหนึ่งไม่ต้องการฟังสัทธรรมบุคคลที่ไม่ต้องการฟังสัทธรรมพึงถูกติเตียนด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ต้องการฟังสัทธรรมพึงได้รับความสรรเสริญด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ต้องการฟังสัทธรรมก็มี๒จำพวกคือพวกหนึ่งตั้งใจฟังธรรมพวกหนึ่งไม่ตั้งใจฟังธรรมบุคคลที่ไม่ตั้งใจฟังธรรมพึงถูกติเตียนด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ตั้งใจฟังธรรมพึงได้รับความสรรเสริญด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ตั้งใจฟังธรรมก็มี๒จำพวกคือพวกหนึ่งฟังแล้วทรงจำธรรมไว้พวกหนึ่งฟังแล้วไม่ทรงจำธรรมไว้บุคคลที่ฟังแล้วไม่ทรงจำธรรมไว้พึงถูกติเตียนด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ฟังแล้วทรงจำธรรมไว้พึงได้รับความสรรเสริญด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ฟังแล้วทรงจำธรรมไว้ก็มี๒จำพวกคือพวกหนึ่งพิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้พวกหนึ่งไม่พิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้บุคคลที่ไม่พิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้พึงถูกติเตียนด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่พิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้พึงได้รับความสรรเสริญด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่พิจารณาเนื้อความแห่งธรรมที่ทรงจำไว้ก็มี๒จำพวกคือพวกหนึ่งรู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมพวกหนึ่งหารู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมไม่บุคคลที่หารู้อรรถรู้ธรรมปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมไม่พึงถูกติเตียนด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมพึงได้รับความสรรเสริญด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่รู้อรรถรู้ธรรมแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมก็มี๒จำพวกคือพวกหนึ่งปฏิบัติเพื่อประโยชน์ของตนไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นพวกหนึ่งปฏิบัติทั้งเพื่อประโยชน์ตนและเพื่อประโยชน์ผู้อื่นบุคคลที่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตนไม่ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อื่นพึงถูกติเตียนด้วยเหตุนั้นๆบุคคลที่ปฏิบัติทั้งเพื่อประโยชน์ตนและเพื่อประโยชน์ผู้อื่นพึงได้รับความสรรเสริญด้วยเหตุนั้นๆ"ธัมมัญญูสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๒๓สัปปุริสธรรมปุคคลปโรปรัญญู

     ปุจฉาวิสัชนาแปลว่าถามตอบกันหมายถึงการถามและตอบกันไปมาเป็นการหาความรู้ความเข้าใจจากอีกฝ่ายหนึ่งปุจฉาวิสัชนาจึงเป็นคำเรียกการเทศน์ที่มีการถามตอบกันเช่นนั้นว่าเทศน์ปุจฉาวิสัชนาคือพระรูปหนึ่งเป็นผู้ถามอีกรูปหนึ่งเป็นผู้ตอบโดยถามกันในเรื่องธรรมบ้างเรื่องอื่นๆที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟังบ้างพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปุจฉาวิสัชนาปุจฉาวิสัชนาแปลว่า

     ปุจฉาวิสัชนาเป็นวิธีสอนอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้าโดยทรงเปิดโอกาสให้พระสงฆ์หรือผู้เข้าเฝ้าถามปัญหาได้และพระองค์ทรงตอบเองเป็นทางเกิดปัญญาอย่างหนึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้คู่สนทนาได้ซักไซ้ไล่เลียงถามจนกระทั่งได้คำตอบที่พอใจเป็นวิธีการให้ความรู้ตรงแก่ผู้สงสัยในเรื่องนั้นๆและเป็นการสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเองในการเรียนการสอนหรือการสนทนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปุจฉาวิสัชนาปุจฉาวิสัชนาแปลว่า

     ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิมี๒อย่างได้แก่ปรโตโฆสะคือการโฆษณาแต่บุคคลอื่นเสียงจากผู้อื่นฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่นและอโยนิโสมนสิการคือการทำในใจโดยไม่แยบคายการไม่ใช้ปัญญาพิจารณาความไม่รู้จักคิดการปล่อยให้อวิชาครอบงำตรงกันข้ามกับคำว่าโยนิโสมนสิการ มิจฉาทิฐิ ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ

     ประมาณพระสูตรหนึ่งในพระไตรปิฎกภาษาบาลีน่ะค่ะวิสุทธิรถวินีตสูตรรถวินีตสูตรรถวินีตสูตรพระสูตร

     ปัจจุบันยังคงอยู่เป็นซากโบราณสถานในสวนไผ่ที่ร่มรื่นมีสระน้ำขนาดใหญ่ภายในมีรั้วรอบด้านอยู่ในความดูแลของทางราชการอินเดีย วัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดเวฬุวันมหาวิหาร

     ปัจจุบันวัดเชตวันมหาวิหารเหลือเพียงซากโบราณสถานได้รับการบูรณะจากทางราชการอินเดียเป็นอย่างดีตั้งอยู่ทางใต้ของแม่น้ำราปติหรือแม่น้ำอจิรวดีในสมัยพุทธกาลนอกกำแพงเมืองสาวัตถีไปทางทิศใต้ประมาณ๑กิโลเมตรที่ตำบลสะเหตรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดีย วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร

     ปัจจุบันวันมาฆบูชาได้รับการประกาศให้เป็นวันหยุดราชการในประเทศไทยโดยพุทธศาสนิกชนทั้งพระบรมวงศานุวงศ์พระสงฆ์และประชาชนจะมีการประกอบพิธีต่างๆเช่นการตักบาตรการฟังพระธรรมเทศนาการเวียนเทียนเป็นต้นเพื่อเป็นการบูชารำลึกถึงพระรัตนตรัยและเหตุการณ์สำคัญดังกล่าวที่ถือได้ว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์ซึ่งกล่าวถึงหลักคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาได้แก่การไม่ทำความชั่วทั้งปวงการบำเพ็ญความดีให้ถึงพร้อมและการทำจิตของตนให้ผ่องใสเพื่อเป็นหลักปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนทั้งมวล วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา

     ปัจจุบันเมืองเวสาลีเป็นซากโบราณสถานอยู่ที่ตำบลบสาร์ทหรือเบสาร์ทในจังหวัดไวศาลีที่เขตติดต่อของอำเภอสดาร์กับซึ่งเป็นที่ตั้งที่ทำการจังหวัดเมืองเวสาลีห่างจากหซิปูร์๓๕กิโลเมตรห่างจากมุซัฟฟาร์ปูร์๓๗กิโลเมตรโดยอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมุซัฟฟาร์ปูร์ เวสาลี เวสาลี เวสาลี เวสาลี ตำบลบสาร์ท

     ปปุริสธรรมหรือสัปปุริสธรรม๗หมายถึงธรรมของสัตบุรุษธรรมที่ทำให้เป็นสัตบุรุษคุณสมบัติของคนดีธรรมของผู้ดีค่ะ สัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม คือธรรมของคนดี

     ประการที่๑สัจจะต่อความดีประการที่๒สัจจะต่อหน้าที่ประการที่๓สัจจะต่อการงานประการที่๔สัจจะต่อวาจาและประการที่๕สัจจะต่อบุคคลค่ะ สัจจะ สัจจะ สัจจะ สัจจะ มี๔

     ประมาณ๓๐๐กว่าปีต่อมาหลังพุทธกาลในสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชกลุ่มสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมธรรมเทศนาและพระธรรมเทศนาอื่นๆแก่เบญจวัคคีย์และหมู่คันธกุฎีของพระพุทธเจ้าในบริเวณป่าอิสิปตนมฤคทายวันได้รับการบูรณะและก่อสร้างศาสนสถานเพิ่มเติมครั้งใหญ่เพื่อถวายเป็นอนุสรณียสถานแก่พระพุทธเจ้าและกลุ่มพุทธสถานเหล่านี้ได้เจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุดในสมัยราชวงศ์คุปตะโดยในบันทึกของพระถังซำจั๋งซึ่งได้จาริกมาราวพศ๑๓๐๐ได้บันทึกไว้ว่า"มีพระอยู่ประจำ๑,๕๐๐รูปมีพระสถูปสูงประมาณ๑๐๐เมตรมีเสาศิลาจารึกรูปหัวสิงห์และสิ่งอัศจรรย์มากมายฯลฯ"และได้ถูกทิ้งร้างไปเมื่อกษัตริย์โมกุลเข้าปกครองอินเดียจนท่านอนาคาริกธรรมปาละชาวศรีลังกาได้มาบูรณะขึ้นใหม่อีกครั้งและได้รับการบูรณะจากรัฐบาลอินเดียเรื่อยมาทำให้สารนาถกลายเป็นจุดหมายปลายทางในการแสวงบุญที่สำคัญแห่งหนึ่งของชาวพุทธทั่วโลกมาจนถึงปัจจุบันค่ะ สารนาถ สารนาถ สารนาถ สารนาถ ได้รับการบูรณะ

     ประโยชน์เบื้องหน้าค่ะ _?%%%%%%% สัมปรายิกัตถประโยชน์ ประโยชน์ สัมปรายิกัตถประโยชน์ เบื้องหน้า

     ปัจจุบันการพระราชทานทรงตั้งและเลื่อนสมณศักดิ์นั้นโดยปรกติจะมีการพระราชพิธีพระราชทานฯในวันเฉลิมพระชนมพรรษา๕ธันวาคมของทุกปีหรือในกรณีพิเศษเช่นในงานฉลองสิริราชสมบัติครบ๖๐ปีพุทธศักราช๒๕๔๙ในวันที่๙มิถุนายนซึ่งการพระราชทานสมณศักดิ์นั้นเฉพาะการทรงตั้งและเลื่อนสมณศักดิ์สำหรับพระราชาคณะขึ้นไปจะทรงตั้งในพระที่นั่งอมรินทร์วินิจฉัยในพระบรมมหาราชวังโดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานสัญญาบัตรพัดยศด้วยพระองค์เองหรือมอบให้ผู้แทนพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเป็นผู้พระราชทานแทนสำหรับการพระราชทานสมณศักดิ์เฉพาะระดับพระครูสัญญาบัตรนั้นในปัจจุบันจะทรงมอบพระราชภาระให้ผู้แทนพระองค์คือสมเด็จพระสังฆราชหรือเจ้าคณะใหญ่ในภาคนั้นๆเป็นผู้มอบสัญญาบัตรพัดยศแทนในวัดในเขตการปกครองของเจ้าคณะใหญ่หนนั้นๆตามแต่มหาเถรสมาคมจะกำหนดค่ะ สมณศักดิ์ สมณศักดิ์ พิจารณาสมณศักดิ์ สมณศักดิ์ สมเด็จพระสังฆราชเป็นผู้มอบสัญญาบัตรพัดยศ

     ปัจจุบันพระสงฆ์ไม่ได้ใช้ห่มซ้อนกับจีวรเหมือนก่อนด้วยอยู่ในในถิ่นที่อากาศไม่หนาวจนเกินไปแต่พับแล้วพาดเก็บไว้บนบ่าเพื่อความสะดวกในเวลาเดินทางจนกลายเป็นผ้าพาดบ่าตามปกติไปค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆาฏิ สังฆาฏิ สังฆาฏิ สังฆาฏิ ปัจจุบัน



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ