| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     อนุพยัญชนะคือลักษณะน้อยๆหรือลักษณะอันเป็นข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษหรือมหาปุริสลักขณะนิยมเรียกกันว่าอสีตยานุพยัญชนะหรืออนุพยัญชนะค่ะ อนุพยัญชนะ อนุพยัญชนะ อนุพยัญชนะ อนุพยัญชนะ พระมหาบุรุษ

     อนุพุทธะมาจากศัพท์ว่าอนุตามบวกพุทธะผู้รู้แปลว่าผู้ตรัสรู้ตามค่ะ อนุพุทธะ อนุพุทธะ

     อนุโมทนาแปลว่าความยินดีตามความพลอยยินดีค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา อนุโมทนา อนุโมทนา ความยินดีตาม

     อนุโมทนากถาเป็นบทสวดมนต์ของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาที่สวดเพื่อมุ่งประสงค์ให้ผู้ถวายทานแก่พระสงฆ์เกิดความยินดีในทานหรือเพื่อแสดงธรรมแก่ผู้ถวายในสมัยพุทธกาลพระสูตรสำคัญๆเกิดจากคำอนุโมทนากถาของพระพุทธเจ้าที่ทรงแสดงแก่ผู้ถวายทานตามสถานที่ต่างๆที่พระองค์เสด็จไปรับบิณฑบาตปัจจุบันพระสงฆ์มีบทสวดสำหรับอนุโมทนาโดยเฉพาะส่วนใหญ่จะตัดตอนมาจากพระสูตรในพระไตรปิฎกซึ่งมีบทที่พระสงฆ์ใช้สวดเป็นประจำไม่กี่พระสูตรแต่บทที่พระสงฆ์สวดนำเป็นปกติทุกครั้งก่อนที่จะสวดเนื้อหาในพระสูตรคือบทอนุโมทนารัมภกถาและบทสามัญญานุโมทนากถาหรือที่เรียกกันสั้นๆว่ายถาสัพพีซึ่งเป็นบทสวดที่ไม่ใช่พระพุทธพจน์โดยบทยถาเป็นการให้พรอุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้วส่วนบทสัพพีมีเนื้อหากล่าวถึงการอำนวยมงคลและอวยพรให้ผู้ถวายทานปราศจากอันตรายทั้งหลายค่ะนอกจากจะหมายถึงบทสวดภาษาบาลีของพระสงฆ์แล้วยังอาจหมายถึงคำกล่าวของพระสงฆ์ที่แสดงในงานต่างๆเพื่อขอบคุณเจ้าภาพอีกด้วยนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา อนุโมทนากถา อนุโมทนา ผู้ถวายยินดีในทาน

     อภิญญาแปลว่าความรู้ยิ่ง พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อภิญญา อภิญญา

     อภิธรรมคือธรรมที่ยิ่งใหญ่เพราะเป็นอนัตตาไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของผู้ใดอภิธรรม อภิธรรม อภิธรรม ธรรมที่ยิ่งใหญ่

     อภิธัมมาวตารเป็นผลงานการเรียบเรียงของท่านพระพุทธัตตะหรือท่านพุทธัตตาจารย์ชาวชมพูทวีปผู้ชำนาญพระไตรปิฎกซึ่งท่านได้เรียบเรียงขึ้นจากเนื้อหาในพระอภิธรรมปิฎกอรรถกถาของพระไตรปิฎกภาษาบาลีต่างๆทั้งที่สืบมาแต่ครั้งพุทธกาลและของอาจารย์ผู้ทรงจำพระไตรปิฎกที่มีชื่อเสียงมีความรู้มากในยุคก่อนพศ๑๐๐๐โดยมีรูปแบบเป็นสังเขปัฏฐกถาคือนำเนื้อหามาย่อลงเหลือแต่ที่เป็นหลักซึ่งคล้ายกับวิสุทธิมรรคฉบับย่อนั่นเองซึ่งท่านจัดเป็นบทรวม๒๔บท(ปริจเฉท)ค่ะ อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร นำเนื้อหามาย่อลงเหลือแต่ที่เป็นหลัก

     อภิธัมมาวตารแปลว่าหยั่งลงสู่อภิธรรมหรือหยั่งรู้เข้าใจในสรรพสิ่งทุกประการอย่างละเอียดที่สุดค่ะ อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร อภิธัมมาวตาร หยั่งรู้เข้าใจในสรรพสิ่ง

     อย่างพระเจ้าอชาตศัตรูได้ปลงพระชนม์พระเจ้าพิมพิสารผู้เป็นพระราชบิดาต่อมาสำนึกผิดและทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาตลอดชีวิตจนถูกพระราชโอรสลอบปลงพระชนม์บุญกุศลที่ได้ทำไว้ทำให้พระองค์ไม่ไปบังเกิดมหาขุมนรกอเวจีแต่ให้ไปเกิดขุมนรกที่ชื่อว่าโลหกุมภีนรกเสวยทุกขเวทนาเป็นเวลา๖๐๐๐๐ปีนรกค่ะ อนันตริยกรรม อนันตริยกรรม อนันตริยกรรม อนันตริยกรรม นรกอเวจี

     อรัญวาสีอ่านว่าอะรันยะแปลว่าผู้อยู่ในป่าผู้อยู่ประจำป่าค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อรัญวาสี อรัญวาสี

     อรัญวาสีเป็นชื่อเรียกคณะสงฆ์โบราณคณะหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในป่าห่างชุมชนเรียกว่าคณะอรัญวาสีคู่กับคณะคามวาสีซึ่งตั้งวัดอยู่ในชุมชนปัจจุบันหมายถึงภิกษุผู้อยู่ในป่าหรือที่เรียกโดยทั่วไปว่าพระป่าซึ่งมีกิจวัตรประจำวันเน้นหนักไปในทางวิปัสสนาธุระคืออบรมจิตเจริญปัญญานุ่งห่มด้วยผ้าสีปอนหรือสีกรักมุ่งการปฏิบัติธรรมและการเผยแผ่เป็นหลักไม่เน้นงานด้านการบริหารปกครองการศึกษาพระปริยัติธรรมและสาธารณูปการหรือการก่อสร้างพัฒนาวัดและยังถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะขึ้นไปเพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระป่าอีกด้วยค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อรัญวาสี อรัญวาสี

     อริยบุคคลผู้หักกำล้อสังสารวัฏได้แล้วแบ่งได้หลายประเภทคือแบ่งอย่างใหญ่ได้เป็นพระเสขะและพระอเสขะแบ่งตามประเภทบุคคลมี๔ประเภทคือพระโสดาบันพระสกิทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์และยังแบ่งย่อยเป็น๘ประเภทจัดเป็น๔คู่ได้อีกค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล อริยบุคคล อริยบุคคล อริยบุคคล ผู้หักกำล้อสังสารวัฏได้

     อริยบุคคลแปลว่าบุคคลผู้ประเสริฐผู้ไกลจากข้าศึกค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล อริยบุคคล

     อวิชชาหมายถึงความไม่รู้แจ้งคือความไม่รู้ความเป็นจริงของสิ่งต่างๆโดยถูกต้องแจ่มแจ้งมิได้หมายถึงความไม่รู้ศิลปะวิชาการต่างๆหรือไม่รู้ร้อนรู้หนาวเป็นต้นแต่สำหรับคนไทยส่วนใหญ่จะนำคำว่าอวิชชาไปใช้เฉพาะกับวิชาในทางไสยศาสตร์เท่านั้นโดยเข้าใจกันว่าอวิชชาเป็นวิชาที่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนหรือหาประโยชน์เข้ามาใส่ตนเองโดยไม่สนใจผู้อื่นค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อวิชชา อวิชชา

     อวิชชาหมายถึงความไม่รู้ในอริยสัจคือไม่รู้ในทุกข์ได้แก่ไม่รู้ว่าอะไรบ้างที่เป็นตัวทุกข์เช่นไม่รู้ความเกิดความแก่ความตายความผิดหวังเป็นตัวทุกข์ไม่รู้ในเหตุเกิดทุกข์ได้แก่ไม่รู้ว่าทุกข์นั้นเกิดมาจากตัณหาในจิตของตนเองมิใช่เกิดจากผีสางเทวดามิใช่เกิดจากการบันดาลไม่รู้ในความดับทุกข์ได้แก่ความไม่รู้ว่าทุกข์นั้นเมื่อเกิดแล้วสามารถดับได้โดยการกำจัดตัณหาให้หมดไปไม่รู้ในข้อปฏิบัติสำหรับดับทุกข์ได้แก่ไม่รู้ว่าทุกข์นั้นจะดับสนิทได้ด้วยมรรค๘มีสัมมาทิฐิเป็นต้นมิใช่ดับได้ด้วยการวิงวอนขอร้องให้คนอื่นช่วยความไม่รู้สึกตัวทั่วพร้อมโดยสมบูรณ์ในความเป็นจริงของสิ่งต่างๆในขณะที่กำลังเผชิญหน้ากับมันกล่าวคือไม่รู้กายในกายไม่รู้เวทนาในเวทนาไม่รู้จิตในจิตและไม่รู้ธรรมในธรรมก็คือไม่มีสติปัฏฐาน๔ที่บริบูรณ์นั้นเองคืออวิชชาค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อวิชชา อวิชชา

     อสาธารณอนันตริยกรรมคือเป็นอนันตริยกรรมที่ไม่ทั่วไปหมายความว่าภิกษุคือบรรพชิตเท่านั้นจึงจักกระทำสังฆเภทอนันตริยกรรมนี้ได้ค่ะ อนันตริยกรรม อสาธารณอนันตริยกรรม อสาธารณอนันตริยกรรม อสาธารณอนันตริยกรรม ภิกษุคือบรรพชิตเท่านั้น

     อสุภอ่านว่าอะสุบหรือจะอะสุบพะก็ได้นะคะเขียนก็เขียนอสุภะได้อีกเหมือนกันค่ะแปลว่าไม่งามไม่สวยไม่ดีค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อสุภ อสุภ อสุภ อสุภ ไม่งาม

     อสุภกรรมฐานหมายถึงการบำเพ็ญกรรมฐานโดยการพิจารณาอสุภะหรือพิจารณาร่างกายของตนหรือของผู้อื่นว่าเป็นของไม่งามไม่น่ายึดมั่นถือมั่นแต่เป็นของน่าเกลียดโสโครกเช่นพิจารณาซากศพที่นอนให้เขารดน้ำก่อนใส่โลงก่อนเผาหรือฝังมองดูจนกระทั่งเกิดนิมิตติดตาแล้วกลับมานั่งนึกพิจารณาให้เห็นนิมิตนั้นจนเจนใจเหมือนเห็นศพจริงภาวนาไปจนเกิดปัญญาเห็นแจ้งถึงไตรลักษณ์อสุภกรรมฐานเป็นเครื่องกำจัดราคะทำให้เกิดความเบื่อหน่ายคลายรักยึดถือร่างกายคลายความหลงรูปหลงสวยหลงงามลงได้ค่ะและนิยมใช้คู่กับคำอื่นๆที่เกี่ยวข้องกันเช่นอสุภกถาอสุภกรรมฐานอสุภนิมิตอสุภาวนาอสุภสัญญาเป็นต้นค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อสุภกรรมฐาน อสุภกรรมฐาน อสุภกรรมฐาน อสุภกรรมฐาน ทำให้เบื่อหน่ายคลายรักยึดถือร่างกาย

     อสุภกรรมฐานแปลว่ากรรมฐานที่กำหนดอสุภะเป็นอารมณ์กรรมฐานที่พิจารณาให้เห็นว่าเป็นของไม่งามค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อสุภกรรมฐาน อสุภกรรมฐาน อสุภกรรมฐาน อสุภกรรมฐาน กรรมฐานที่กำหนดอสุภเป็นอารมณ์

     อสุรกายถ้ายกตัวอย่างแบบใกล้ตัวคนไทยก็ผีต่างต่างอย่างผีกระสือผีกระหังผีปอบผีตานีผีพรายผีบรรพบุรุษหรือพวกสัมภเวสีทั้งหลายเนี่ยแหละค่ะอสุรกายแบ่งเป็น๒จำพวกนะคะคือพวกที่มีกรรมหนักร่างกายจะทรุดโทรมหน้าตาซีดเซียวน่าเกลียดน่ากลัวเที่ยวหากินของสกปรกเช่นซากศพคนและสัตว์หรือเศษอาหารที่เขาทิ้งตามขยะหรือที่เขาจัดใส่กระทางทิ้งไว้ตามสี่แยกพวกนี้จะคอยหลบหน้าผู้คนอยู่เสมอค่ะพวกที่๒นี่พวกที่มีกรรมเบาบางกำลังจะพ้นจากความเป็นอสุรกายรูปร่างกายจะอ้วนท้วนสมบูรณ์แต่ผิวกายจะเป็นสีดำมีฤทธิ์สามารถบันดาลให้สมหวังในบางสิ่งบางอย่างได้มักชอบรับสินบนชาวบ้านอยู่ประจำตามศาลต่างต่างใครบูชาดีเลี้ยงดีก็บันดาลให้สมหวังใครลบหลู่ไม่ให้ความเคารพก็มักจะทำร้ายทำอันตรายให้ค่ะอย่างที่หลวงพ่อฤๅษีลิงดำกล่าวไว้ในหนังสือไตรภูมิว่า อสุรกายประเภทนี้มักจะปลอมตัวเป็นเจ้าเข้าทรงคนนั้นคนนี้ทำท่าเป็นเทพองค์นั้นองค์นี้เพื่อรับสินบานจากชาวบ้าน ที่มาเครดิตหนังเสือสวดมนต์พ้นนรกส่งเสริมคุณธรรมพัฒนาชีวิตนึกถึงธรรมะคิดถึงพุทธะดอทคอมพุทธะ? อสุรกาย อสุรกาย อสุรกาย ผีต่างต่าง

     อหิริกะเป็นธรรมชาติที่ไม่ละอายในการทำผิดทางกายวาจาใจ โมหะ อหิริกะ

     อังสะคือผ้าที่ภิกษุสามเณรสวมเฉวียงบ่าเรียกว่าผ้าอังสะมีลักษณะเหมือนสไบเฉียงของผู้หญิงคือมีบ่าด้านเดียวเย็บติดกันด้านหนึ่งอีกด้านหนึ่งติดกระดุมบ้างติดสายสำหรับผูกให้กระชับในเวลาสวมบ้างติดกระเป๋าไว้ด้านหน้าบ้างด้านที่เย็บติดกันบ้างเวลาใช้สวมปืดบ่าซ้ายเปิดบ่าขวามีคติเหมือนเสื้อกล้ามหรือเสื้อชั้นในใช้สวมใส่ขณะอยู่ตามลำพังหรือทำงานเพื่อไม่ให้ดูเปลือยกายท่อนบนสมัยพุทธกาลไม่ปรากฏว่ามีการใช้ผ้าอังสะแม้ในประเทศไทยพระสงฆ์สมัยเก่าก็ไม่นิยมสวมอังสะคงถือคติแบบชายไทยสมัยโบราณที่ไม่นิยมสวมเสื้อเวลาอยู่ตามลำพังอังสะมิใช่บริขารของภิกษุสามเณรแต่เดิมเป็นของภิกษุณีสามเณรีและสิกขมานาเนื่องจากเป็นสตรีจึงต้องมีเสื้อหรืออังสะใส่เพื่อปกปิดถันเอาไว้และยังมีผ้าพันถันรวมถึงผ้านิสีทนะผ้า๓ชายที่มักอธิบายกันว่าเป็นผ้าปูนั่งหรือสันถัตนุ่งเช่นเดียวกับผ้าเตี่ยวเหมือนกางเกงในเมื่อมีประจำเดือนจะใช้ห่อผ้าซับเลือดอย่างผ้าอนามัยสมัยนี้ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อังสะ อังสะ

     อัตตกิลมถานุโยคคือการประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเช่นบำเพ็ญทุกรกิริยาเป็นความลำบากไม่ใช่ของพระอริยะไม่ประกอบด้วยประโยชน์อัตตกิลมถานุโยค



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ