| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     สาวกในคำวัดใช้หมายถึงผู้ฟังโอวาทนุสาสนีหรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าโดยเคารพใช้เรียกทั้งที่เป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์เช่นใช้ว่าพระอรหันตสาวกพระสงฆ์สาวกภิกษุสาวกภิกษุณีสาวิกาและใช้หมายถึงลูกศิษย์ของศาสดาอื่นๆด้วยเช่นวสาวกของนิครนถ์นาฏบุตรสาวกของพราหมณ์พาวรีสาวกในคำไทยใช้หมายรวมไปถึงลูกศิษย์ลูกน้องผู้ติดตามนักบวชนักบุญผู้มีชื่อเสียงตลอดถึงผู้มีอำนาจเช่นใช้ว่า"เจ้าสำนักแห่งนั้นมีชื่อเสียงไม่น้อยจึงมีสาวกอยู่ทั่วไป" พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สาวก สาวกสาวก สาวก สาวก

     สาวัตถีคือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาลมีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นโกศล๑ในแคว้นมหาอำนาจใน๑๖มหาชนบทในสมัยพุทธกาลเมืองนี้รุ่งเรืองจากการที่เป็นชุมนุมการค้าขายการทหารเป็นเมืองมหาอำนาจใหญ่ควบคู่กับเมืองราชคฤห์แห่งแคว้นมคธในสมัยโบราณปัจจุบันเมืองนี้เหลือเพียงซากโบราณสถานคนอินเดียในปัจจุบันลืมชื่อเมืองสาวัตถีในภาษาบาลีหรือศราวัสตีในภาษาสันสกฤตไปหมดแล้วคงเรียกแถบตำบลที่ตั้งเมืองสาวัตถีนี้เพียงว่าสะเหถมะเหถปัจจุบันสะเหตมะเหตตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดียค่ะ สาวัตถี สาวัตถี สาวัตถี สาวัตถี เมืองหลวงของแคว้นโกศล

     สาวัตถีปัจจุบันยังมีซากโบราณสถานที่สำคัญปรากฏร่องรอยอยู่คือวัดเชตวันมหาวิหารซึ่งเป็นวัดที่พระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่ถึง๑๙พรรษาบริเวณวังของพระเจ้าปเสนทิโกศลบ้านของอนาถบิณฑิกเศรษฐีบ้านบิดาขององคุลีมาลสถานที่พระเทวทัตถูกแผ่นดินสูบที่บริเวณหน้าวัดพระเชตวันมหาวิหารที่แสดงยมกปาฏิหาริย์แล้วเสด็จไปจำพรรษาณสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อแสดงพระอภิธรรมโปรดพระพุทธมารดาเป็นต้นค่ะกำแพงเมืองสาวัตถีโบราณก็ยังคงปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันภายในกำแพงเมืองมีโบราณสถานคงเหลืออยู่มากมายเช่นซากบ้านของบิดาพระองคุลีมาลซากคฤหาสถ์ของอนาถบิณฑิกเศรษฐีและวัดเก่าแก่ที่สร้างอุทิศแก่พระติรธังกร(ศาสดาองค์แรกของศาสนาเชน)บริเวณนอกเขตเมืองสาวัตถียังมีสถานที่สำคัญเช่นซากยมกปาฏิหาริย์สถูป(สถานที่ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์)และวัดเชตวันมหาวิหาร(พระอารามที่พระพุทธเจ้าทรงจำพรรษามากที่สุดในพุทธกาล)ซึ่งเป็นสถานที่แสวงบุญสำคัญของชาวพุทธทั่วโลกนอกจากนี้ยังมีวัดที่ประเทศต่างๆที่นับถือศาสนาพุทธมาสร้างไว้ได้แก่ประเทศไทยเกาหลีใต้ศรีลังกาพม่าธิเบตและจีนค่ะ สาวัตถี สาวัตถี

     สิกขมานาเป็นคำเรียกผู้ที่ถือศีล๖ข้อก่อนที่จะบวชเป็นภิกษุณีสามเณรีก็เรียก สิกขมานา สิกขมานา

     สิกขาสิกขาบทหมายถึงข้อที่จะต้องศึกษาข้อที่ต้องปฏิบัติในทางศาสนาหมายถึงศีลสมาธิปัญญาในคำไทยนำมาใช้ว่าศึกษาหมายถึงการเล่าเรียนหรือพูดซ้ำว่าการศึกษาเล่าเรียนสิกขาบทยังหมายถึงข้อศีลข้อวินัยคือศีลแต่ละข้อวินัยแต่ละข้อเช่นศีลของสามเณรมี๑๐ข้อเรียกว่ามี๑๐สิกขาบทศีลของพระภิกษุมี๒๒๗ข้อเรียกว่ามี๒๒๗สิกขาบท พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สิกขา สิกขา

     สีมาหมายถึงเขตหรือแดนที่กำหนดไว้สำหรับทำสังฆกรรมต่างๆกำหนดเขตแดนด้วยเครื่องหมายบอกเขตที่เรียกว่านิมิตที่เหนือนิมิตนิยมสกัดหินเป็นแผ่นประดิษฐานไว้ในซุ้มที่สร้างครอบนิมิตถือเป็นสัญลักษณ์แทนนิมิตเรียกแผ่นหินนั้นว่าใบสีมาหรือใบเสมาเรียกซุ้มนั้นว่าซุ้มสีมาหรือซุ้มเสมาใบสีมานิยมทำด้วยแผ่หินสกัดเป็นแผ่นหนาประมาณ๕ถึง๗๕เซนติเมตรมีรูปทรงเฉพาะบางแห่งสกัดเป็นลายเส้นรูปธรรมจักรเพิ่มความสวยงามประดิษฐานไว้ในซุ้มที่สร้างคร่อมนิมิตทั้ง๘ทิศของโบสถ์คล้ายเป็นสัญลักษณ์แทนนิมิตถ้าเป็นวัดราษฎร์นิยมทำซุ้มละแผ่นเดียวถ้าเป็นวัดหลวงนิยมทำซุ้มละสองแผ่นเรียกว่าสีมาคู่นัยว่าเพื่อเป็นข้อสังเกตให้ทราบว่าเป็นวัดราษฎร์หรือวัดหลวงสีมายังหมายถึงอุโบสถได้อีกด้วยค่ะ สีมาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ สีมา

     สีมาแปลว่าเขตแดนเครื่องหมายบอกเขตใช้ว่าเสมาก็มีค่ะ สีมาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ สีมา

     สีลัพพตปรามาสเป็นศัพท์ในพระไตรปิฎกเถรวาทหมายความถึงความยึดมั่นถือมั่นอยู่ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือศีลพรตภายนอกพระพุทธศาสนาหรือความยึดมั่นถือมั่นในการบำเพ็ญเพียงกายและวาจาตามหลักธรรมพระพุทธศาสนา(ศีล)ของตนว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐซึ่งเป็นเหตุให้ละเลยการปฏิบัติทางด้านจิตใจหรือการใช้ปัญญาเพื่อหลุดพ้นสีลัพพตปรามาสจัดเป็นความเห็นผิดหรือมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่งจัดเข้าในกลุ่มสังโยชน์ขั้นต้นที่พระอริยบุคคลระดับโสดาบันจะละความยึดมั่นเช่นนี้ได้โดยสรุปสีลัพพตปรามาสคือความเชื่ออย่างเห็นผิดในอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายนอกตัวความยึดมั่นในความดีเพียงขั้นศีลของตนและความเชื่อว่าการบำเพ็ญทางกายวาจาเท่านั้นที่จะสามารถทำให้คนบริสุทธิ์จากกิเลสหรือหลุดพ้นได้ความเห็นเหล่านี้ถูกจัดเป็นความเห็นที่ผิดพลาดในทางพระพุทธศาสนาเพราะเนื่องด้วยพระพุทธศาสนาเน้นเรื่องภายในจิตใจคือการหลุดพ้นด้วยปัญญาภายในเป็นสำคัญนอกจากนี้พระพุทธเจ้าตรัสหลักสีลัพพตปรามาสไว้ก็เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ปฏิบัติหลงผิดจากแนวทางหลักในพระพุทธศาสนากล่าวคือไม่ให้มัวแต่หลงยึดมั่นแค่เพียงความบริสุทธิ์ของศีลที่มีเฉพาะด้านกายและวาจาโดยละเลยความบริสุทธิ์ด้านจิตใจไปซึ่งความยึดมั่นถือมั่นเช่นนี้จัดเป็นอัสมิมานะซึ่งจัดเป็นกิเลสชนิดหนึ่งค่ะ สีลัพพตปรามาส สีลัพพตปรามาส

     สีลัพพตปรามาสในพระไตรปิฎกปรากฏทั้งในคัมภีร์สุตตันตปิฎกและอภิธรรมปิฎกโดยความหมายหลักของคำว่าศีลและพรตในศัพท์นี้หมายถึงการปฏิบัติตามความเชื่อนอกพระพุทธศาสนาเช่นความเชื่อในอำนาจบันดาลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือพระผู้เป็นเจ้าความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ที่เชื่อว่าการบำเพ็ญทุกกรกิริยาจะสามารถทำให้ผู้บำเพ็ญหลุดพ้นจากความทุกข์หรือหลุดพ้นจากอำนาจของกิเลสได้หรือความเชื่อของลัทธิตันตระที่เชื่อว่าการมั่วสุมอยู่ในกามารมณ์จะสามารถทำให้หลุดพ้นจากทุกข์ได้เป็นต้น สีลัพพตปรามาส สีลัพพตปรามาส

     สุญญตวิโมกข์ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนัตตา

     สุญญตามีความหมาย๔นัยคือ๑ความเป็นสภาพที่ว่างจากความเป็นสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะที่ขันธ์๕เป็นอนัตตาคือมิใช่ตัวตนไม่มีอัตตาว่างจากความเป็นตนตลอดจนว่างจากสารัตถะต่างๆเช่นความเที่ยงความสวยงามความสุขเป็นต้นโดยปริยายหมายถึงหลักธรรมฝ่ายปรมัตถ์ดังเช่นขันธ์ธาตุอายตนะและปฏิจจสมุปบาทที่แสดงแต่ตัวสภาวะให้เห็นความว่างเปล่าปราศจากสัตว์บุคคลเป็นเพียงธรรมหรือกระบวนธรรมล้วนๆ๒ความว่างจากกิเลสมีราคะโทสะโมหะเป็นต้นก็ดีสภาวะที่ว่างจากสังขารทั้งหลายก็ดีหมายถึงนิพพาน๓โลกุตตรมรรคได้ชื่อว่าเป็นสุญญตาด้วยเหตุผล๓ประการคือเพราะลุด้วยปัญญาที่กำหนดพิจารณาความเป็นอนัตตามองเห็นสภาวะที่สังขารเป็นสภาพว่าง(จากความเป็นสัตว์บุคคลตัวตน)เพราะว่างจากกิเลสมีราคะเป็นต้นและเพราะมีสุญญตาคือนิพพานเป็นอารมณ์๔ความว่างที่เกิดจากความกำหนดหมายในใจหรือทำใจเพื่อให้เป็นอารมณ์ของจิตในการเจริญสมาบัติเช่นผู้เจริญอากิญจัญญายตนสมาบัติกำหนดใจถึงภาวะว่างเปล่าไม่มีอะไรเลย พระพรหมคุณาภรณ์(ประยุทธ์ปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์,หน้า๔๕๔๔๕๕สุญญตา สุญญตา

     สุญญตาแปลว่าความว่างเปล่าความเป็นของสูญคือความไม่มีตัวตนถือเอาเป็นตัวตนไม่ได้ พระพรหมคุณาภรณ์(ประยุทธ์ปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์,หน้า๔๕๔๔๕๕สุญญตา สุญญตา

     สุตมยปัญญาเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญการเริ่มต้นในภาคการศึกษาการอ่านตำราการฟังเทปการฟังธรรมการซักถามข้อข้องใจจึงเรียกว่าภาคการศึกษาหรือเห็นสิ่งใดๆในที่ทั่วไปให้ศึกษาเหตุผลสิ่งนั้นๆความถูกเป็นอย่างไรมีอะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดขึ้นถ้าฝึกในวิธีนี้ได้เราจะมีธรรมะได้ศึกษาในที่ทั่วไปสิ่งใดควรนำมาปฏิบัติได้ก็จดจำนำมาปฏิบัติต่อไปสิ่งใดไร้เหตุผลอย่างไรก็ศึกษาให้รู้ว่าเราจะไม่ทำไม่พูดในลักษณะอย่างนั้นแม้ในตำราต่างๆที่ได้ศึกษามาก็อย่าเพิ่งเชื่อทีเดียวใช้ปัญญาพิจารณาตีความหมายใช้เหตุผลมาเป็นตัวตัดสินให้รู้จักความผิดความถูกแล้วจึงตัดสินใจเชื่อในภายหลังจึงจะเกิดเป็นสัมมาทิฏฐิความเห็นที่ถูกต้องชอบธรรมเมื่อนำมาปฏิบัติก็จะเป็นผลออกมาเป็นปฏิเวธแนวทางปฏิบัติอย่างไรจะเป็นไปเพื่อความพ้นทุกข์ได้พระพุทธเจ้าทรงวางกฎเกณฑ์ไว้แล้วเป็นอย่างดีถึงจะผ่านกาลเวลามายาวนานก็เป็นหลักความจริงตลอดมาไม่ล้าสมัยยังมีประสิทธิภาพให้ผลแก่ผู้ปฏิบัติตลอดมาการปฏิบัติได้แค่ไหนขึ้นอยู่กับสติปัญญาและความสมารถของแต่ละท่านหากมีความสงสัยในการปฏิบัติอย่างไรก็ให้ศึกษากับท่านผู้รู้ผู้เข้าใจในธรรมอยู่เสมอเพื่อให้เป็นไปในความถูกต้องชอบธรรมการปฏิบัติก็จะก้าวหน้าไปด้วยดี พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญา สุตมยปัญญา

     สำนักท่องปาฏิโมกข์อำเภอตากฟ้านครสวรรค์ค่ะห่มดอง

     สถานที่จาริกแสวงบุญของชาวพุทธปัจจุบันหลักฐานที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองในฐานะเป็นเมืองศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาของเมืองแห่งนี้ได้สูญหายไปแทบหมดสิ้นเนื่องด้วยเมืองแห่งนี้มีพัฒนาการมาโดยตลอดช่วงประวัติศาสตร์เป็นไปได้ว่าผู้คนในยุคหลังช่วงความเจริญของพระพุทธศาสนาได้ทำลายหรือทอดทิ้งพุทธศาสนสถานไปและถูกฝังกลบจนไม่เหลือร่องรอยให้เห็นเช่นเดียวกับอโศการามสถานที่นี้เคยเป็นที่ทำตติยสังคายนาอารามแห่งเดียวในพระพุทธศาสนาในเมืองปัฏนาที่ยังคงเหลือซากอยู่ปัจจุบันคงเหลือเพียงเสาหินของอาคารใหญ่ที่พระเจ้าอโศกทรงสร้างขึ้นเพื่อเป็นสถานที่ทำตติยสังคายนาอยู่บ้างแต่ส่วนใหญ่จมอยู่ใต้ดินในสระซึ่งมีน้ำเต็มตลอดทั้งปีและโบราณสถานส่วนใหญ่ยังคงจมอยู่ใต้ดินแต่ทางการอินเดียไม่มีความประสงค์เพื่อขุดค้นโบราณสถานแห่งนี้เพราะจะกระทบต่อบ้านเรือนที่ตั้งอยู่ในเมืองปัฏนาเมืองหลวงของรัฐพิหารในปัจจุบันอโศการาม

     สบงผ้านุ่งจีวรผ้าห่มสังฆาฏิผ้าซ้อนบาตรมีดโกนเข็มประคดเอวธมกรกที่กรองน้ำซึ่งจำเป็นในการเตรียมการบวชเช่นคำพูดของเพื่อนบ้านถามแม่ของนาคซึ่งเตรียมจะบวชว่าบวชลูกคราวนี้ไปซื้ออัฐบริขารมาหรือยังอัฐบริขารในวงการพระจำกันว่าผ้า๔เหล็ก๓น้ำ๑ผ้า๔คือสบงจีวรสังฆาฏิประคดคาดเอวเหล้ก๓คือบาตรมีดโกนเข็มน้ำ๑คือธมกรกอัฐบริขารมีอะไรบ้าง อัฐบริขาร อัฐบริขาร ผ้า๔เหล็ก๓น้ำ๑

     สาธารณอนันตริยกรรมคือเป็นอนันตริยกรรมที่ทั่วไปแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ทั้งหลายหมายความว่าบรรพชิตก็ทำได้คฤหัสถ์ก็ทำได้ค่ะ อนันตริยกรรม สาธารณอนันตริยกรรม สาธารณอนันตริยกรรม สาธารณอนันตริยกรรม ที่ทั่วไปแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์

     สมันตปาสาทิกาแบ่งเป็น๓ภาคคือภาคที่๑อธิบายความในเวรัญชกัณฑ์ถึงปาราชิกกัณฑ์แห่งมหาวิภังค์ภาค๑ว่าด้วยวินัยที่เป็นหลักใหญ่ของภิกษุภาคที่๒อธิบายความในเตรสกัณฑ์ถึงอนิยตกัณฑ์แห่งมหาวิภังค์ภาค๑และในนิสสัคคีย์กัณฑ์ถึงอธิกรณสมถะแห่งมหาวิภังค์ภาค๒รวมทั้งอธิบายความในภิกขุนีวิภังค์ว่าด้วยวินัยที่เป็นหลักใหญ่ของภิกษุณีและภาคที่๓อธิบายความในมหาวรรคภาค๑ถึง๒จุลลวรรคภาค๑ถึง๒และปริวารซึ่งว่าด้วยกำเนิดภิกษุสงฆ์และระเบียบความเป็นอยู่และกิจการของภิกษุสงฆ์และว่าด้วยระเบียบความเป็นอยู่และกิจการของภิกษุสงฆ์เรื่องภิกษุณีและสังคายนารวมถึงหมวดที่ว่าด้วยคู่มือถามตอบซักซ้อมความรู้พระวินัยโดยสังเขปเล้วสมันตปาสาทิกามีเนื้อหาแบ่งออกเป็น๒ประเภทคือเนื้อหาหลักที่เกี่ยวกับพระธรรมวินัยอาทิมูลเหตุทำสังคายนาครั้งแรกการสังคายนาครั้งต่อมาๆคือครั้งที่๒๓และ๔มีการอธิบายเรื่องพระพุทธคุณ๙มีการอธิบายเรื่องสติสมาธิปฏิสัมภิทาจิตวิญญาณอินทรีย์และมีการอธิบายเรื่องอาบัติปาราชิกสังฆาทิเสสเป็นต้นทั้งของภิกษุและภิกษุณีนอกจากนี้ยังมีการบันทึกและระบุถึงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ต่างๆเช่นประวัติของพระเจ้าอโศกมหาราชประวัติพระเจ้าอชาตศัตรูตลอดจนพระเจ้าอุทัยภัทท์พระเจ้าอนุรุทธะและพระเจ้ามุณฑะซึ่งเป็นกษัตริย์ปกครองแคว้นมคธประวัติการเกิดข้าวยากหมากแพงในเมืองเวรัญชาเป็นต้นในส่วนที่ให้ข้อเท็จจริงทางภูมิศาสตร์เช่นชัยภูมิที่ตั้งเมืองต่างๆเช่นกุสินาราจัมปาสาวัตถีและดินแดนสุวรรณภูมิเป็นต้นสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกา

     สมันตัปปาสาทิกาหรือสมันตปาสาทิกาคือคัมภีร์อรรถกถาที่อธิบายขยายความพระวินัยปิฎกพระพุทธโฆษจารย์หรือพระพุทธโฆสะเป็นผู้แต่งคัมภีร์สมันตปาสาทิกานี้ขึ้นในช่วงปีก่อนพศ๑๐๐๐โดยรจนาเป็นภาษาบาลีอาศัยอรรถกถาพระไตรปิฎกที่มีอยู่ในภาษาสิงหฬชื่อมหาอัฏฐกถาเป็นหลักพร้อมทั้งอ้างอิงจากคัมภีร์มหาปัจจริยะและคัมภีร์กุรุนทีนอกจากจะเป็นคัมภีร์อรรถกาที่อธิบายความของพระวินัยปิฎกแล้วท่านผู้รจนายังได้สอดแทรกและบันทึกข้อมูลอันทรงคุณค่าด้านสังคมการเมืองจริยธรรมศาสนาและประวัติศาสตร์ปรัชญาในยุคโบราณของอินเดียไว้อย่างมากมายผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณคดีบาลีชี้ว่าสมันตัปปาสาทิกาได้หยิบยืมคาถาหลายบทมาจากคัมภีร์ทีปวงศ์ซึ่งรจนาก่อนหน้านั้นนอกจากนี้ยังระบุว่าชื่อของคัมภีร์อรรกถานี้คือสมันตัปปาสาทิกามาจากคำว่าสมันตะที่บ่งนัยถึงทิศทั้ง๔และคำว่าปาสาทิกาซึ่งแปลว่าร่มเย็นราบคาบทั้งนี้คัมภีร์ชั้นฎีกาที่อธิบายความในคัมภีร์สมันตัปปาสาทิกาคือสารัตถทีปนีซึ่งพระสารีบุตรเถระแห่งเกาะลังกาเป็นผู้รจนาในรัชกาลของพระเจ้าปรักกมพาหุที่๑แห่งลังกาพศ๑๖๙๖ถึง๑๗๒๙และในปัจจุบันสมันตัปปาสาทิกยังาถูกใช้เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ไทยในระดับชั้นเปรียญธรรม๖ประโยคนอกจากนี้ยังมีการแปลเป็นภาษาจีนตั้งแต่เมื่อปีคศ๔๘๙โดยพระสังฆะภัทระสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาขยายความพระวินัยปิฎก

     สวรรค์๖ชั้นก็สุคติค่ะแล้วก็มีรูปพรหมอรูปพรหมแล้วก็นิพพานนี่ไม่ทราบนับเป็นสุคติด้วยไม๊เนาะทราบไหมคะชมรมพุทธเบญจจินดา๑๒กุมภาพันธ์๒๕๕๗สุคติสุคติสุคติสวรรค์รูปพรหมอรูปพรหมนิพพานนิพพานนี่เค้าถือว่าเป็นสุคติด้วยหรือเปล่าสถานะสงสัย

     สงสารทางโลกคือรู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่นรู้สึกห่วงใยด้วยความเมตตากรุณาส่วนทางธรรมคือการเวียนว่ายตายเกิดการเวียนตายเวียนเกิดค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ทางโลกและทางธรรม

     สติทางโลกความรู้สึกความรู้สึกตัวความรู้สึกผิดชอบค่ะส่วนทางธรรมคือความระลึกได้นึกได้ความไม่เผลอการคุมใจไว้กับกิจจำการที่ทำและคำที่พูดนานแล้วได้ค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ทางโลกและทางธรรม

     สังขารทางโลกก็ร่างกายตัวตนสิ่งที่ประกอบปรุงแต่งขึ้นเป็นร่างกายและจิตใจรวมกันค่ะส่วนทางธรรมก็คือสิ่งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่งสิ่งที่เกิดจากเหตุปัจจัยสิ่งที่ปรุงแต่งใจให้ดีหรือชั่วนั่นเองค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ สังขาร สังขาร สังขาร สิ่งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ