| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     อุคหนิมิตคือเครื่องหมายที่กำหนดได้แก่อารมณ์ที่เจนตาเจนใจหลังจากทีได้เพ่งพิจารณาบริกรรมนิมิตเช่นเพ่งกสิณแล้วแม้หลับตาอยู่ก็สามารถเห็นนิมิตนั้นได้ชัดเจนเหมือนลืมตาเห็นเรียกว่านิมิตติดตาก็มีอุคหนิมิต

     อุจเฉททิฐิคือความเห็นที่ว่าสัตว์โลกทั้งปวงเมื่อตายหรือละจากอัตภาพนี้ไปแล้วก็เป็นอันขาดสูญไม่มีอะไรที่จะไปเกิดหรือไปปฏิสนธิในภพอื่นอีกสิ่งที่เรียกว่าอาตมันหรืออัตตาชีวะเจตภูติก็สูญไปเช่นเดียวกันเรียกว่าขาดสูญไปทั้งหมดไม่มีอะไรเหลือให้ไปเกิดในสุคติหรือทุคติอีกค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุจเฉททิฐิ อุจเฉททิฐิ อุจเฉททิฐิ อุจเฉททิฐิ ตายแล้วสูญ

     อุจเฉททิฐิอ่านว่าอุดเฉทะทิดถิแปลว่าความเห็นว่าขาดสูญเป็นความเห็นที่ปฏิเสธหรือตรงกันข้ามกับสัสสตทิฐิค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุจเฉททิฐิ อุจเฉททิฐิ อุจเฉททิฐิ อุจเฉททิฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ

     อุดมการณ์อันสูงสุดของพระภิกษุและบรรพชิตในพระพุทธศาสนานี้อันมีลักษณะที่แตกต่างจากศาสนาอื่นอันอาจเรียกได้ว่าอุดมการณ์๔ของพระพุทธศาสนาได้แก่๑ความอดทนอดกลั้นเป็นสิ่งที่นักบวชในศาสนานี้พึงยึดถือและเป็นสิ่งที่ต้องใช้เมื่อประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบใจทุกอย่างที่ต้องเจอในชีวิตนักบวชเช่นประสงค์ร้อนได้เย็นประสงค์เย็นได้ร้อน๒การมุ่งให้ถึงพระนิพพานเป็นเป้าหมายหลักของผู้ออกบวชมิใช่สิ่งอื่นนอกจากพระนิพพาน๓พระภิกษุและบรรพชิตในพระธรรมวินัยนี้ไม่พึงทำผู้อื่นให้ลำบากด้วยการเบียดเบียนทำความทุกข์กายหรือทุกข์ทางใจไม่ว่าจะในกรณีใดๆ๔พึงเป็นผู้มีจิตใจสงบจากอกุศลวิตกทั้งหลายมีความโลภโกรธหลงเป็นต้น โอวาทปาติโมกข์ โอวาทปาติโมกข์

     อุตริมนุสธรรมหรืออุตริมนุษยธรรมแปลว่าธรรมอันยวดยิ่งของมนุษย์หรือธรรมของมนุษย์ผู้ยวดยิ่งค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุตริมนุสธรรม อุตริมนุสธรรม

     อุตุนิยามคือกฎธรรมชาติที่ครอบคลุมความเป็นไปของปรากฏการณ์ในธรรมชาติเกี่ยวกับวัตถุที่ไม่มีชีวิตทุกชนิดหลักของอุตุนิยามตามแนวพระพุทธศาสนามุ่งให้ผู้ที่เข้าใจเกี่ยวกับกฎธรรมชาติที่ว่าด้วยวัตถุอุตุนิยามคือลักษณะสภาวะต่างๆของธาตุทั้ง๕คือดินน้ำลมไฟและอากาศซึ่งก็คือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติต่างๆเมื่อมีเหตุปัจจัยเพียงพอก็จะเป็นไปโดยไม่มีใครเป็นผู้กำหนดหรือห้ามได้เช่นการที่จะเกิดฝนตกก็มีเหตุปัจจัยเพียงพอให้เกิดฝนตกเช่นการระเหยของน้ำบนดินการรวมตัวของก้อนเมฆการเกิดลมพัดการกระทบกับความเย็นก่อให้เกิดฝนตกเป็นต้นตลอดจนปรากฏการณ์ทางวัตถุอื่นๆเช่นการเคลื่อนที่ของจักรวาลแรงดึงดูดแผ่นดินไหวฟ้าผ่าเป็นต้นซึ่งปรากฏการณ์เหล่านี้พระพุทธศาสนาถือว่าเกิดขึ้นเพราะวัตถุธาตุต่างๆคือดินน้ำลมไฟอากาศปรับเปลี่ยนสภาวการณ์ของตัวเองเพราะอิทธิพลจากการปรับสถานะธาตุตามอุณหภูมิคือความร้อนและเย็นดังนั้นกฎข้อนี้จึงชื่อว่าอุตุนิยาม(อุตุในพระไตรปิฎกแปลว่าพลังงานฤดูความร้อนเย็น)อุตุนิยาม

     อุทกทานมีความหมายว่าให้ทานด้วยน้ำหรือให้น้ำเป็นทาน อุทกทาน อุทกทาน

     อุทธัจจะเป็นความฟุ้งซ่านหรือธรรมชาติที่จับอารมณ์ไม่มั่น โมหะ อุทธัจจะ

     อุปกิเลสทั้ง๑๖ประการนี้แม้ประการใดประการหนึ่งเมื่อเกิดขึ้นในใจแล้วก็จะทำให้ใจสกปรกไม่ผ่องใสทันทีและจะส่งผลให้เจ้าของใจหมดความสุขกายสบายใจเกิดความเร่าร้อนหรือเกิดความฮึกเหิมทะนงตัวเต้นไปตามจังหวะที่อุปกิเลสนั้นๆบงการให้เป็นไปค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุปกิเลส อุปกิเลส อุปกิเลส อุปกิเลส ทำให้ใจสกปรกไม่ผ่องใส

     อุปกิเลสหมายถึงสิ่งที่ทำให้ใจเศร้าหมองขุ่นมัวไม่แจ่มใสทำให้ใจหม่นไหม้ทำให้ใจเสื่อมทรามกล่าวโดยรวมก็คือสิ่งที่ทำให้ใจสกปรกไม่สะอาดบริสุทธิ์นั่นเองค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุปกิเลส อุปกิเลส อุปกิเลส อุปกิเลส สิ่งที่ทำให้ใจเศร้าหมอง

     อุปกิเลสอ่านว่าอุปะกิเหลดแปลว่าธรรมชาติที่เข้าไปทำให้ใจเศร้าหมองเครื่องทำให้ใจเศร้าหมองค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุปกิเลส อุปกิเลส หิริ หิริ เครื่องทำให้ใจเศร้าหมอง

     อุปกิเลสแสดงไว้๑๖ประการคือความเพ่งเล็งอยากได้ไม่เลือกที่ความพยาบาทความโกรธความผูกเจ็บใจความลบหลู่บุญคุณความตีเสมอความริษยาความตระหนี่ความเจ้าเล่ห์ความโอ้อวดความหัวดื้อถือรั้นความแข่งดีความถือตัวความดูหมิ่นความมัวเมาความประมาทเลินเล่อ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุปกิเลส อุปกิเลส อุปกิเลส อุปกิเลส แสดงไว้๑๖ประการ

     อุปธิวิเวกได้แก่ธรรมอันเป็นที่สงบระงับอุปธิทั้งปวงหมายเอาผู้ฝึกฝนทางปัญญาจนเอาชนะกิเลสอนุสัยและสังโยชน์อันเหตุสร้างกรรมทางกายวาจา

     อุปัชฌาย์อุปัดชาหรืออุบปัดชาได้ทั้งนั้นค่ะความหมายโดยพยัญชนะว่าผู้เข้าไปเพ่งค่ะ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ แปลว่าผู้เข้าไปเพ่ง

     อุปาทานทั้ง๔ล้วนเกิดขึ้นและเป็นไปอยู่ตลอดเวลาโดยไม่รู้ตัวเริ่มเป็นไปตั้งแต่เกิดจวบจนปัจจุบันหรือเป็นไปดังนี้เสียนานจนไม่รู้ว่ากี่สักภพกี่ชาติมาแล้วนั้นโดยไม่เคยคิดที่จะหยุดยั้งกระบวนการจิตเหล่านี้เลยเนื่องเพราะความไม่รู้หรืออวิชชานั่นเองจึงปล่อยให้เกิดขึ้นและเป็นไปตามธรรมชาติของปุถุชนหรือสรรพสัตว์ทั่วไปดังนั้นอุปาทานนี้จึงมีอยู่แล้วตามที่ได้สั่งสมมาแต่ช้านานดังข้างต้นแต่ในสภาพที่นอนเนื่องอยู่ยังไม่ได้ถูกกระตุ้นเร่งเร้าด้วยเหตุปัจจัยใดๆจึงอยู่ในสภาพที่เรียกกันทั่วๆไปว่าดับอยู่กล่าวคือนอนเนื่องอยู่อยู่ในสภาพของอาสวะกิเลสหรือกิเลสที่นอนเนื่องซึมซาบย้อมจิตนั่นเองเมื่ออุปาทานที่นอนเนื่องในรูปของอาสวะกิเลสชนิดหนึ่งเกิดการถูกกระตุ้นปลุกเร้าเหตุปัจจัยโดยตรงที่ปลุกเร้าก็คือตัณหาอันเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาทนั่นเองกล่าวคือเมื่อเกิดตัณหาความอยากหรือไม่อยากในเวทนาความรู้สึกรับรู้อันเกิดแต่การผัสสะอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นในจิตแล้วสิ่งเหล่านั้นยังเป็นเพียงแค่ความปรารถนาอันเกิดมาแต่เวทนาแต่ยังไม่เกิดขึ้นหรือเป็นเพียงนามธรรมอยู่ยังไม่สัมฤทธิ์ผลโดยธรรมชาติของจิตจึงต้องเกิดปฏิกริยาต่อตัณหาเหล่านั้นตามอุปาทานที่สั่งสมไว้ดังข้างต้นโดยการตั้งเป้าหมายหรือการที่ต้องยึดมั่นก็เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายหรือสัมฤทธิ์ผลเป็นตัวเป็นตนขึ้นตามความต้องการให้เป็นไปตามตัณหาความปรารถนาของตัวของตนนั้นๆที่เกิดขึ้นก็เพื่อให้ตัวตนของตนได้รับความพึงพอใจจากการได้รับการตอบสนองอันเป็นไปตามตัณหาความอยากนั่นเองอันเป็นพื้นฐานโดยธรรมชาติในการดำรงคงชีวิตอย่างหนึ่งของสรรพสัตว์ทั้งหลายและในทางธรรมะก็จัดว่าสิ่งเหล่านี้ก็เป็นธรรมชาติเพียงแต่เป็นธรรมชาติที่ก่อให้เกิดทุกข์ขึ้นของสรรพสัตว์โดยถ้วนหน้าด้วยเช่นกันเมื่ออุปาทานเกิดขึ้นที่หมายถึงอุปาทานที่สั่งสมนอนเนื่องอยู่ได้ถูกปลุกเร้าให้ผุดขึ้นหรือเกิดขึ้นด้วยตัณหาเป็นปัจจัยแล้วสิ่งต่างๆที่ดำเนินเกิดขึ้นและเป็นไปต่อจากนั้นในจิตจึงย่อมถูกครอบงำไว้ด้วยกำลังของอุปาทานที่มีจุดมุ่งหมายอยู่ที่ความพึงพอใจของตัวของตนเป็นสำคัญโดยไม่รู้ตัวจึงไม่เห็นสิ่งต่างๆตามที่มันเกิดขึ้นและเป็นไปตามความเป็นจริงแต่เห็นและอยากให้เป็นไปตามความพึงพอใจของตัวของตนเป็นสำคัญแต่ฝ่ายเดียวและโดยไม่รู้ตัวด้วยอวิชชาจึงผูกมัดสัตว์ไว้กับกองทุกข์มาตลอดกาลนานนี่แหละค่ะ อุปาทาน อุปาทาน อุปาทาน ของเราทุกข์

     อุเบกขาหมายถึงความวางเฉยแบบวางใจเป็นกลางๆโดยไม่เอนเอียงเข้าข้างเพราะชอบเพราะชังเพราะหลงและเพราะกลัวเช่นไม่เสียใจเมื่อคนที่ตนรักถึงความวิบัติหรือไม่ดีใจเมื่อศัตรูถึงความวิบัติมิใช่วางเฉยแบบไม่แยแสหรือไม่รู้ไม่ชี้ทั้งๆที่สามารถช่วยเหลือได้นะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุเบกขา อุเบกขา อุเบกขา อุเบกขา ความวางเฉยแบบวางใจเป็นกลาง

     อุเบกขาแปลว่าความวางเฉยความวางใจเป็นกลางค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุเบกขา อุเบกขา อุเบกขา อุเบกขา แปลว่าความวางเฉย

     อุโบสถอ่านว่าอุโบสดถือเป็นอาคารที่สำคัญภายในวัดเนื่องจากเป็นสถานที่ที่พระภิกษุสงฆ์ใช้ทำสังฆกรรมซึ่งแต่เดิมในการทำสังฆกรรมของพระภิกษุสงฆ์จะใช้เพียงพื้นที่โล่งๆที่กำหนดขอบเขตพื้นที่สังฆกรรมโดยการกำหนดตำแหน่งสีมาเท่านั้นแต่ในปัจจุบันจากการมีผู้บวชมากขึ้นอีกทั้งภายในพระอุโบสถมักประดิษฐานพระประธานที่เป็นพระพุทธรูปองค์สำคัญๆทำให้มีผู้มาสักการบูชาและร่วมทำบุญเป็นจำนวนมากพระอุโบสถจึงถูกสร้างขึ้นเป็นอาคารถาวรและมักมีการประดับตกแต่งอย่างสวยงามค่ะและยังมีอีกมีหลายความหมายด้วยนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุโบสถ อุโบสถ อุโบสถ อุโบสถ พระภิกษุสงฆ์ใช้ทำสังฆกรรม

     อุโบสถกรรมหมายถึงการสวดพระปาติโมกข์ทุกกึ่งเดิอนของพระสงฆ์คือพระวินัยกำหนดไว้ว่าพระสงฆ์จะต้องทำสังฆกรรมสวดพระปาติโมกข์ที่โบสถ์ทุกวันขึ้นและแรม๑๕ค่ำหรือแรม๑๔ค่ำในเดือนขาดเรียกการไปทำสังฆกรรมนั้นว่าลงอุโบสถค่ะโดยถ้ามีภิกษุครบองค์สงฆ์คือ๔รูปขึ้นไปทำร่วมกันโดยสวดพระปาติโมกข์เรียกว่าสังฆอุโบสถถ้ามีไม่ครบ๔คือมี๒หรือ๓รูปทำโดยไม่ต้องสวดพระปาติโมกข์เป็นแต่บอกความบริสุทธิ์แก่กันและกันเรียกว่าคณอุโบสถหรือปาริสุทธิอุโบสถแต่ถ้ามีเพียงรูปเดียวทำโดยการกำหนดใจว่าเป็นวันอุโบสถเรียกว่าอธิษฐานอุโบสถหรือปุคคลอุโบสถค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุโบสถกรรม อุโบสถกรรม

     อุโบสถกรรมอ่านว่าอุโบสดถะกำแปลว่าการทำอุโบสถค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุโบสถกรรม อุโบสถกรรม

     อโนตตัปปะเป็นธรรมชาติที่ไม่กลัวเกรงต่อผลของบาป โมหะ อโนตตัปปะ

     อนาถบิณฑิกเศรษฐีเกิดในตระกูลมหาเศรษฐีในเมืองสาวัตถีบิดาชื่อว่าสุมนะมีทรัพย์สมบัติมากมายมหาศาลเมื่อเกิดมาแล้วบรรดาหมู่ญาติได้ตั้งชื่อให้ว่าสุทัตตะเป็นคนมีจิตเมตตาชอบทำบุญให้ทานแก่คนยากจนอนาถาอนาถบิณฑิกเศรษฐีอนาถบิณฑิกเศรษฐีอนาถบิณฑิกเศรษฐีอนาถบิณฑิกเศรษฐีมีจิตเมตตาชอบทำบุญให้ทานแก่คนยากจน

     อุบาสกอุบาสกคู่แรกในพระพุทธศาสนาคือตปุสสะและภัลลิกะพุทธบริษัทอุบาสกคู่แรกในพระพุทธศาสนา



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ