| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ความกตัญญูคือความรู้คุณหมายถึงความเป็นผู้มีใจกระจ่างมีสติมีปัญญาบริบูรณ์รู้อุปการคุณที่ผู้อื่นกระทำแล้วแก่ตนผู้ใดก็ตามที่ทำคุณแก่ตนแล้วไม่ว่าจะมากก็ตามน้อยก็ตามแล้วก็ตามระลึกนึกถึงด้วยความซาบซึ้งไม่ลืมเลย สิ่งที่ควรแก่ความกตัญญูแบ่งได้เป็น๕ประการได้แก่กตัญญูต่อบุคคลคือใครก็ตามที่เคยมีพระคุณต่อเราไม่ว่าจะมากน้อยเพียงไรจะต้องกตัญญูรู้คุณท่านติดตามระลึกถึงเสมอด้วยความซาบซึ้งพยายามหาโอกาสตอบแทนคุณท่านให้ได้โดยเฉพาะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระสงฆ์บิดามารดาครูอุปัชฌาย์อาจารย์พระมหากษัตริย์หรือผู้ปกครองที่ทรงทศพิธราชธรรมจะต้องตามระลึกนึกถึงพระคุณของท่านให้จงหนักให้ปฏิบัติตัวให้เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่เป็นศิษย์ที่ดีของครูอาจารย์เป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติและเป็นพุทธมามกะสมชื่อกตัญญูต่อสัตว์คือสัตว์ที่มีคุณต่อเราเช่นช้างม้าวัวควายที่ใช้งานจะต้องใช้ด้วยความกรุณาปรานีไม่เฆี่ยนตีมันจนเหลือเกินกตัญญูต่อสิ่งของคือของสิ่งใดก็ตามที่มีคุณต่อเราเช่นหนังสือธรรมะหนังสือเรียนสถานศึกษาวัดต้นไม้ป่าไม้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการหาเลี้ยงชีพฯลฯกตัญญูต่อบุญคือรู้ว่าคนเราเกิดมามีอายุยืนยาวร่างกายแข็งแรงผิวพรรณดีสติปัญญาเฉลียวฉลาดมีความสุขความเจริญมีความก้าวหน้ามีทรัพย์สมบัติมากก็เนื่องมาจากผลของบุญจะไปสวรรค์หรือกระทั่งไปพระนิพพานได้ก็ด้วยบุญกล่าวได้ว่าทุกอย่างสำเร็จได้ด้วยบุญทั้งบุญเก่าที่ได้สะสมมาดีแล้วและบุญใหม่ที่เพียรสร้างขึ้นประกอบกันจึงมีความรู้คุณของบุญมีความอ่อนน้อมในตัวไม่ดูถูกบุญตามระลึกถึงบุญเก่าให้จิตใจชุ่มชื่นและไม่ประมาทในการสร้างบุญใหม่ให้ยิ่งๆขึ้นไปกตัญญูต่อตนเองคือรู้ว่าร่างกายของเรานี้เป็นอุปกรณ์สำคัญที่เราจะได้อาศัยใช้ในการทำความดีใช้ในการสร้างบุญกุศลนานาประการเพื่อความสุขความเจริญก้าวหน้าแก่ตนเองต่อไปจึงทะนุถนอมดูแลร่างกายรักษาสุขภาพให้ดีไม่ทำลายด้วยการกินเหล้าเสพสิ่งเสพย์ติด กตัญญู ความกตัญญู ความกตัญญู กตัญญู รู้คุณ

     ความยึดมั่นถือมั่นในกามคือยึดมั่นในรูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะ(สัมผัส)เนื่องด้วยตัณหาความกำหนัดในสิ่งต่างๆเหล่านั้นด้วยอำนาจของกิเลสไม่รู้ด้วยอวิชชาว่าสังขารเหล่านั้นทั้งหลายทั้งปวงล้วนอยู่ภายใต้กฎพระไตรลักษณ์มีความไม่เที่ยงเป็นทุกข์เพราะทนอยู่ไม่ได้เป็นอนัตตาเป็นธรรมดาจึงควบคุมไม่ได้อย่างแท้จริง กามุปาทาน กามุปาทาน กามุปาทาน

     ความสงัดกายได้แก่การอยู่ในที่สงัดก็ดีดำรงอิริยาบถและเที่ยวไปผู้เดียวก็ดีค่ะกายวิเวก กายวิเวก กายวิเวก

     คำว่าคว่ำบาตรนั้นมีที่มาจากการที่พระสงฆ์ลงโทษบุคคลผู้มีปรารถนาร้ายต่อพระรัตนตรัยอย่างร้ายแรงซึ่งมีความผิดอยู่๘ประการค่ะคือ ๑ขวนขวายเพื่อมิใช่ลาภแก่สงฆ์๒ขวนขวายเพื่อมิใช่ประโยชน์แก่สงฆ์๓ขวนขวายเพื่อให้พระอยู่ไม่ได้๔ด่าว่าเปรียบเปรยภิกษุทั้งหลาย๕ยุยงให้สงฆ์แตกกัน๖ตำหนิติเตียนพระพุทธเจ้า๗ตำหนิติเตียนพระธรรม๘ตำหนิติเตียนพระสงฆ์ ฆราวาสผู้ใดมีพฤติกรรมดังกล่าวพระสงฆ์จะประชุมกันแล้วประกาศไม่ให้ภิกษุทั้งหลายคบค้าสมาคมด้วยการคว่ำบาตรในทางพระวินัยไม่ได้หมายถึงการคว่ำบาตรลงแต่หมายถึงการไม่รับบิณฑบาตไม่รับนิมนต์ไม่รับเครื่องใช้อาหารหวานคาวที่บุคคลผู้นั้นนำมาถวายแต่หากต่อมาคนผู้นั้นสำนึกรู้สึกตนกลับมาประพฤติดีคณะสงฆ์ก็จะประกาศเลิกคว่ำบาตรยอมให้ภิกษุทั้งหลายคบค้าสมาคมรับบิณฑบาตรับนิมนต์รับเครื่องถวายไทยธรรมได้เรียกว่าหงายบาตรเป็นสำนวนคู่กัน ดังนั้นการคว่ำและหงายบาตรจึงถือเป็นการลงโทษทางจารีตแบบหนึ่งที่พระสงฆ์ได้นิยมถือปฏิบัติสืบมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลเพื่อประโยชน์ในการตักเตือนและความอยู่โดยปกติสุขระหว่างพระสงฆ์และพุทธศาสนิกชน การคว่ำบาตร_(ศาสนาพุทธ) การคว่ำบาตร การคว่ำบาตร การคว่ำบาตร

     คฤหบดีแก้วหรือขุนคลังแก้วสามารถนำทรัพย์สินมาให้แด่พระเจ้าจักรพรรดิได้ขุมทรัพย์อยู่ที่ไหนก็เห็นไปหมดพระเจ้าจักรพรรดิขุนคลังแก้ว

     ความอดทนแบ่งตามเหตุที่มากระทบได้เป็น๔ประเภทคือ๑อดทนต่อความลำบากตรากตรำเป็นการอดทนต่อสภาพธรรมชาติดินฟ้าอากาศความหนาวความร้อน๒อดทนต่อทุกขเวทนาเป็นการอดทนต่อการเจ็บไข้ได้ป่วยความไม่สบายกายของเราเองความปวดความเมื่อย๓อดทนต่อความเจ็บใจเป็นการอดทนต่อความโกรธความไม่พอใจความขัดใจอันเกิดจากคำพูดที่ไม่ชอบใจกิริยามารยาทที่ไม่งามบางคนเพียงถูกคนโน้นกระทบทีคนนี้กระแทกทีเขาว่าหน่อยค่อนขอดนิดก็อึดอัดเจ็บใจบางคนทนต่อความเจ็บใจได้บ้างเพราะเขาเป็นผู้บังคับบัญชาของตนถึงจะทนไม่ได้ก็ต้องทนการทนอย่างนี้ได้ถือว่ายังไม่เรียกว่าขันติบางคนทนต่อความเจ็บใจต่อคำพูดของคนในระดับเดียวกันพรรคพวกเพื่อนฝูงในที่ทำงานเดียวกันได้ถือว่ามีขันติระดับปานกลางส่วนคนที่มีขันติจริงๆนั้นต้องทนต่อการกระทบกระเทียบเปรียบเปรยการทำให้เจ็บอกเจ็บใจจากคนใต้บังคับบัญชาหรือผู้ต่ำกว่าได้ในการทำงานนั้นเราต้องมีการติดต่อกับบุคคลหลายประเภทเพราะแต่ละคนมีการฝึกฝนตนเองต่างกันถ้าหากไม่มีขันติแล้วก็ไม่อาจจะทำงานให้ออกมาดีได้อย่างเป็นสุขทั้งบางครั้งยังอาจทำให้มีเรื่องเดือดร้อนมาสู่ตัวเองอีกด้วย๔อดทนต่ออำนาจกิเลสเป็นการอดทนต่ออารมณ์อันน่าใคร่น่าเพลิดเพลินใจอดทนต่อสิ่งที่เราอยากทำแต่ไม่สมควรทำในที่นี้มุ่งหมายถึงการไม่เอาแต่ใจตัวไม่ยอมปล่อยตัวตามกระแสโลกความเพลิดเพลินเช่นความสนุกสนานการเที่ยวเตร่ความฟุ้งเฟ้อต่างๆหรือการได้ผลประโยชน์ในทางที่ไม่ควรเป็นต้นกิเลสเป็นเชื้อโรคร้ายที่ฝังอยู่ในตัวเรามาตั้งแต่เกิดเวลามันกำเริบขึ้นมาจะคอยบีบคั้นบังคับให้เราทำความชั่วต่างๆโดยไม่มีความละอายแล้วพอเราไปทำเข้ากิเลสก็ทำให้เราได้รับทุกข์เป็นความเดือดร้อนมากมายเป็นเหตุให้เราต้องมานั่งตำหนิตนเองในภายหลังอบายมุขเป็นสิ่งเร้าภายนอกที่คอยกระตุ้นกิเลสให้กำเริบและลุกลามอยู่ภายในใจจนกลายเป็นนิสัยที่ไม่ดีหรือสันดานชั่วๆที่แก้ไขได้ยากบุคคลบางคนทนต่อความลำบากตรากตรำได้ทนต่อทุกข์เวทนาได้ทนต่อความเจ็บใจจากผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ที่ทนได้ยากที่สุดคือทนต่ออำนาจกิเลสหรือการอดทนต่อความอยากนั่นเองตัวอย่างเช่นผู้ชายบางคนทนแดดทนฝนทนได้สารพัดแม้ที่สุดเขาเอาเงินมาติดสินบนก็ไม่ยอมรับเอาปืนมาขู่จะฆ่าบังคับจะให้ทำผิดก็ไม่ยอมก้มหัวแต่พอเจอสาวๆสวยๆมาออดอ้อนออเซาะเอาใจเข้าหน่อยก็เผลอใจไปหมดทุกอย่างอะไรที่ผิดก็ยอมทำไม่ว่าจะผิดกฎหมายผิดศีลหรือผิดธรรมก็ตามถ้าหากเป็นเช่นนี้แล้วก็ยากที่จะสร้างตัวขึ้นมาได้ความอดทน

     คัมภีร์ขันธกะหรือขันธกะเป็นคัมภีร์หนึ่งในพระวินัยปิฎกเถรวาทมีเนื้อหาครอบคลุมพระไตรปิฎกเล่มที่๔ถึง๗ว่าด้วยบทบัญญัติต่างๆเกี่ยวกับความเป็นอยู่ของพระสงฆ์รวมถึงขนบธรรมเนียมพิธีกรรมสังฆกรรมวัตรปฏิบัติอาจาระมารยาทและความประพฤติโดยทั่วไปของพระสงฆ์เพื่อประโยชน์คือความงามในด้านอาจาระเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสงฆ์ขันธกะจัดเป็นพระวินัยฝ่ายอภิสมาจาริกาสิกขาซึ่งไม่ได้เป็นสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์การจัดแบ่งดังกล่าวเป็นการแบ่งของสมาคมบาลีปกรณ์ของอังกฤษซึ่งแบ่งพระวินัยปิฎกออกเป็นสามหมวดคือสุตตวิภังค์ขันธกะและปริวารคัมภีร์ขันธกะมีคัมภีร์อรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกาหรืออรรถกถาพระวินัยภาค๓และมีคัมภีร์ฎีกาขยายความอรรถกถาชื่อฎีกาสารัตถทีปนีหรือฎีกาพระวินัยภาค๔คัมภีร์ขันธกะมีเนื้อหารวม๒๒ขันธกะแบ่งเนื้อหาภายในคัมภีร์ขันธกะได้เป็นสองคือ๑มหาวรรคมี๑๐ขันธกะ๒จูฬวรรคมี๑๒ขันธกะพระธรรมปิฎก(ประยุทธ์ปยุตฺโต)"พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลธรรม"ขันธกะคัมภีร์ขันธกะขันธกะคัมภีร์ขันธกะพระวินัยปิฎก

     คณปูรกะอ่านว่าค่ะนะปูระกะแปลว่าผู้ทำให้คณะเต็มจำนวนผู้ทำให้ครบองค์ประชุมคณปูรกะเป็นภาษาพระวินัยหมายถึงภิกษุผู้เข้าร่วมทำสังฆกรรมที่ทำให้ครบคณะพอดีกล่าวคือในการทำสังฆกรรมของสงฆ์มีข้อกำหนดไว้ชัดเจนว่าจะต้องมีภิกษุเข้าร่วมประชุมกี่รูปเช่น๔รูป๕รูป๒๐รูปแล้วแต่ชนิดของสังฆกรรมถ้ามีภิกษุขาดไปหนึ่งหรือสองรูปถือว่าไม่ครบองค์สงฆ์หรือองค์ประชุมทำสังฆกรรมนั้นไม่ได้ทำไปก็ไม่ขึ้นถือเป็นโมฆะต่อเมื่อมีภิกษุอื่นมาสมทบตามจำนวนที่ขาดจึงครบองค์สงฆ์พอดีแล้วทำสังฆกรรมนั้นได้เรียกภิกษุที่มาสมทบทำให้ครบองค์สงฆ์นั้นแหละว่าคณปูรกะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คณปูรกะ คณปูรกะคณปูรกะคณปูรกะ

     ครุกรรมอ่านว่าค่ะรุกำแปลว่ากรรมหนักคือกรรมที่มีผลมากมีโทษรุนแรงที่สุดเป็นชื่อกรรมอย่างหนึ่งเรียกตามการให้ผลหนักเบาครุกรรมจัดเป็นกรรมที่หนักที่สุดให้ผลเร็วและแรงมีทั้งฝ่ายที่เป็นกุศลคือฝ่ายดีและฝ่ายที่เป็นอกุศลคือฝ่ายไม่ดีครุกรรมที่เป็นกุศลได้แก่ฌานสมาบัติ๘ผู้ได้ฌานสมาบัติชื่อว่าได้ทำกรรมฝ่ายกุศลที่ดีที่สุดเมื่อสิ้นชีวิตแล้วย่อมได้เกิดในพรหมโลกทันทีส่วนครุกรรมที่เป็นอกุศลได้แก่อนันตริยกรรม๕มีฆ่าบิดาฆ่ามารดาเป็นผู้ทำอนันตริยกรรมชื่อว่าได้ทำกรรมฝ่ายอกุศลที่ร้ายแรงที่สุดเมื่อสิ้นชีวิตแล้วย่อมเกิดในนรกทันทีครุกรรมย่อมให้ผลก่อนกรรมอื่นเสมออุปมาเหมือนวัวแก่มีกำลังน้อยแต่ยืนอยู่ตรงปากประตูคอกพอดีย่อมจะออกจากคอกได้ก่อนวัวหนุ่มอื่นๆทั้งหลายฉะนั้น พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ครุกรรม ครุกรรมครุกรรมครุกรรมกรรมหนัก

     ครุกาบัติหมายถึงอาบัติหนักอาบัติที่มีโทษร้ายแรงค่ะอาบัติครุกาบัติครุกาบัติอาบัติหนัก

     ครุธรรมอ่านว่าค่ะรุทำแปลว่าธรรมอันหนักหมายถึงข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุณีอันเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นที่ทรงอนุญาตให้สตรีอุปสมบทได้โดยต้องปฏิบัติด้วยความเคารพตลอดชีวิตมี๘ประการโดยสรุปคือ๑แม้บวชมานานนับร้อยปีก็ต้องกราบไหว้ภิกษุแม้บวชในวันนั้น๒ต้องจำพรรษาอยู่ในวัดที่มีภิกษุ๓ต้องไปถามวันอุโบสถและรับฟังโอวาทจากภิกษุทุกกึ่งเดือน๔ต้องปวารณาในสงฆ์สองฝ่ายหลังจำพรรษาแล้ว๕ต้องประพฤติมานัตในสงฆ์สองฝ่ายเมื่อต้องอาบัติหนัก๖ต้องเป็นสิกขมานา๒ปีก่อนจึงขออุปสมบทในสงฆ์สองฝ่ายได้๗ต้องไม่บริภาษด่าว่าภิกษุไม่ว่ากรณีใดๆ๘จะว่ากล่าวตักเตือนภิกษุไม่ได้แต่ภิกษุว่ากล่าวตักเตือนได้ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ครุธรรม ครุธรรม

     คฤหัสถ์อ่านว่าค่ะรึหัดแปลว่าผู้มีเรือนผู้ครองเรือนผู้อยู่ในเรือนเรียกรวมทั้งชายและหญิงบางครั้งเรียกว่าคฤหัสถ์ชายหญิงหมายถึงชาวบ้านทั่วไปที่มิใช่นักบวชมีความหมายเดียวกับฆราวาสคำว่าคฤหัสถ์นิยมใช้คู่กับบรรพชิตที่แปลว่านักบวชเช่นทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิตผู้ประพฤติธรรมร่วมกันเป็นที่น่ารักน่าพอใจมีอยู่หรือขอให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ในพระนครนี้มาชุมนุมพร้อมกันเป็นต้น พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คฤหัสถ์ คฤหัสถ์

     คอสองในคำวัดใช้เรียกภิกษุผู้อยู่ในอันดับที่สองถัดจากองค์ต้นที่เป็นประธานสงฆ์ในพิธีสวดมนต์ตามบ้านหรือในวัดโดยเป็นผู้ช่วยเหลือประธานสงฆ์ในการสวดมนต์มีหน้าที่รับบทสวดที่องค์ประธานขึ้นคล้ายกับเป็นลูกคู่ในวงเพลงที่ร้องแก้กันเมื่อคอสองรับแล้วรูปอื่นๆก็สวดรับต่อกันไปทำให้การสวดไม่ขาดตอนคอสองมีธรรมเนียมว่าจะต้องวางเสียงให้สูงต่ำพอดีกับเสียงของประธานสงฆ์ที่ขึ้นบทสวดหากรับสูงหรือต่ำเกินไปจะทำให้คอต่อๆไปรับได้ยากแลฟังไม่ไพเราะกล่าวคือในการสวดมนต์มีธรรมเนียมกำหนดไว้ว่ารูปหลังๆต้องฟังเสียงและจังหวะสวดของรูปต้นๆเป็นหลักไม่ใช่สวดไปตามใจชอบหรือตามเสียงสูงต่ำปกติของตน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คอสอง คอสอง

     คันถธุระหมายถึงงานด้านคันถะงานด้านการเล่าเรียนงานเกี่ยวกับคัมภีร์หรือตำราโดยรวมคืองานเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียนพระพุทธพจน์อันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าโดยการเล่าเรียนพระพุทธพจน์บทใดบทหนึ่งหรือพระไตรปิฎกทั้งหมดตามความสามารถแห่งสติปัญญาของตนแล้วท่องบ่นทรงจำสอนกันบอกกันต่อๆไปเพื่อรักษาพระพุทธพจน์ไว้รวมถึงการแนะนำสั่งสอนเผยแพร่พระพุทธพจน์แก่บุคคลทั่วไปตลอดทั้งการจัดทำและการรักษาตำราและคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาไว้ด้วยคันถธุระเป็นงานที่พระพุทธเจ้าทรงกำหนดให้ภิกษุปฏิบัติอย่างหนึ่งใน๒อย่างคือคันถธุระและวิปัสสนาธุระ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันถธุระ คันถธุระ

     คันถรจนาจารย์อ่านว่าคันถะรดจะนาจานแปลว่าอาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์อาจารย์ผู้แต่งตำราคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันถรจนาจารย์ คันถรจนาจารย์

     คันถรจนาจารย์ใช้เรียกภิกษุที่เป็นนักปราชญ์ฉลาดรู้ในคัมภีร์รู้แจ้งคำสอนทางพระพุทธศาสนาและเชี่ยวชาญทางอักษรศาสตร์ได้แต่งตำราหรือหนังสือที่อธิบายขยายความที่ยากในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้นพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นบ้างข้อวินิจฉัยบ้างไว้ส่วนหนึ่งเรียกว่าพระคันถรจนาจารย์คันถรจนาจารย์เรียกย่อยออกไปอีกเป็นพระอรรถกถาจารย์คือผู้แต่งคัมภีร์อรรถกถาบ้างพระฎีกาจารย์คือผู้แต่งคัมภีร์ฎีกาบ้าง พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันถรจนาจารย์ คันถรจนาจารย์

     คันธมาทน์อ่านว่าคันทะมาดแปลว่าภูเขาเป็นที่ยังสัตว์ให้เมาด้วยกลิ่นหอมค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันธมาทน์ คันธมาทน์

     คันธมาทน์เป็นชื่อภูเขาในป่าหิมพานต์คือภูเขาหอมค่ะนัยว่ามีกลิ่นหอมอบอวลอยู่ตลอดเวลาด้วยเป็นภูเขาที่สะพรั่งด้วยต้นไม้หอมนานาชนิดดารดาษไปด้วยต้นไม้สมุนไพรนับจำนวนมิได้เป็นที่อาศัยแห่งหมู่สัตว์ใหญ่น้อยมีถ้ำใหญ่อยู่๓ถ้ำคือถ้ำทองถ้ำแก้วและถ้ำเงินเป็นที่อยู่ของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายโดยรวมกันอยู่ที่เงื้อมชื่อนันทมูลกะในเรื่องมหาเวสสันดรชาดกกล่าวว่าพระเวสสันดรพร้อมทั้งพระมเหสีและพระโอรสพระธิดาได้เสด็จผนวชในป่าเชิงเขานี้ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันธมาทน์ คันธมาทน์

     คามวาสีอ่านว่าคามะวาสีแปลว่าผู้อยู่ในหมู่บ้านผู้ประจำอยู่ในหมู่บ้านหมายถึงภิกษุที่พำนักอยู่ตามวัดในหมู่บ้านหรือในตัวเมืองมีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทางคันถธุระคือศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมมีภารกิจคือการบริหารปกครองการเผยแผ่ธรรมและการก่อสร้างปฏิสังขรณ์วัดวาอารามเป็นหลักเรียกกันทั่วไปว่าพระบ้านพระเมืองซึ่งเป็นคู่กับคำว่าอรัญวาสีคือพระป่าคามวาสีถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไปเพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระบ้าน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คามวาสี คามวาสี

     คำว่าครูบาครูคือผู้สั่งสอนวิชาความรู้อบรมจรรยามารยาทให้แก่ศิษย์ส่วนบาเป็นภาษาถิ่นทางเหนือหมายถึงพระภิกษุสงฆ์ที่มีพรรษามากเป็นที่เคารพเลื่อมใสของพุทธศาสนิกชนทั่วไปค่ะ คำว่าครูบาครูคือผู้สั่งสอนวิชาความรู้อบรมจรรยามารยาทให้แก่ศิษย์บาเป็นภาษาถ ครูบาอาจารย์ครูบาครูบาอาจารย์พระภิกษุสงฆ์

     คิลานภัตคืออาหารที่จัดถวายภิกษุไข้โดยเฉพาะคิลานเภสัชคือยาสำหรับภิกษุไข้ยารักษาโรคคิลานศาลาคือเรือนพักภิกษุไข้ที่พยาบาลภิกษุไข้โรงพยาบาลคิลานุปฐากคือผู้ปฏิบัติดูแลภิกษุไข้คิลานุปัฏฐากภัตคืออาหารที่จัดถวายภิกษุสามเณรผู้ปฏิบัติดูแลภิกษุไข้โดยเฉพาะคิลาน

     คืบพระสุคตเป็นภาษาพระวินัยเป็นชื่อมาตราวัดมีปรากฏหลายแห่งในพระวินัยเช่นความสูงของพระพุทธเจ้าความสูงของเตียงขนาดจีวรเป็นต้นสันนิษฐานว่าเดิมคงทรงกำหนดด้วยนิ้วพระหัตถ์ของพระองค์โดยประมาณและเทียบกับนิ้วช่างไม้ในสมัยนั้นจึงมีข้อสันนิษฐานกันมากมายเช่น๑คืบพระสุคตเท่ากับ๓คืบของคนปานกลางสมัยนั้นหรือเท่ากับ๑ศอกคืบช่างไม้ดูจะสูงและยาวเกินความจริงจึงไม่เป็นที่ยอมรับในปัจจุบันได้ข้อยุติว่าให้ถือตามมาตราวัดเป็นเมตรคือ๑คืบพระสุคตเท่ากับ๒๕เซนติเมตร๒คืบพระสุคตเท่ากับ๕๐เซนติเมตรหรือ๑ศอกช่างไม้ดังนั้น๑เมตรจึงเท่ากับ๔คืบพระสุคตหรือ๒ศอกช่างไม้มตินี้เป็นที่ยอมรับกัน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คืบพระสุคต หน่วยวัดในสมัยพุทธกาล

     ความสงบระงับจากอกุศลนิวรณ์แห่งจิต จิตตสมถะ จิต จิตตสมถะ ระงับจากอกุศล



๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ