ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
คือกัลยาณปุถุชนผู้แทงตลอดลำดับแห่งนามรูปปริเฉทญาณที่๑ถึงลำดับโคตรภูญาณที่๑๓ตามสมควรค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล
จูฬโสดาบัน
จูฬโสดาบัน
จูฬโสดาบัน
ญาณ๑ถึง๑๓
คือระลึกถึงการสละของของตนเป็นอารมณ์เพื่อให้จิตสงบนั่นเองแหละค่ะหากไม่มีสติก็ไม่เป็นภาวนาต้องมีสติจึงจะเป็นภาวนาคือระลึกได้ในทานที่สละไปตั้งนานแล้วเมื่อระลึกถึงก็เกิดความปลื้มปีติขึ้นมาทำให้จิตสงบได้อันนั้นแหละค่ะเป็นจาคานุสติหลวงปู่เทสก์เทสรํสีวัดหินหมากเป้งจหนองคาย
จาคานุสติ
จาคานุสติ
จาคานุสติ
ระลึกสละ
คำว่าชาตกหรือชาดกแปลว่าผู้เกิดมีรากคำมาจากธาตุว่าชนฺแปลว่าเกิดแปลงชนฺธาตุเป็นชาลงตปัจจัยในกิริยากิตก์ตปัจจัยตัวนี้กำหนดให้แปลว่าแล้วมีรูปคำเป็นชาตแปลว่าเกิดแล้วเสร็จแล้วให้ลงกปัจจัยต่อท้ายอีกสำเร็จรูปเป็นชาดกอ่านออกเสียงตามบาลีสันสกฤตว่าชาตะกะแปลว่าผู้เกิดแล้วเมื่อนำคำนี้มาใช้ในภาษาไทยเราออกเสียงเป็นชาดกโดยแปลงตเป็นดและให้กเป็นตัวสะกดในแม่กกในความหมายคือเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิดถือเอากำเนิดในชาติต่างๆได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้างแต่ก็ได้พยายามทำความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมาจนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้ายกล่าวอีกอย่างหนึ่งจะถือว่าเรื่องชาดกเป็นวิวัฒนาการแห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ้าตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ในอรรถกถาแสดงด้วยว่าผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้าแต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่องเพราะฉะนั้นสาระสำคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้นๆนัยยะหนึ่งชาดกจึงหมายถึงเรื่องราวของพระพุทธเจ้าเมื่อครั้งที่เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์พระองค์เสวยพระชาติต่างๆเป็นมนุษย์บ้างอมนุษย์บ้างเทวดาบ้างสัตว์บ้างเมื่อพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ผู้ใดจะทรงยกชาดกซึ่งเป็นนิทานอิงธรรมมาเล่าเป็นบุคคลาธิษฐานคือเป็นวิธีการสอนแบบยกเอาเรื่องราวนิทานมาประกอบเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายแทนที่จะสอนธรรมะกันตรงๆดรสมิตธิพลเนตรนิมิตรให้รายละเอียดเกี่ยวกับชาดกไว้ว่าชาดกมีความหมายที่ใช้กันทั่วไป๒อย่าง๑หมายถึงเกิดเช่นปรับอาบัติทุกกฎภิกษุผู้แสวงหามีดและขวานเพื่อจะตัดต้นไม้และเถาวัลย์ที่เกิดณที่นั้นตตฺถชาตกกฎฺฐลตาเฉทนตฺถํวาสิผรสํหรือที่ขึ้นอยู่ที่นั้นได้แก่ที่เกิดบนหม้อดินที่ฝังไว้นานตตฺถชาตกนฺติจิรนิหิตายกุมฺภิยาอุปริชาตกํ๒หมายถึงการบำเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระโพธิสัตว์ก่อนตรัสรู้ชาตํภูตํอตีตํภควโตจริยํ,ตํกียติกถียติเอเตนาติชาตกํชาดกเป็นพระพุทธพจน์ประเภทที่ไม่ใช่พระสูตรเป็นคำสอนที่มีอิทธิพลต่อวิธีสอนธรรมในยุคต่อมาเป็นการสอนอย่างเล่านิทานเหมาะกับผู้ฟังทุกระดับเป็นเทคนิคที่คงประสิทธิผลต่อผู้ฟังมาทุกยุคสมัยเพราะผู้สอนมีความรู้หลายด้านรู้วิธีนำเสนอมีวาทศิลป์เชื่อมโยงให้คนฟังมองเห็นภาพลักษณ์ชวนให้น่าติดตามชาดกความหมายของชาดกชาดกชาดกผู้เกิด
ความทุกข์จะดับไปได้เพราะดับชาติการเกิดอัตตาตัวตนคิดว่าตนเป็นอะไรอยู่ปฏิจจสมุปบาท
ความทุกข์
ทุกข์
ไม่เกิด
ความทุกข์
ความยึดมั่นถือมั่นในทิฏฐิคือยึดมั่นในความเห็นความเชื่อความคิดหรือในทฤษฎีของตัวของตนจึงไม่เชื่อหรือแอบต่อต้านในสิ่งต่างๆที่ขัดแย้งหรือไม่ลงรอยไปกับความคิดความเห็นความเชื่อหรือทฤษฎีของตัวของตนเหล่านั้นโดยไม่รู้ตัวดังนั้นจิตจึงไม่ยอมศึกษาหรือพิจารณาอย่างจริงจังในความคิดความเห็นอื่นๆที่ถูกต้องและดีงามแต่ขัดแย้งกับความเชื่อความเห็นเดิมๆของตนเกิดความรู้สึกต่อต้านขัดแย้งไม่พอใจในสิ่งต่างๆที่ไม่ตรงความเชื่อความเข้าใจของตัวของตนโดยไม่รู้ตัวด้วยอวิชชาจึงทำให้ไม่สามารถเห็นหรือเข้าใจในสิ่งต่างๆตามความเป็นจริงที่เป็นไปของธรรมหรือสิ่งนั้นๆได้อย่างปรมัตถ์หรือถูกต้องดีงามค่ะ
ทิฏฐุปาทาน
ทิฏฐุปาทาน
ยึดมั่นตัว
ทิฏฐุปาทาน
คือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาลมีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นโกลิยะ๑ในมหาชนบทในสมัยพุทธกาลเป็นเมืองที่ประสูติของพระนางสิริมหามายาผู้เป็นพระราชมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะซึ่งต่อมาได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าและเป็นเมืองพี่เมืองน้องในฐานะพระประยูรญาติของศากยวงศ์และโกลิยวงศ์แห่งแคว้นสักกะ(กรุงกบิลพัสดุ์)และโกลิยะ(กรุงเทวทหะ)เมืองแห่งนี้ปัจจุบันเหลือเพียงซากโบราณสถานอยู่ในเขตประเทศเนปาลติดชายแดนตอนเหนือของประเทศอินเดียยังเหลือซากเมืองอยู่เป็นหลักฐานและไม่ห่างจากเมืองนี้มีสังเวชนียสถานที่สำคัญคือสถานที่ประสูติของพระพุทธเจ้าซึ่งเรียกว่าลุมพินีวันปรากฏอยู่บริเวณลุมพินีมีวัดพุทธของประเทศไทยและของประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนาอีกหลายวัดเป็นดินแดนที่พุทธศาสนิกชนทั่วโลกนิยมไปแสวงบุญเทวทหะ
เมืองเทวทหะ
เทวทหะ
แคว้นโกลิยะ
เมืองเทวทหะ
คือการสมาทานธุดงค์ด้วยการอยู่ป่าเป็นวัตรค่ะ
เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑
พระพากุลเถระ
พระพากุลเถระ
พระพากุล
ป่าเป็นวัตร
คือการสมาทานธุดงค์ด้วยการอยู่ในอิริยาบท๓คือยืนเดินและนั่งเท่านั้นไม่มีนอนค่ะ
เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑
พระพากุลเถระ
พระพากุลเถระ
พระพากุล
อิริยาบท๓
คำว่าบังสุกุลนั้นมาจากคำภาษาบาลีว่าปํสุอ่านว่าปังสุแปลว่าฝุ่นและคำว่ากุลอ่านว่ากุละแปลว่าเปื้อน,คลุกสมาสคำทั้งสองเข้าด้วยบทวิเคราะห์เป็นปํสุกุลอ่านว่าปังสุกุละแปลว่าผ้าที่เปื้อนฝุ่นเมื่อมาเป็นคำไทยเปลี่ยนปอปลาเป็นบอใบไม้และปรับเสียงเป็นรูปแบบภาษาไทยที่มีตัวสะกดเป็นบังสุกุลอ่านว่าบังสุกุนดังนั้นคำว่าบังสุกุลจึงต้องเขียนว่าบังสุกุลเท่านั้นไม่สามารถเขียนเป็นอย่างอื่นได้หากเขียนเป็นบังสุกุลถือเป็นคำที่เขียนผิดอันเกิดจากการเทียบเคียงผิดกับคำว่าสกุลที่หมายถึงตระกูลวงศ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘บังสุกุลบังสุกุลเป็นภาษาอะไรบังสุกุลบังสุกุลภาษาบาลี
คัมภีร์ปริวารหรือปริวารเป็นคัมภีร์สุดท้ายในส่วนพระวินัยปิฎกเถรวาทมีเนื้อหาครอบคลุมพระไตรปิฎกเล่มที่๘มีเนื้อหาเป็นลักษณะคำถามคำตอบโดยสรุปความจากเนื้อหาในพระวินัยปิฎกเพื่อประโยชน์ในการศึกษาการสอนรวมไปถึงการซักซ้อมเพื่อให้เกิดความเข้าใจในพระวินัยโดยชัดเจนปริวารจัดเป็นคัมภีร์ที่เปรียบเสมือนภาคผนวกของพระวินัยในส่วนอาทิพรหมจาริยกาสิกขาหรือสุตตวิภังค์และอภิสมาจาริกาสิกขาหรือขันธกะโดยคัมภีร์ปริวารแต่งโดยพระธรรมสังคหกาจารย์ในครั้งปฐมสังคายนาโดยได้ยกคัมภีร์ปริวารขึ้นสังคายนาหลังจากได้สังคายนารวบรวมในส่วนสุตตวิภังค์และขันธกะเสร็จแล้วโดยคัมภีร์ปริวารจัดเป็นคัมภีร์สุดท้ายในพระวินัยปิฎกการจัดแบ่งดังกล่าวเป็นการแบ่งของสมาคมบาลีปกรณ์ของอังกฤษซึ่งแบ่งพระวินัยปิฎกออกเป็นสามหมวดคือสุตตวิภังค์,ขันธกะและปริวารคัมภีร์ปริวารมีคัมภีร์อรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกาหรืออรรถกถาพระวินัยภาค๓และมีคัมภีร์ฎีกาขยายความอรรถกถาชื่อฎีกาสารัตถทีปนีหรือฎีกาพระวินัยภาค๔ปริวารปริวารคืออะไร
คัมภีร์ปริวารมีเนื้อหารวม๒๑หัวข้อโดยเป็นการประมวลเนื้อหาสำคัญๆมากล่าวไว้ในคัมภีร์เดียวปริวารปริวารคืออะไร
คือพระนิพพานนั่นเอง~_?%%%%%%%ปรมัตถประโยชน์ปรมัตถะปรมัตถประโยชน์นิพพาน
คือพระอุปัชฌาย์ที่เป็นผู้หญิงน่ะค่ะสิกขมานาสิกขมานา
คำเรียกของหลวงพ่อธัมมะน่ะค่ะท่านใช้เรียกในการปฏิบัติเพื่อไปดูบุพกรรมกรรมชาตินี้ชีวิตหลังความตายให้กับญาติโยมเพื่อสอนเรื่องชีวิตหลังความตายค่ะฝันในฝันฝันในฝันฝันในฝันดูบุพกรรม
คันธกุฎีหรือพระมูลคันธกุฎีแปลว่ากุฎีที่มีกลิ่นหอมพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พระคันธกุฎีพระมูลคันธกุฎีพระคันธกุฎีพระมูลคันธกุฎีกุฎีที่มีกลิ่นหอม
คำว่าพุทธชยันตีมาจากศัพท์พุทธบวกชยันตีที่แปลว่าวันครบรอบในภาษาสันสกฤตพุทธชยันตีจึงแปลว่าการครบรอบวันเกิดของพระพุทธศาสนาหรือวันครบรอบชัยชนะของพระพุทธเจ้าก็ได้ค่ะพุทธชยันตีพุทธชยันตีพุทธชยันตีพุทธชยันตีวันเกิดพุทธ
คำสอนของพระพุทธเจ้าเดิมเรียกว่าธรรมวินัยทั้งหมดยังมิได้แยกเป็นปิฎกสามปิฎกดังพระพุทธวจนะว่า"ธรรมและวินัยใดที่เราตถาคตแสดงไว้แล้วบัญญัติไว้แล้วธรรมและวินัยนั้นจะเป็นศาสดาของพวกเธอเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว"ต่อมาในการสังคายนาครั้งที่สามในศาสนาพุทธพระธรรมวินัยได้รับการแบ่งแยกออกเป็นปิฎกสามปิฎกคือพระวินัยปิฎกพระสุตตันตปิฎกและพระอภิธรรมปิฎกอรรถกาอัตถสาลินีอันเป็นอรรถกาที่อธิบายคัมภีร์สังคณีแห่งพระอภิธรรมปิฎกและอรรถกาธัมมปทัฏฐกถาอันเป็นอรรถกถาที่อธิบายคัมภีร์ธรรมบทแห่งพระสุตตันตปิฎกว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จขึ้นไปเทศน์พระอภิธรรมโปรดพระพุทธมารดาบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในพรรษาที่๗หลังจากทรงตรัสรู้และได้ทรงถ่ายทอดพระอภิธรรมนั้นแก่พระสารีบุตรในเวลาต่อมาสำนวนในการเขียนพระอภิธรรมปิฎกเป็นภาษาหนังสือแตกต่างจากสำนวนภาษาในพระวินัยปิฎกและพระสุตตันตปิฎกจึงมีผู้สันนิษฐานว่าพระอภิธรรมปิฎกนี้เป็นของแต่งขึ้นใหม่ภายหลังพระอภิธรรมปิฎกความเป็นมาของพระอภิธรรมพระอภิธรรมปิฎกพระอภิธรรมปิฎกคำสอนของพระพุทธเจ้า
คราวหนึ่งในพระวิหารบุพพารามกรุงสาวัตถีพระพุทธเจ้าประทับอยู่กับภิกษุสงฆ์๕๐๐รูปล้วนเป็นพระอรหันต์ในวันอุโบสถขึ้น๑๕ค่ำเพื่อจะทรงทำปวารณาพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแก่เหล่าภิกษุนั้นว่าจะติเตียนการกระทำทางกายทางวาจาของพระองค์บ้างหรือไม่พระสารีบุตรตอบปฏิเสธเพราะพระองค์ยังทางที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้นจากนั้นพระสารีบุตรก็กล่าวปวารณาให้พระพุทธเจ้าติเตียนท่านพระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวปฏิเสธเพราะพระสารีบุตรเป็นบัณฑิตเป็นผู้มีปัญญามากพระสารีบุตรทูลถามอีกว่าพระองค์จะไม่กล่าวติเตียนการกระทำทางกายทางวาจาของเหล่าภิกษุบ้างหรือพระองค์กล่าวปฏิเสธเพราะเหล่าภิกษุได้บรรลุวิชชา๓อภิญญา๖ได้อุภโตภาควิมุตติและได้ปัญญาวิมุติเป็นพระอรหันต์
มหาปวารณา
มหาปวารณา
ความดำริผิดหมายถึงวิตกเจตสิกที่เกิดกับอกุศลจิตเป็นปัจจัยให้คิดเป็นไปในกามคิดเป็นไปในความพยาบาทคิดเป็นไปในความเบียดเบียนหรือคิดผิดไปจากเหตุผลตามความเป็นจริงทำให้มีการปฏิบัติที่ผิดๆตามมาค่ะ
?
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
ความดำริผิด
ความดำริผิดค่ะ
สัมมาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
ความดำริผิด
คืออริยบุคคลผู้แทงตลอดในลำดับแห่งญาณ๑๖โดยสมบูรณ์ค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล
มหาโสดาบัน
คือผู้นำบุญผู้แนะนำทางบุญผู้ชี้ทางบุญใช้เรียกคฤหัสถ์ผู้ประสานติดต่อระหว่างวัดกับชาวบ้านในกิจการต่างๆของวัดหรือผู้เป็นหัวหน้าในพิธีทำบุญในวัดเช่นนำอาราธนาศีลอาราธนาพระปริตรนำถวายทานตลอดจนจัดแจงดูแลศาสนพิธีอื่นให้ถูกต้องเรียบร้อยอาจเป็นชายหรือหญิงก็ได้และแต่ละวัดอาจมีหลายคนก็ได้มัคนายกที่ดีและเก่งจะทำให้งานบุญต่างๆในวัดสำเร็จเรียบร้อยโดยเป็นระเบียบสวยงามและราบรื่นไม่ติดขัด
มัคนายก
มัคนายก
คำว่าลักษณะนี้ในพระไตรปิฎกและอรรถกถาใช้เรียกทั้งบัญญัติและปรมัตถ์โดยมีหลักการแบ่งเป็นหลักอยู่ดังนี้ก็จัดเข้าในลักษณะประเภทที่๒นี้ด้วยเพราะท่านระบุไว้ว่าเป็นบัญญัติ๑ถ้าเป็นปรมัตถธรรมมีสภาวะอยู่จริงเรียกว่าปัจจัตตลักษณะหรือวิเสสลักษณะเช่นการรับรู้เป็นลักษณะของจิตเพราะทำให้เราสามารถกำหนดเจาะจงลงไปได้ว่านี้เป็นจิตไม่ใช่ดินเป็นต้นจะสังเกตได้ว่าลักษณะแบบนี้ก็คือตัวสภาวะนั้นๆนั่นเองเพราะสามารถกำหนดหมายลงไปได้ด้วยตัวเองเช่นจิตก็คือการรับบรู้การรับรู้ก็คือจิตเป็นต้นฉะนั้นท่านจึงตั้งชื่อว่าปัจจัตตลักษณะปฏิบวกอัตตบวกลักขณะแปลว่าเอกลักษณ์เอกลักษณ์เฉพาะตัวสัญลักษณ์ส่วนตัวตราส่วนตัว๒ถ้าไม่ใช่ปรมัตถธรรมไม่มีสภาวะอยู่จริงเรียกว่าบัญญัติเช่นอนิจจลักษณะเป็นลักษณะของขันธ์๕เพราะทำให้เราสามารถกำหนดเจาะจงลงไปได้ว่าสิ่งนี้เป็นตัวอนิจจังหรือขันธ์ไม่ใช่นิพพานเช่นเดียวกันนิจจลักษณะก็เป็นลักษณะของนิพพานเพราะทำให้เราทราบได้ว่าสิ่งนี้เป็นนิพพานไม่ใช่ขันธ์คำว่าจักขุปสาทเป็นลักษณะของตัวจักขุปสาทเพราะทำให้เราระลึกถึงจักขุปสาทนั้นได้เป็นต้นจะสังเกตได้ว่าลักษณะแบบนี้เป็นสิ่งที่ทำให้ทราบถึงตัวสภาวะได้อย่างคำว่าจักขุปสาทหรือไม่ก็สามารถจะทำให้ทราบถึงบัญญัติที่มีความเกี่ยวเนื่องกับสภาวะได้เช่นอนิจจลักษณะเป็นต้นอนึ่งไตรลักษณ์ก็จัดเข้าในลักษณะประเภทที่๒นี้ด้วยเพราะท่านระบุไว้ว่าเป็นบัญญัติค่ะลักษณะ_(ศาสนาพุทธ)ลักษณะ
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ