| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ญัตติเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าคำเผดียงสงฆ์ที่ใช้เฉพาะในพระวินัยหมายถึงคำเสนอหรือข้อเสนอที่ใช้ในกรรมวาจาโดยพระคู่สวดประกาศให้สงฆ์ทราบในการประชุมกันทำสังฆกรรมอย่างใดอย่างใดอย่างหนึ่งถ้าสวดญัตติแล้วไม่มีการเสนอในลงมติเรียกว่าญัตตติกรรมแต่ถ้าเสนอให้ลงมติด้วยเรียกว่าญัตติทุติยกรรมบ้างญัตติจตุถตกรรมบางแล้วแต่กรณีค่ะญัตติในคำไทยใช้ในความหมายว่าข้อเสนอเพื่อลงมติหัวข้อโต้วาทีเช่นใช้ว่า"ผู้แทนเขาจะเสนอญัตติเรื่องนี้ในสภาผู้แทนราษฎร"หรือ"ในงานนี้มีการโต้วาทีในญัตติว่าปัญญาดีกว่าทรัพย์"ไรเงี้ยค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญัตติ_(ศาสนาพุทธ)ญัตติญัตติญัตติคำเผดียงสงฆ์

     ญัตติแปลว่าการประกาศให้สงฆ์ทราบค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญัตติ_(ศาสนาพุทธ)ญัตติญัตติญัตติการประกาศให้สงฆ์ทราบ

     ญาตัตถจริยาเป็นคำเรียกพระจริยาวัตรของพระพุทธเจ้าที่ทรงปฏิบัติประการหนึ่งใน๓ประการหมายถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงปฏิบัติหน้าที่สงเคราะห์ญาติในฐานะที่เป็นญาติกล่าวคือทรงสงเคราะห์พระบิดาพระมารดาตลอดถึงพระประยูรญาติพระบรมวงศานุวงศ์ให้ได้เข้าถึงพระรัตนตรัยเข้าถึงธรรมจึงถึงให้ได้บวชในพระศาสนาและบรรลุมรรคผลนิพพานเป็นต้นว่าเสด็จไปโปรดพระบิดาและพระประยูรญาติที่กรุงกบิลพัสดุ์หลังจากตรัสรู้ได้ไม่นานเสด็จไปโปรดพระมารดาที่สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เสด็จไปห้ามพระญาติสองฝ่ายมิได้รบพุ่งกันเพราะเหตุแย่งน้ำทำนาประทานอุปสมบทให้แก่พระนันนทะพระนางรูปนันทาซึ่งเป็นพระอนุชาและพระภคินีต่างพระมารดาทรงแนะนำสั่งสอนจนได้เป็นพระอรหันต์ทั้งสององค์ค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาพระพุทธเจ้าทรงปฏิบัติในฐานะที่เป็นญาติ

     ญาตัตถจริยาแปลว่าการประพฤติประโยชน์ต่อญาติการบำเพ็ญประโยชน์ให้แก่ญาติค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาญาตัตถจริยาการบำเพ็ญประโยชน์แก่ญาติ

     ญายธรรมมีความหมายสูงสุดคือพระนิพพานพระอริยสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบเพื่อบรรลุญายธรรมและสามารถบรรลุถึงได้แล้วเรียกกันว่าญายปฏิปันโนค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญายธรรมญายธรรมญายธรรมญายธรรมความหมายสูงสุดคือพระนิพพาน

     ญายธรรมแปลว่าความจริงความเหมาะสมความถูกต้องวิธีที่ถูกต้องหนทางที่ถูกต้องค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญายธรรมญายธรรมญายธรรมญายธรรมหนทางที่ถูกต้อง

     ญายปฏิปันโนหมายถึงผู้ปฏิบัติเพื่อเข้าถึงความจริงความถูกต้องผู้ปฏิบัติเพื่อออกจากทุกข์ในวัฏฏะผู้ปฏิบัติไปตามปฏิปทาที่ถูกต้องคือมุ่งตรงไปเพื่อบรรลุพระนิพพานซึ่งเป็นญายธรรมสูงสุดและยังเป็นลักษณะหรือคุณสมบัติของพระอริยสงฆ์ที่เรียกว่าสังฆคุณข้อหนึ่งในจำนวน๙ข้อค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนผู้ปฏิบัติเพื่อเข้าถึงความจริง

     ญายปฏิปันโนแปลว่าผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุญายธรรมผู้ดำเนินไปในหนทางที่ถูกต้องค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนญายปฏิปันโนผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุญายธรรม

     ญาณคือปรีชาหยั่งรู้ปรีชากำหนดรู้หรือกำหนดรู้ได้ด้วยอำนาจการบำเพ็ญวิปัสสนาเรียกว่าวิชชาบ้างค่ะญาณยังเป็นไวพจน์คำหนึ่งของปัญญาแต่มักใช้ในความหมายที่จำเพาะกว่าคือเป็นปัญญาที่ทำงานออกผลมาเป็นเรื่องๆมองเห็นสิ่งนั้นๆหรือเรื่องนั้นๆตามสภาวะจริงอะค่ะญาณญาณญาณญาณวิชชา

     ญาณแปลว่าความรู้ค่ะญาณญาณ

     ญาณ๓หรือญาณทัสสนะซึ่งหมายถึงการหยั่งรู้ครบสามรอบญาณทั้งสามเมื่อเข้าคู่กับกิจในอริยสัจทั้งสี่จึงได้เป็นญาณทัสนะมีอาการ๑๒ดังนี้๑สัจญาณหยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า๑นี่คือทุกข์๒นี่คือเหตุแห่งทุกข์๓นี่คือความดับทุกข์๔นี่คือทางแห่งความดับทุกข์๒กิจญาณหยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า๑ทุกข์ควรรู้๒เหตุแห่งทุกข์ควรละ๓ความดับทุกข์ควรทำให้ประจักษ์แจ้ง๔ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น๓กตญาณหยั่งรู้ว่าได้ทำกิจที่ควรทำได้เสร็จสิ้นแล้ว๑ทุกข์ได้กำหนดรู้แล้ว๒เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว๓ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว๔ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้วอริยสัจ_อริยสัจ๔ญาณทัสสนะญาณทัสสนะหยั่งรู้ครบสามรอบ

     ญาณทัสสนวิสุทธิหมายถึงความหมดจดแห่งญาณทัสสนะคือการปฏิบัติบริบูรณ์จนก้าวผ่านภูมิจิตเดิมคือโคตรภูญาณและวิทานะญาณได้ความรู้แจ้งในอริยมรรคหรือมรรคญาณความบรรลุเป็นอริยบุคคลหรือผลญาณพิจารณาธรรมที่ได้บรรลุแล้วคือปัจจเวกขณะญาณย่อมเกิดขึ้นในวิสุทธิข้อนี้เป็นอันบรรลุผลที่หมายสูงสุดแห่งวิสุทธิหรือไตรสิกขาหรือการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาทั้งสิ้นญาณทัสสนวิสุทธิ



๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ