ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ฐานานุรูปหมายถึงตามความพอดีพอเหมาะพอควรพอสมน้ำสมเนื้อใช้ในกรณีปฏิบัติกิจการการใช้จ่ายการต้อนรับการดำรงชีพเป็นต้นคือให้เป็นไปอย่างพอดีพอเหมาะพอควรไม่ให้เกินเลยฐานะไปหรือมักง่ายหย่อนยานไปจนน่าเกลียดเช่นใช้ว่า"จะต้อนรับขับสู้อย่างไรก็ให้เป็นไปตามฐานานุรูปก็แล้วกันจะได้ไม่เดือดร้อน""ดูตามฐานานุรูปแล้วไม่น่าจะเป็นอย่างนี้ไปได้เลย"พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ฐานานุรูปฐานานุรูปฐานานุรูปฐานานุรูปตามความพอดี
ฐานานุรูปแปลว่าตามสมควรแก่ฐานะตามสมควรแก่ตำแหน่งตามสมควรแก่เหตุการณ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ฐานานุรูปฐานานุรูปฐานานุรูปฐานานุรูปตามสมควรแก่ฐานะ
๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ