ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ท้าวกุเวรรักษาโลกด้านทิศเหนือทำหน้าที่ปกครองยักษ์ท้าวกุเวรมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าท้าวเวสวัณหรือท้าวเวสสุวรรณ
สวรรค์ชั้นแรก
สวรรค์
สวรรค์
ท้าวกุเวร
ท้าวธตรัฐรักษาโลกด้านทิศตะวันออกทำหน้าที่ปกครองเทวดา๓จำพวกได้แก่กุมภัณฑ์วิทยาธรคนธรรพ์
สวรรค์ชั้นแรก
สวรรค์
สวรรค์
ท้าวธตรัฐ
ท้าววิรุฬหกรักษาโลกด้านทิศใต้ทำหน้าที่ปกครองครุฑ
สวรรค์ชั้นแรก
สวรรค์
สวรรค์
ท้าววิรุฬหก
ท้าววิรูปักษ์รักษาโลกด้านทิศตะวันตกทำหน้าที่ปกครองนาค
สวรรค์ชั้นแรก
สวรรค์
สวรรค์
ท้าววิรูปักษ์
ทมะแปลว่าการรู้จักข่มจิตข่มใจตนเองทมะ
ทมะ
ทมะ
ทมะ
รู้จักข่มจิต
ทศชาติชาดกเป็นชาดกที่สำคัญกล่าวถึง๑๐ชาติสุดท้ายก่อนจะเสวยพระชาติมาเกิดเป็นเจ้าชายสิทธัตถะแห่งศากยวงศ์และได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าทศชาติชาดกเทโวโรหณะ
ทศชาติชาดก
ทศชาติชาดก
ทศชาติชาดก
๑๐ชาติสุดท้าย
ทศพิธราชธรรมหรือราชธรรม๑๐คือจริยวัตร๑๐ประการที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์หรือเป็นคุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมืองให้มีความเป็นไปโดยธรรมและยังประโยชน์สุขให้เกิดแก่ประชาชนจนเกิดความชื่นชมยินดีซึ่งความจริงแล้วไม่ได้จำเพาะเจาะจงสำหรับพระเจ้าแผ่นดินหรือผู้ปกครองแผ่นดินเท่านั้นบุคคลธรรมดาที่เป็นผู้บริหารระดับสูงในทุกองค์กรก็พึงใช้หลักธรรมเหล่านี้ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
คุณธรรมประจำตนของผู้ปกครองบ้านเมือง
ทำวัตรหมายถึงการทำกิจที่พึงทำตามหน้าที่หรือตามธรรมเนียมเป็นคำย่อมาจากคำว่าทำกิจวัตรประจำอันเป็นธรรมเนียมปกติเรียกการไหว้พระสวดมนต์ของพระตามปกติในตอนเช้าและตอนเย็นหรือตอนค่ำว่าทำวัตรเช้าและทำวัตรเย็นการทำวัตรเช้าและทำวัตรเย็นเป็นธรรมเนียมเลียนแบบมาแต่สมัยพุทธกาลซึ่งพระสงฆ์จะเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อฟังโอวาทเป็นกิจวัตรประจำการทำวัตรมีจุดมุ่งหมายอย่างหนึ่งคือเพื่อเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้านั่นเองทำวัตรอีกความหมายหนึ่งคือการที่ภิกษุสามเณรนำธูปเทียนแพไปสักการะพระเถระผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือในโอกาสต่างๆเช่นเพื่อขอลาสิกขาเพื่อขอลาไปอยู่ที่อื่นเพื่อขอขมาในเทศกาลเข้าพรรษาเพื่อรายงานตัวการทำวัตรผู้ใหญ่แบบนี้ถือป็นธรรมเนียมของพระสงฆ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ทำวัตร
ทำวัตร
ทำวัตร
ทำวัตร
กิจวัตร
ทิฏฐิวิสุทธิหมายถึงความหมดจดแห่งทิฏฐิคือความรู้เข้าใจมองเห็นนามรูปตามสภาวะที่เป็นจริงเห็นรูปธาตุและนามธาตุเป็นคนละธาตุกันอย่างชัดเจนเป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่ารูปขันธ์นี้เป็นเราเสียได้เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิดค่ะ
ทิฏฐิวิสุทธิ
ทิฏฐิวิสุทธิ
เข้าใจถูก
ทิฏฐิวิสุทธิ
ทิฐิอ่านว่าทิดถิแปลว่าความเห็นพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ทิฐิ
ความหมายของทิฐิ
ทิฐิ
ความเห็น
ทิฐิ
ทิฐิในพระพุทธศาสนาใช้ในความหมายเดียวกับมิจฉาทิฐิคือความเห็นผิดมี๒ประการได้แก่สัสสตทิฐิ(ความเห็นว่าเที่ยง)อุจเฉททิฐิ(ความเห็นว่าขาดสูญ)เป็นต้นหากเป็นความเห็นถูกเรียกว่าสัมมาทิฐิหรือปัญญานอกจากนี้ในภาษาไทยมักใช้ในความหมายว่าความอวดดื้อถือดีความดื้อรั้นความตะแบงทั้งที่รู้ว่าผิดแต่ไม่ยอมรับและไม่ยอมแก้ไขเช่นที่ใช้ว่าเขามีทิฐิมากไม่ยอมลงใครทิฐิมานะของเขาทำให้เขาเข้ากับใครไม่ได้เลยในที่ทำงานพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ทิฐิ
ทิฐิ
ทิฐิ
ความเห็นผิด
ทิฐิ
ทุกขตาหรือทุกขลักษณะคืออาการเป็นทุกข์อาการที่ถูกบีบคั้นด้วยการเกิดขึ้นและสลายตัวอาการที่กดดันอาการฝืนและขัดแย้งอยู่ในตัวเพราะปัจจัยที่ปรุงแต่งให้มีสภาพเป็นอย่างนั้นเปลี่ยนแปลงไปจะทำให้คงอยู่ในสภาพนั้นไม่ได้อาการที่ไม่สมบูรณ์มีความบกพร่องอยู่ในตัวอาการที่แสดงถึงความเป็นทุกข์ของขันธ์
ไตรลักษณ์
ทุกขตา
คงสภาพไม่ได้
ทุกขตา
ทำ๗อย่างนี้ครบก็ได้เป็นพระอินทร์สมใจแหละค่ะ๑เลี้ยงคุณแม่คุณพ่อตลอดชีวี้ดดด๒อ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ในตระกูลตลอดชีวี้ดดด๓พูดวาจาอ่อนหวานตลอดชีวี้ดดด๔ไม่พึงพูดส่อเสียดตลอดชีวี้ดดด๕ไม่งกมีการบริจาคอันปล่อยแล้วมีฝ่ามืออันชุ่มยินดีในการสละควรแก่การขอยินดีในการแจกจ่ายทานตลอดชีวี้ดดด๖พูดคำสัตย์ตลอดชีวี้ดดด๗ไม่โกรธตลอดชีวี้ดดดถ้าแม้ความโกรธเกิดขึ้นก็กำจัดเสียโดยฉับพลันทีเดียวค่ะเรื่องเล่าของพระอินทร์กับหลักปฏิบัติของคนดีพระอินทร์พระอินทร์พระอินทร์วัตรบท๗
ท่านน้อยอาจารยางกูรปธ๘องคมนตรีและเจ้ากรมพระอาลักษณ์ในรัชกาลที่๕ค่ะสรภัญญะสรภัญญะ
ทานที่ให้ได้ยากมากๆแบ่งได้เป็น๓ระดับคือทานระดับบารมีให้กำลังสละแรงกายและเวลาของตนทานระดับอุปบารมี๓อย่างคือ๑ให้เลือดเนื้ออวัยวะในร่างกายตน๒ให้ภรรยาของตน๓ให้บุตรธิดาของตนทานระดับปรมัตถบารมีคือให้ชีวิตของตนมหาทาน
ที่จำชาติก่อนไม่ได้เพราะกฎแห่งวัฏฏะคือเรามีอวิชชาเป็นกิเลสวัฏฏะทำให้เกิดมโนกรรมคือมิจฉาทิฏฐิทำให้เกิดวิบากกรรมคือจำชาติที่แล้วไม่ได้เนื่องจากขณะจิตที่ดับจิตเป็นมิจฉาทิฏฐิไม่รู้ทุกข์เหตุแห่งทุกข์ความดับทุกข์คือดับกิเลสและทางปฏิบัติให้พ้นทุกข์คือมรรคมีองค์๘
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัญญา_(ศาสนาพุทธ)
สัญญา
สัญญา
สัญญา
กฎแห่งวัฏฏะ
ที่ยังเป็นสาสวะเป็นส่วนแห่งบุญให้ผลแก่ขันธ์ฯ
?
สาสวะ
ที่ได้ชื่อดังนี้เพราะพระราชโอรสพระราชธิดาของพระเจ้าโอกการาชสามารถแยกออกมาตั้งเมืองกบิลพัสดุ์และตั้งวงศ์ใหม่ได้สำเร็จพระราชบิดาทรงชมเชยว่ามีความองอาจสามารถมากจึงเรียกราชวงศ์ที่ตั้งใหม่นี้กันตามพระราชดำรัสชมเชยนั้นว่าศากยวงศ์วงศ์ของผู้สามารถค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สักกะ
สักกะ
ศากยวงศ์
สักกะ
วงศ์
ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้ว่า"ดูกรท่านผู้มีอายุเมื่อใดอริยสาวกรู้ชัดซึ่งอกุศลและรากเง่าอกุศลรู้ชัดซึ่งกุศลและรากเง่าของกุศลแม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิมีความเห็นดำเนินไปตรงแล้วประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรมมาสู่พระสัทธรรมนี้ก็อกุศลเป็นไฉน?ได้แก่ฆ่าสัตว์ลักทรัพย์ประพฤติผิดในกามพูดเท็จพูดส่อเสียดพูดคำหยาบพูดเพ้อเจ้ออยากได้ของผู้อื่นปองร้ายเขาเห็นผิดอันนี้เรียกว่าอกุศลแต่ละอย่างๆรากเง่าของอกุศลเป็นไฉน?ได้แก่โลภะโทสะโมหะอันนี้เรียกว่ารากเง่าของอกุศลแต่ละอย่างๆกุศลเป็นไฉน?ได้แก่ความเว้นจากฆ่าสัตว์ลักทรัพย์ประพฤติผิดในกามพูดเท็จพูดส่อเสียดพูดคำหยาบพูดเพ้อเจ้อไม่อยากได้ของผู้อื่นไม่ปองร้ายเขาเห็นชอบอันนี้เรียกว่ากุศลแต่ละอย่างๆรากเง่าของกุศลเป็นไฉน?ได้แก่อโลภะอโทสะอโมหะอันนี้เรียกว่ารากเง่าของกุศลแต่ละอย่างๆดูกรท่านผู้มีอายุเมื่อใดอริยสาวกรู้ชัดซึ่งอกุศลและรากเง่าของอกุศลอย่างนี้ๆรู้ชัดซึ่งกุศลและรากเง่าของกุศลอย่างนี้ๆเมื่อนั้นท่านละราคานุสัยบรรเทาปฏิฆานุสัยถอนทิฏฐานุสัยและมานานุสัยว่าเรามีอยู่โดยประการทั้งปวงละอวิชชายังวิชชาให้เกิดย่อมกระทำที่สุดแห่งทุกข์ในปัจจุบันนี้เทียวแม้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้อริยสาวกชื่อว่าเป็นสัมมาทิฏฐิมีความเห็นดำเนินไปตรงแล้วประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในธรรมมาสู่พระสัทธรรมนี้"
สัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิ
ปรโตโมสะกับโยนิโสมนสิการ
รู้อกุศลกุศลและรากเง่า
ทำให้เป็นคนประมาทขาดสติเห็นแก่ตัวปฏิเสธบุญบาปปฏิเสธนรกสวรรค์ทำอะไรโดยไม่กลัวบาปกรรมมุ่งแต่หาความสุขในกามรมณ์เบียดเบียนแก่งแย่งกันและกันรบราฆ่าฟันกันเพื่อความเป็นใหญ่มีแต่จะคิดใช้ชีวิตให้คุ้มค่าก่อนที่จะตายไปค่ะ
อุจเฉททิฐิ
ชีวิตหลังความตาย
ตาย
ความตาย
แล้วสูญไม่กลัวบาปกรรม
ทำได้ด้วยการพูดเขียนหนังสือหรือแสดงกิริยาก็ได้เช่นเมื่อได้ยินเสียงย่ำฆ้องกลองที่วัดในตอนเย็นแสดงว่าพระท่านทำวัตรเย็นจบก็ยกมือขึ้นประนมไหว้เปล่งวาจาว่าสาธุเป็นการอนุโมทนาต่อพระสงฆ์ที่วัดหรือมีใครทำบุญแล้วมาบอกให้ทราบทราบแล้วยกมือขึ้นสาธุเป็นการอนุโมทนาบุญของเขาด้วยค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา
อนุโมทนา
ที่เป็นอนาสวะเป็นโลกุตระเป็นองค์มรรคฯ
?
อนาสวะ
ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีค่ะอุบาสกผู้เลิศทางด้านถวายทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีอนาถบิณฑิกเศรษฐี
๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ