| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีเป็นคนสร้างถวายพระสัมมาสัมพุทธเจ้าค่ะวัดเชตวันมหาวิหารวัดเชตวันมหาวิหารวัดเชตวันมหาวิหารอนาถบิณฑิกสร้าง

     ที่อุปสมบทไปแล้วพระองค์ก็ให้สึกเสียค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช),พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุปสมบทอุปสมบทญัตติจตุตถกรรมวาจาญัตติจตุตถกรรมวาจาให้สึกเสีย

     ทำใจหยุดใจนิ่งอย่างสบายสบายที่ศูนย์กลางกายค่ะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙พระรัตนตรัยพระรัตนตรัยพระรัตนตรัยศูนย์กลางกาย

     ทำไมถึงถือว่าเป็นเหรอคะนิพพานนิพพานนิพพานถือว่าเป็นนิพพานนี่เค้าถือว่าเป็นอะไรเหรอสถานะสงสัย

     ทราบไว้ได้เลยค่ะว่ามีเหตุมาจากการขาดสตินั่นเอง ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ การเผลออุทานคำหยาบ คำหยาบ ความเสียใจ คนไม่มีสติก็ไม่ต่างกับหมาบ้า

     ทั้งหน้าที่ในระดับส่วนตัวที่ต้องทำมาหาเงินเลี้ยงตัวเองและครอบครัวโดยสุจริตและหน้าที่ต่อส่วนรวมชุมชนไปจนถึงระดับประเทศเช่นไม่ทำตัวให้เป็นภาระต่อสังคมไม่เบียดเบียนสร้างความเดือดร้อนรําคาญให้ผู้อื่นประพฤติตัวอยู่ในศีลในธรรมมีน้ําใจช่วยเหลือเกื้อกูลปฏิบัติตนตามกฎหมายไปใช้สิทธ์ิออกเสียงเลือกตั้งเลือกคนดีมาทำหน้าที่แทนเป็นต้นย่ิงพวกที่มีตําแหน่งใหญ่โตระดับผู้บริหารราชการแผ่นดินเช่นนายกฯรัฐมนตรีปลัดกระทรวงผู้ว่าฯนายอําเภอผู้พิพากษาข้าราชการฯลฯที่มีโอกาสทำงานเพื่อนําพาประเทศไปสู่ความเจริญก้าวหน้าด้วยแล้วถ้าหากมัวแต่จะทำหน้าที่ส่วนตัวเพื่อหวังความร่ำรวยของตัวเองและครอบครัวเอาแต่กอบโกยโกงกินคอร์รัปชั่นโดยไม่ใส่ใจในหน้าที่อันสําคัญยิ่งใหญ่ที่มีต่อส่วนรวมก็จะก่อให้เกิดปัญหาความวุ่นวายขัดแย้งผลักไสประเทศชาติประชาชนไปสู่ความเสียหายล่มจมได้ค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ การทำหน้าที่ของตนเอง หน้าที่ หน้าที่ ธนาธิปไตย

     ทำบุญด้วยการช่วยขวนขวายรับใช้เช่นเห็นใครยกของหนักก็เข้าไปช่วยเหลือพาคนตาบอดข้ามถนนบอกทางให้คนหลงทางช่วยสร้างวัดโรงเรียนโรงพยาบาลถนนหนทางทำสาธารณประโยชน์ฯลฯ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการทำความเห็นให้ตรงเช่นเห็นว่าพ่อแม่เป็นผู้มีพระคุณบุญบาปมีจริงทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่วการเวียนว่ายตายเกิดโลกนี้โลกหน้ามีจริงเป็นต้น ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตัวมีสัมมาคารวะพูดจาสุภาพอ่อนหวานไพเราะน่าฟังค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการฟังธรรมศึกษาหาความรู้เช่นส่ิงที่กําลังทำอยู่เวลานี้ก็เป็นบุญเหมือนกันนะคะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่นหรือที่มักพูดกันว่าอนุโมทนานั่นแหละค่ะเมื่อรู้ว่าใครได้ทำความดีมาก็พลอยยินดีไปกับบุญกุศลที่เขาได้รับด้วย ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการรักษาศีลหรือประพฤติดีอะค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการส่ังสอนธรรมให้ความรู้ในทำนองเดียวกันส่ิงที่ได้แสดงให้อ่านนี้ก็จัดว่าเป็นบุญกับเค้าด้วยน้า~ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการเจริญภาวนามี๒อย่างคือสมถภาวนาฝึกอบรมจิตให้เกิดความสงบด้วยการนั่งสมาธิเดินจงกรมตามลมหายใจเข้าออกเป็นต้นวิปัสสนาภาวนาฝึกอบรมปัญญาให้ดกิดความรู้เข้าใจตามความเป็นจริงด้วยการมีสติรู้ตัวตลอดเวลากายเคลื่อนไหวก็รู้ใจรู้สึกอย่างไรก็รู้คิดเรื่องอะไรอยู่ก็รู้เป็นต้นค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการเฉลี่ยส่วนแห่งความดีให้ผู้อื่นเช่นเมื่อไปทำบุญทอดกฐินถวายเงินสร้างโบสถ์บริจาคสิ่งของเลี้ยงอาหารกลางวันเด็กฯลฯก็อุทิศส่วนกุศลให้ผู้มีพระคุณและผู้อื่นตลอดจนเจ้ากรรมนายเวรสรรพสัตว์ท้ังหลายเป็นต้น ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ทำบุญด้วยการให้ทรัพย์สินเงินทองนั้นเป็นเพียง๑ใน๑๐ของหนทางบุญที่มีให้เลือกมากมายเหลือเกินดังนั้นไม่เห็นต้องรวยก่อนแล้วค่อยทำก็ได้นี่ค่ะเพราะถ้าอ้างอย่างนั้นก็คงไม่ได้เริ่มทำบุญกันสักทีใช่ไหมล่ะคะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ รวยก่อนค่อยทำบุญ รวยก่อนค่อยทำบุญ ทำบุญ ไม่ได้ทำบุญสักที ถ้ารอให้รวยก่อนค่อยทำก็จะไม่ได้ทำซักทีใช่ไหม

     ทำบุญด้วยการให้ปันสิ่งของมีมากก็ให้มากมีน้อยก็ให้น้อยไม่มีทรัพย์สินเงินทองของมีค่าก็ให้อย่างอื่นแทนแล้วแต่ศรัทธาค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี

     ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดีนั้นมีมากมายถึง๑๐ทางบุญกิริยาวัตถุ๑๐เคยได้ยินมาก่อนไหมคะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ที่ตั้งแห่งการทำบุญหรือการทำความดี การทำบุญ บุญกิริยาวัตถุ บุญกิริยาวัตถุ เคยได้ยินบุญกิริยาวัตถุ๑๐มาก่อนไหม

     ที่ต้องออกอาการเช่นนั้นก็เพราะมันเป็นเรื่องยากสําหรับคนที่ไม่เคยฝึกเตรียมใจไว้ก่อนน่ะสิคะไม่เคยทำความเข้าใจในเรื่องของชีวิตว่าหลังจากเกิดแล้วก็ต้องมีแก่เจ็บและตายติดตามมาด้วยเสมอเหมือนเป็นโปรโมชั่นแพ็กเกจ๔อิน๑ไม่สามารถเลือกเฉพาะเกิดอย่างเดียวได้ค่ะแล้วก็ไม่เคยพยายามทำความเข้าใจเลยว่าทุกชีวิตทุกสรรพส่ิงล้วนต้องอยู่ภายใต้กฎไตรลักษณ์คืออนิจจังไม่เที่ยงไม่คงที่สภาพที่เกิดมีขึ้นแล้วก็ดับล่วงไปทุกขังสภาพที่ทนอยู่ได้ยากสภาพที่คงทนอยู่ไม่ได้เพราะถูกบีบค้ันด้วยความเกิดขึ้นและความดับสลายเน่ืองจากต้องเป็นไปตามเหตุปัจจัยที่ไม่ขึ้นต่อตัวมันเองและอนัตตาไม่ใช่ตัวใช่ตนเช่นเป็นของสูญเป็นสภาพหาเจ้าของมิได้ไม่เป็นของใครจริงไม่อยู่ในอํานาจไม่เป็นไปตามความปรารถนาไม่ขึ้นต่อการบังคับบัญชาของใครๆจึงไม่มีการเตรียมตัวเตรียมใจไว้ล่วงหน้าว่าจะต้องพบกับความไม่แน่นอนที่เปลี่ยนแปลงแปรผันไปได้ตลอดเวลาไม่วันใดก็วันหน่ึงเมื่อต้องประสบกับความสูญเสียผิดหวังในเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันขึ้นมาจริงๆจึงได้แต่หมกมุ่นครุ่นคิดแต่เรื่องในอดีตที่เคยมีเธอคนน้ันอยู่คิดถึงเรื่องอนาคตว่าเมื่อไม่มีเขาแล้วเราจะอยู่อย่างไรเมื่อไม่มีสมบัติทรัพย์สินเงินทองเหมือนเมื่อก่อนแล้วจะเดือดร้อนแค่ไหนเราอุตส่าห์หวังจะให้เป็นที่พ่ึงพาแต่กลับมาด่วนจากไปเสียก่อนทั้งคนทั้งของย่ิงคิดย่ิงเศร้าเมื่อเศร้าแล้วก็ย่ิงไม่มีสติปัญญาในการแก้ไขปัญหาหมดหนทางออกอะค่ะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ ความเสียใจ เสียใจ ความเสียใจ ไม่เคยเตรียมตัวเตรียมใจ

     ทุกๆผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับใครก็ตามไม่ว่าจะดีหรือร้ายเร็วหรือช้าล้วนเกี่ยวเนื่องมาจากการกระทำของเขาทั้งสิ้นซึ่งในทางพุทธศาสนาใช้คำว่าไม่มีเหตุบังเอิญนั่นเองไงล่ะคะ ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒ กฎแห่งกรรม กรรม กฎแห่งกรรม ไม่มีเหตุบังเอิญ

     ทุกขนิโรธคือความดับทุกข์ได้แก่ดับสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์กล่าวคือดับตัณหาทั้ง๓ได้อย่างสิ้นเชิงอริยสัจ_อริยสัจ๔ทุกขนิโรธทุกขนิโรธความดับทุกข์

     ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาคือแนวปฏิบัติที่นำไปสู่หรือนำไปถึงความดับทุกข์ได้แก่มรรคอันมีองค์ประกอบอยู่แปดประการคือ ๑สัมมาทิฏฐิความเห็นชอบ ๒สัมมาสังกัปปะความดำริชอบ ๓สัมมาวาจาเจรจาชอบ ๔สัมมากัมมันตะทำการงานชอบ ๕สัมมาอาชีวะเลี้ยงชีพชอบ ๖สัมมาวายามะพยายามชอบ ๗สัมมาสติระลึกชอบและ ๘สัมมาสมาธิตั้งใจชอบ ซึ่งรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งได้ว่ามัชฌิมาปฏิปทาหรือทางสายกลางค่ะอริยสัจ_ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา มรรค ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ทางสายกลาง

     ทุกขสมุทัยคือสาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์ได้แก่ตัณหา๓คือกามตัณหาความทะยานอยากในกามความอยากได้ทางกามารมณ์,ภวตัณหาความทะยานอยากในภพความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ความอยากที่ประกอบด้วยภวทิฏฐิหรือสัสสตทิฏฐิและวิภวตัณหาความทะยานอยากในความปราศจากภพความอยากไม่เป็นโน่นเป็นนี่ความอยากที่ประกอบด้วยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททิฏฐิค่ะอริยสัจ_อริยสัจ๔



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ