ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
นรกภูมิเปรตภูมิอสูรกายภูมิเดรัจฉานภูมิทุคติภูม
นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกาประมาณร้อยละ๗๐ของประชากรทั้งหมดและประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้แก่ไทยกัมพูชาลาวและพม่านิกายเถรวาทได้รับการนับถือเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนามโดยเฉพาะในมณฑลยูนนานเนปาลบังกลาเทศที่เขตจิตตะกองเวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชามาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศมีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นเชื้อสายไทยและสิงหลตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ๑๐๐ล้านคนนิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาทคือนิกายมหายานในปัจจุบันเถรวาทเถรวาทเถรวาทเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นวกรรมคือการก่อสร้างโดยปกติเป็นงานของชาวบ้านพระสงฆ์มีหน้าที่อำนวยการหรือควบคุมดูแลให้งานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยดังเช่นพระมหาโมคคัลคานะได้รับมอบหมายจากพระพุทธเจ้าให้เป็นผู้อำนวยการก่อสร้างบุพพารามของนางวิสาขาเรียกภิกษุผู้ทำหน้าที่นี้ว่านวกัมมัฏฐายี(ผู้อำนวยการก่อสร้าง)บ้างนวกัมมิกะ(ผู้ดูแลนวกรรม)บ้างนวการ(ผู้ก่อสร้าง)บ้างในทางพุทธศาสนานวกรรมหมายถึงงานสาธารณูปการคืองานที่เกี่ยวกับการก่อสร้างการบูรณะปฏิสังขรการดูแลจัดการวัดเรื่องเสนาสนะและถาวรวัตถุต่างๆภายในวัดรวมถึงการทำให้วัดสะอาดร่มรื่นเป็นต้นเรียกรวมว่างานนวกรรม
นวกรรม
นวกรรม
นวกรรม
การก่อสร้าง
นวกรรมแปลว่าการทำให้ใหม่คือการก่อสร้าง
นวกรรมแปลว่าอะไร
นวกรรม
นวกรรม
ทำให้ใหม่
นวกะพระวินัยใช้หมายถึงภิกษุที่มีพรรษายังไม่ครบ๕เป็นพระที่นับว่ายังเป็นผู้ใหม่จึงยังต้องอยู่ในความปกครองดูแลของพระอุปัชฌาย์ซึ่งพระวินัยเรียกว่ายังต้องถือนิสสัยอยู่พระนวกะมีระเบียบว่าจะต้องศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยเพื่อรักษาตนทุกรูปสำหรับพระนวกะผู้อยู่จำพรรษาแรกเจ้าอาวาสและเจ้าคณะผู้ปกครองจะจัดการเรียนการสอนให้เป็นพิเศษโดยเฉพาะก่อนออกพรรษาจัดให้มีการสอบด้วยเรียกว่าสอบชั้นนวกภูมิหรือสอบนวกภูมิ
นวกะ
นวกะ
นวกะ
ภิกษุพรรษาไม่ครบ๕
นวกะแปลว่าผู้ใหม่ผู้บวชใหม่พระใหม่เรียกว่าพระนวกะค่ะ
ความหมายของคำว่านวกะ
นวกะ
นวกะ
ผู้บวชใหม่
นวังคสัตถุศาสน์หมายถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดซึ่งแบ่งเป็นส่วนย่อยตามลักษณะที่เหมือนกันได้๙อย่างคือ๑สุตตะได้แก่พระสูตรต่างๆและวินัย๒เคยยะได้แก่พระสูตรที่มีคาถาผสม๓เวยยากรณะได้แก่ข้อความร้อยแก้วล้วนๆเช่นอภิธรรมปิฎก๔คาถาได้แก่ข้อความร้อยกรองที่เป็นคาถาล้วนๆเช่นธรรมบทเถรคาถา๕อุทานได้แก่ข้อความที่เป็นพุทธอุทาน๖อิติวุตตกะได้แก่ข้อความที่ตรัสอุเทศแล้วแสดงนิเทศจบลงด้วยบทสรุป(นิคม)๗ชาตกะได้แก่ชาดกทั้งหมด๘อัพภูติธรรมได้แก่พระสูตรว่าด้วยเรื่องอรรศจรรย์ต่างๆ๙เวทัลละได้แก่ข้อความที่ถามตอบกันไปมาดังนั้นนวังคสัตถุศาสน์จึงหมายถึงพระพุทธพจน์หรือพระธรรมวินัยก็ได้
นวังคสัตถุศาสน์
นวังคสัตถุศาสน์
นวังคสัตถุศาสน์
คำสอนพระพุทธเจ้าลักษณะ๙อย่าง
นวังคสัตถุศาสน์อ่านว่านะวังค่ะสัดถุสาดแปลว่าคำสอนของพระศาสดามีองค์๙
นวังคสัตถุศาสน์แปลว่าอะไร
นวังคสัตถุศาสน์
นวังคสัตถุศาสน์
คำสอนของพระศาสดา
นวโกวาทเป็นชื่อหนังสือที่เป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสวัดบวรนิเวศวิหารเป็นหนังสือที่ประมวลหัวข้อธรรมจากพระไตรปิฎกสำหรับสั่งสอนอบรมและศึกษาเล่าเรียนของพระนวกะโดยเฉพาะผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ง่ายต่อมาใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรีหนังสือนวโกวาทมี๓ส่วนส่วนต้นเป็นวินัยบัญญัติหรือศีลของภิกษุส่วนกลางเป็นธรรมวิภาคคือธรรมที่ต้องแยกคัดจัดไว้เป็นหมวดหมู่เช่นธรรมที่มี๒ข้อย่อยรวมไว้หมวดหนึ่งมี๓ข้อย่อยรวมไว้หมวดหนึ่งเป็นต้นและส่วนหลังเป็นคิหิปฏิบัติคือหลักปฏิบัติและหลักควรเว้นสำหรับคฤหัสถ์หรือชาวบ้านทั่วไปเช่นอบายมุขเป็นต้นหนังสือเล่มนี้เป็นนิยมใช้กันมากในวงการนักศึกษาพระธรรมวินัยตลอดพระราชอาณาจักรและเหมาะสำหรับทุกครอบครัวที่จะมีไว้เพื่อการศึกษา
นวโกวาท
นวโกวาท
นวโกวาท
หนังสือของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า
นวโกวาทแปลว่าคำสั่งสอนพระใหม่หรือพระบวชใหม่
ความหมายของคำว่านวโกวาท
นวโกวาท
นวโกวาท
คำสอนพระใหม่
นันทวนุทยานหรือสวนนันทวันแปลว่าสวนที่รื่นรมย์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในสวนด้านที่ใกล้กับตัวเมืองมีสระใหญ่๒สระสระหนึ่งมีชื่อว่าสระนันทาโบกขรณีอีกสระหนึ่งมีชื่อว่าจุลนันทาโบกขรณีมีแผ่นศิลา๒แผ่นแผ่นหนึ่งมีชื่อว่านันทาปริถิปาสาณอีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่าจุลนันทาปริถิปาสาณเป็นศิลาที่มีรัศมีเรืองรองเมื่อจับดูจะรู้สึกว่านิ่มเหมือนขนสัตว์
อุทยานบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
นันทวนุทยาน
นันทวนุทยาน
สวนที่รื่นรมย์
นิกายนิยมใช้ใน๒ความหมายคือความหมายหนึ่งเป็นชื่อเรียกคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกที่แยกออกเป็น๕หมวดคือฑีฆนิกายมัชฌิมนิกายสังยุตตนิกายอังคุตตรนิกายและขุททกนิกายอีกความหมายหนึ่งเป็นชื่อเรียกคณะนักบวชในศาสนาเดียวกันแต่แยกไปเป็นพวกๆตามความเห็นที่ไม่ตรงกันซึ่งมีในทุกศาสนาในพุทธศาสนาก็อย่างมหานิกายกับธรรมยุตินิกายทักษิณนิกายกับอุตรนิกาย
นิกาย
นิกาย
นิกาย
คณะนักบวชในศาสนา
นิกายแปลว่าหมวดหมู่พวกค่ะ
นิกาย
นิกาย
นิกาย
หมวดหมู่พวก
นิคหกรรมที่ระบุไว้ในพระธรรมวินัยมี๖วิธีคือ๑ตัชนียกรรมข่มไว้ด้วยการตำหนิโทษ๒นิยสกรรมถอดยศทำให้หมดอำนาจหน้าที่๓ปัพพาชนียกรรมขับไล่ออกจากหมู่คณะให้สึก๔ปฏิสารณียกรรมบังคับให้ขอขมาเมื่อล่วงเกินคฤหัสถ์๕อุกเขปนียกรรมตัดสิทธิ์ที่จะพึงได้บางอย่าง๖ตัสสาปาปิยสิกากรรมลงโทษหนักกว่าความผิดฐานให้การกลับไปกลับมา
นิคหกรรม
นิคหกรรม
๖วิธี
นิคหกรรม
นิคหกรรมอ่านว่านิกค่ะหะกำแปลว่าการข่ม
ความหมายของนิคหกรรม
นิคหกรรม
การข่ม
นิคหกรรม
นิตยภัตอ่านว่านิดตะยะพัดแปลว่าอาหารประจำ
นิตยภัตแปลว่าอะไร
นิตยภัต
อาหารประจำ
นิพพิทาหมายถึงความเบื่อหน่ายในกองทุกข์คือเบื่อหน่ายคลายความกำหนัดยินดีในสังขารด้วยการรู้แจ้งเห็นจริงว่าเป็นสิ่งน่าเบื่อเป็นอนิจจังทุกขังอนัตตาไม่น่ายึดมั่นถือมั่นเป็นความเบื่อหน่ายด้วยปัญญาเบื่อหน่ายถาวรและเกิดขึ้นในทุกสังขารความเบื่อหน่ายธรรมดาความเบื่อหน่ายในสิ่งที่ไม่ชอบเช่นคนป่วยเบื่อหน่ายอาหารภรรยาเบื่อหน่ายสามีที่มีชู้ครูเบื่อหน่ายนักเรียนเกเรไม่จัดเป็นนิพพิทาเพราะไม่เป็นการเบื่อหน่ายแบบถาวรแต่เป็นประเภทเบื่อๆอยากๆนิพพิทาจัดเป็นนิพพิทาญาณคือความหยั่งรู้ด้วยค้วยความเป็นจริงในสังขารด้วยความเบื่อหน่ายเป็นทางให้เกิดวิสุทธิมรรคผลนิพพาน
นิพพิทา
นิพพิทา
ความเบื่อหน่ายในกองทุกข์
นิพพิทา
นิพพิทาแปลว่าความเบื่อหน่าย
นิพพิทาแปลว่าอะไร
นิพพิทา
ความเบื่อหน่าย
นิพพิทา
นิมนต์ใช้ในความหมายว่าเชิญหรือเชื้อเชิญภิกษุสามเณรเช่นนิมนต์มาทางนี้เถิดครับหมายความว่าขอเชิญมาทางนี้และเรียกการเชิญด้วยหนังสือว่าฎีกานิมนต์นิมนต์เป็นคำที่ใช้แทนคำว่าอาราธนาก็ได้แต่ไม่นิยมใช้คู่กันเป็นอาราธนานิมนต์กล่าวคือนิยมใช้คำใดคำหนึ่งเท่านั้นก็เป็นอันเข้าใจเพราะมีความหมายอย่างเดียวกันอย่างเช่นที่ใช้คำว่าขออาราธนาพระคุณเจ้าที่ได้รับอาราธนานิมนต์ไว้ขึ้นมาบนศาลาเพื่อฉันภัตตาหารเพลได้แล้วขอรับอย่างนี้ถือว่าใช้ไม่ถูกต้องตามความนิยม
นิมนต์
นิมนต์
เชื้อเชิญ
นิมนต์
นิมิตหมายถึงวัตถุที่เป็นเครื่องหมายบอกกำหนดเขตหรือแดนแห่งสีมาเป็นเครื่องหมายบอกเขตสีมาที่พระวินัยกำหนดให้ใช้ได้มี๘อย่างคือภูเขาศิลาป่าไม้ต้นไม้จอมปลวกหนทางแม่น้ำน้ำแต่ที่นิยมกันมากที่สุดคือใช้ศิลาหรือหินเป็นนิมิตนิมิตที่เป็นศิลาหรือสกัดศิลาให้มีลักษณะกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ๓๐ถึง๓๘เซนติเมตรเรียกว่าลูกนิมิตแต่ละสีมาจะใช้ลูกก่อนทำสังฆกรรมผูกสีมานิยมจัดงานกันเอิกเกริกโดยถือกันว่าเป็นงานบุญใหญ่เรียกว่างานปิดทองลูกนิมิตเมื่อทำพิธีตามพระวินัยเสร็จแล้วจะฝังศิลานิมิตนั้นลงไปในดินแล้วสร้างซุ้มครอบไว้ข้างบนโดยมีใบสีมาเป็นเครื่องหมายแทน
ลูกนิมิต
ลูกนิมิต
เครื่องหมายแดนแห่งสีมา
ลูกนิมิต
นัยหนึ่งคำนี้หมายถึงเป็นคำเรียกก้อนข้าวที่ชาวบ้านใส่ลงในภาชนะที่รองรับเช่นบาตรของพระภิกษุในคำวัดหมายถึงอาหารสำหรับถวายพระซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งใน๔สำหรับพระสงฆ์จะถวายโดยใส่บาตรหรือใส่ภาชนะอื่นใดก็เรียกเหมือนกันหมายถึงการที่ภิกษุสามเณรไปรับอาหารที่เขาถวายโดยบาตรก็ได้เช่นใช้ว่า"พระออกไปบิณฑบาตกันแต่เช้ายังไม่กลับจากบิณฑบาตเลย"หมายถึงการที่พระสงฆ์ขอร้องมิให้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้บิณฑบาตมักเขียนผิดเป็นบิณฑบาตรโดยอาจเข้าใจว่าเป็นคำเดียวกับบาตรซึ่งออกเสียงเหมือนกันพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘บิณฑบาตบิณฑบาตคืออะไร
นางชีหรือแม่ชีเป็นนักพรตหญิงในศาสนาพุทธฝ่ายเถรวาทนุ่งขาวห่มขาวโกนศีรษะอาศัยในวัดเช่นเดียวกับภิกษุแต่มิได้อุปสมบทบางแห่งจึงถือว่าแม่ชีไม่ใช่นักบวชแต่เป็นอุบาสิกาในพุทธบริษัทสี่เท่านั้นอย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการก่อตั้งสำนักชีโดยเฉพาะเพื่อจะได้ไม่ปะปนกับพระภิกษุซึ่งเป็นเพศชาย
แม่ชี
แม่ชี
นครสาคละเมืองสาคละหรือสาคลเป็นเมืองหลวงของแคว้นมัจฉะเมืองนี้เป็นต้นกำเนิดตำนานมิลินทปัญหาค่ะ
สาคละ
สาคละ
สาคละ
เมืองสาคละ
แคว้นมัจฉะ
๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ