ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ประคดมี๒แบบคือประคดแผ่นและประคดใส้สุกรพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ประคดประคดมีกี่แบบ
ปริตรปะริดหรือในภาษาบาลีปริตฺตปะริดตะแปลว่าความต้านทานเครื่องป้องกันรักษาเครื่องต้านทานเครื่องป้องกันรักษารวมหมายถึงเครื่องรางของขลังของที่ช่วยบรรเทาวิธีป้องกันรักษาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริตรปริตรแปลว่าอะไร
ปริพาชกปกติใช้เรียกนักบวชนอกพระพุทธศาสนาเท่านั้นเช่นสัญชัยปริพาชกสุปปิยปริพาชกไม่ใช้เรียกเรียกภิกษุในพระพุทธศาสนาพระสาวกสาวิกาของพระพุทธเจ้าที่เคยบวชเป็นปริพาชกปริพาชิกามาก่อนมีจำนวนมากที่สำคัญเช่นพระสารีบุตรพระโมคคัลลานะพระกุณฑลเกสีเถรีพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริพาชกปริพาชกคืออะไร
ปริพาชกแปลว่าผู้ท่องเที่ยวไป,ผู้จาริกไปหมายถึงนักบวชหรือนักพรตผู้ถือการท่องเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆปริพาชกใช้เรียกนักบวชชายหากเป็นนักบวชหญิงใช้ว่าปริพาชิกาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริพาชกปริพาชกแปลว่าอะไร
ปริมณฑลในคำวัดหมายถึงความเรียบร้อย,ความสวยงาม,ความเป็นระเบียบพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริมณฑล_(ศาสนาพุทธ)ปริมณฑลแปลว่าอะไร
ปริยัติธรรมอ่านว่าปะริยัดติทำหมายถึงธรรมที่พึงศึกษาเล่าเรียนได้แก่พระพุทธพจน์หรือพระไตรปิฎกเรียกเต็มว่าพระปริยัติธรรมพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริยัติธรรมปริยัติธรรมแปลว่าอะไร
ปริยัติธรรมหรือพระพุทธพจน์ที่พึงศึกษาเล่าเรียนนั้นมี๙อย่างคือสุตตะเคยยะเวยยากรณะคาถาอุทานอิติวุตตกะชาตกะอัพภูตธัมมะเวทัลละเรียกอีกอย่างหนึ่งว่านวังคสัตถุศาสน์คำสอนของพระศาสดา๙ประเภทการศึกษาเล่าเรียนปริยัติธรรมทั้งอย่างนี้ของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบันเรียกว่าเรียนนักธรรมเรียนบาลีและแบ่งปริยัติธรรมออกเป็นคือพระปริยัติธรรมแผนกธรรมพระปริยัติธรรมแผนกบาลีพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริยัติธรรมปริยัติธรรมคืออะไร
ปริสัญญุตาเป็นผู้รู้จักบริษัทคือรู้จักชุมชนและรู้จักที่ประชุมรู้กิริยาที่จะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆว่าชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหาจะต้องทำกิริยาอย่างนี้จะต้องพูดอย่างนี้ชุมชนนี้ควรสงเคราะห์อย่างนี้เป็นต้น"ก็ภิกษุเป็นปริสัญญูอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมรู้จักบริษัทว่านี้บริษัทกษัตริย์นี้บริษัทคฤหบดีนี้บริษัทสมณะในบริษัทนั้นเราพึงเข้าไปหาอย่างนี้พึงยืนอย่างนี้พึงทำอย่างนี้พึงนั่งอย่างนี้พึงนิ่งอย่างนี้"ธัมมัญญูสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๒๓สัปปุริสธรรมปริสัญญู
ปรโตโฆสะมี๒ประเภทคือที่เป็นจริงมีเหตุผลเป็นประโยชน์ประกอบด้วยความหวังดีและที่เป็นเท็จไม่มีเหตุผลไม่เป็นประโยชน์มุ่งทำลายพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปรโตโฆสะปรโตโฆสะ
ปรโตโฆสะแปลว่าเสียงจากผู้อื่นหมายรวมถึงคำพูดคำแนะนำคำชี้แจงคำโฆษณากระแสข่าวข้อเขียนบทความจากบุคคลหรือแหล่งข่าวต่างๆพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปรโตโฆสะปรโตโฆสะ
ปัจจัยสันนิสิตศีลหมายถึงศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่คือการพิจารณาใช้สอยปัจจัยให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้นไม่บริโภคด้วยตัณหาเช่นไม่บริโภคด้วยความอยากรับประทานไม่บริโภคด้วยความอยากอยากใช้สอยปัจจัยสันนิสิตศีล
ปัจจุธรณ์เป็นภาษาพระวินัยคือมีธรรมเนียมว่าเมื่อพระภิกษุได้ผ้าใหม่มาตั้งใจจะใช้สอยเป็นผ้าชนิดใดเช่นเป็นสบงเป็นจีวรเป็นต้นก็อธิษฐานตั้งใจกำหนดให้เป็นผ้าชนิดนั้นแล้วใช้สอยเมื่อต้องการจะเลิกใช้หรือเปลี่ยนใหม่ก็ต้องเลิกด้วยการถอนคืนอธิษฐานผ้านั้นมิให้เป็นผ้าครองตนก่อนเรียกการถอนคืนเช่นนั้นว่าปัจจุธรณ์ปัจจุธรณ์มีคำสำหรับกล่าวถอนตามพระวินัยโดยเฉพาะเมื่อกล่าวถอนแล้วผ้านั้นก็หมดสภาพจากการเป็นผ้าอธิษฐานหรือผ้าครองและต้องอธิษฐานผืนอื่นใช้แทนต่อไปพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัจจุธรณ์ปัจจุธรณ์คืออะไร
ปัจจุธรณ์แปลว่าถอนคืนการถอนคืนใช้คู่กับคำว่าอธิษฐานที่แปลว่าการตั้งใจไว้การผูกใจไว้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัจจุธรณ์ปัจจุธรณ์แปลว่าอะไร
ปัจเจกพุทธเจ้าอ่านว่าปัดเจกกะพุดทะเจ้าคือพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้เฉพาะตัวมิได้สั่งสอนผู้อื่นที่เรียกดังนี้เพราะเมื่อได้ตรัสรู้แล้วเกิดอัปโปสุกกธรรมคือไม่ขวนขวายที่จะแสดงธรรมยินดีอยู่วิเวกตามลำพังจึงประจำอยู่แต่ในป่านานๆจึงจะเข้าเมืองเพื่อบิณฑบาตสักครั้งปัจเจกพุทธเจ้ามีเป็นจำนวนมากดังเช่นบางตำนานว่าท่านอยู่กันที่ภูเขาคันธมาทน์ประมาณ๕๐๐รูปเพราะไม่ปรากฏตัวต่อสาธารณะบ่อยนักและไม่แสดงธรรมพระปัจเจกพุทธเจ้าจึงไม่ปรากฏชื่อไปด้วยพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปัจเจกพุทธเจ้าพระปัจเจกพุทธเจ้า
ปัญจวัคคีย์แปลว่านักบวชที่เป็นพวกกัน๕ท่านเป็นนักบวชที่ปรากฏอยู่ในศาสนาพุทธในฐานะภิกษุชุดแรกที่เข้ามาบวชเป็นสาวกพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์นักบวชที่เป็นพวกกัน๕ท่าน
ปัญญาคือรู้ทั่วถึงเหตุถึงผลรู้อย่างชัดเจนรู้เรื่องบาปบุญคุณโทษรู้สิ่งที่ควรทำควรเว้นเป็นต้นเป็นธรรมที่คอยกำกับศรัทธาเพื่อให้เชื่อประกอบด้วยเหตุผลไม่ให้หลงเชื่ออย่างงมงายพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญาปัญญา
ปัญญาทำให้เกิดได้๓วิธีคือโดยการสดับตรับฟังการศึกษาเล่าเรียนสุตมยปัญญาโดยการคิดค้นการตรึกตรองจินตามยปัญญาโดยการอบรมจิตการเจริญภาวนาภาวนามยปัญญาปัญญาที่เป็นระดับอธิปัญญาคือปัญญาอย่างสูงจัดเป็นสิกขาข้อหนึ่งในสิกขา๓หรือไตรสิกขาคืออธิศีลอธิสมาธิอธิปัญญาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญาปัญญา
ปัญญาแปลว่าความรู้ทั่วคะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญาปัญญาปัญญาปัญญาความรู้ทั่ว
ปัญญา๓ประกอบด้วย๑สุตมยปัญญาโดยการสดับตรับฟังการศึกษาเล่าเรียน๒จินตามยปัญญาโดยการคิดค้นการตรึกตรอง๓ภาวนามยปัญญาโดยการอบรมจิตการเจริญภาวนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญาปัญญา๓ประกอบด้วยอะไรบ้าง
ปัญญาสชาดกเป็นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรื่องเอกที่พระเถระนักปราชญ์ชาวเชียงใหม่ได้รวบรวมเรื่องราวปรัมปราที่เป็นนิทานพื้นถิ่นแพร่หลายในยุคนั้นแล้วนำมารจนาเป็นชาดกขึ้นในระหว่างปีพศ๒๐๐๐ถึง๒๒๐๐โดยเขียนไว้ด้วยภาษาบาลีมีทั้งคำประพันธ์ที่เป็นร้อยแก้วและบทคาถาหรือบทร้อยกรองทั้งสิ้น๕๐ชาดกโครงสร้างของปัญญาสชาดกมีลักษณะเลียนแบบนิบาตชาดกหรืออรรถกถาชาดกที่พระสงฆ์ชาวลังกาประพันธ์ไว้อันประกอบด้วยปัจจุบันวัตถุอดีตนิทานบทคาถาภาษิตและสโมธานหรือประชุมชาดกปัญญาสชาดกปัญญาสชาดก
ปัฏนาเป็นเมืองหลวงของรัฐพิหารรัฐหนึ่งในประเทศอินเดียเป็นเมืองเก่าแก่ที่ยังมีผู้อาศัยอยู่ต่อเนื่องยาวนานที่สุดแห่งหนึ่งของโลกโดยเมื่อ๒,๕๐๐ปีก่อนในสมัยพุทธกาลเมืองแห่งนี้เป็นเพียงหมู่บ้านเล็กๆในแคว้นมคธที่ตั้งโดยพระเจ้าอชาตศัตรูเพื่อเป็นเมืองหน้าด่านสำหรับการเตรียมทำสงครามกับแคว้นวัชชีหลังจากพุทธกาลเมืองนี้มีความสำคัญเพราะได้กลายเป็นเมืองหลวงของแคว้นมคธและมีพระมหากษัตริย์ดำรงตำแหน่งพระจักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของอินเดียคือพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองทรงอุปถัมภ์การทำตติยสังคายนาณอโศการามโดยให้เมืองปัฏนาหรือปาตลีบุตรตามที่เรียกกันในสมัยนั้นเป็นศูนย์กลางในการส่งสมณทูตออกเผยแพร่พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนอื่นๆทั่วโลกซึ่งรวมถึงสุวรรณภูมิหรือดินแดนที่ตั้งประเทศไทยในปัจจุบันด้วยปัจจุบันเมืองแห่งนี้ยังคงเป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของรัฐพิหารหรือแคว้นมคธในสมัยโบราณมีพื้นที่เมืองประมาณ๒๕ตารางกิโลเมตรและมีประชากรมากกว่า๑ล้าน๘แสนคนโดยประมาณปัฏนาปัฏนา
ปัณรสีคือวัน๑๕ค่ำใช้เรียกทั้งข้างขึ้นและข้างแรมเรียกเต็มว่าปัณรสีดิถีปกติใช้ในการประกาศองค์อุโบสถในวันพระซึ่งหัวหน้าอุบาสกหรืออุบาสิกาจะประกาศก่อนที่จะรับศีลอุโบสถจากพระว่าขอประกาศเริ่มเรื่องความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถอันพร้อมไปด้วยองค์แปดประการให้สาธุชนที่ได้ตั้งจิตสมาทานทราบทั่วกันก่อนแต่สมาทานณบัดนี้ด้วยวันนี้เป็นปัณรสีดิถีที่สิบห้าแห่งกาฬปักษ์มาถึงแล้วก็แหละวันเช่นนี้เป็นกาลที่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแต่งตั้งไว้ให้ประชุมกันฟังธรรมและเป็นกาลที่จะรักษาอุโบสถของอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายนอกจากนี้คำว่าคืนวันปัณรสียังสามารถใช้ได้กับวันออกพรรษาได้อีกด้วยถ้าเป็นวัน๘ค่ำใช้ว่าวันอัฐมีวัน๑๔ค่ำใช้ว่าวันจาตุทสีค่ะวันปัณรสีวันปัณรสี
ปัณรสีแปลว่าดิถีเป็นที่เต็ม๑๕วันวันปัณรสีวันปัณรสี
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ