ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
พระภิกษุสงฆ์มหานิกายในประเทศไทยมีการครองผ้าจีวรหลายประเภทเช่นห่มดองห่มลดไหล่หรือห่มเฉวียงบ่าซึ่งห่มเวลาลงสังฆกรรมห่มคลุมเวลาออกนอกอารามและห่มมังกรมหานิกาย
การครองจีวร
การครองจีวร
การครองจีวร
หลายประเภท
พักอยู่ค่ะวันเข้าพรรษา
จำ
จำ
จำ
พักอยู่
พุทธิจริตหนักไปทางใช้ปัญญาเจ้าปัญญาเจ้าความคิดมีความฉลาดมีปฏิภาณไหวพริบการคิดการอ่านความทรงจำดีถือหลักการอนุรักษนิยมชอบสั่งสอนคนอื่น
พุทธิจริต
จริต
พุทธิจริต
เจ้าความคิด
พระพากุลเถระท่านมาโปรดเมตตาหลวงปู่ชอบท่านแหละค่ะ
เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑
ธุดงควัตร
ธุดงค์
ธุดงควัตร
พระพากุลเถระหลวงปู่ชอบ
พระปริตรในพระไตรปิฎกมงคลสูตรรตนสูตรกรณียเมตตสูตรฉัททันตปริตร,ขันธปริตรโมรปริตรวัฏฏกปริตรธชัคคปริตรอาฏานาฏิยปริตรองคุลิมาลปริตรโพชฌังคปริตรอภยปริตรชยปริตรพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริตรพระปริตรในพระไตรปิฎก
พระพุทธองค์มีพุทธานุญาตให้สวดปาติโมกข์ย่อได้เมื่อมีเหตุจำเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งคือไม่มีภิกษุจำปาติโมกข์ได้จนจบเกิดเหตุฉุกเฉินขัดข้องที่เรียกว่าอันตรายอย่างใดอย่างหนึ่งในอันตรายทั้งสิบค่ะปาติโมกข์ปาติโมกข์ปาติโมกข์ปาติโมกข์อันตรายทั้งสิบ
พระพุทธเจ้าได้เสด็จผ่านเมืองแห่งนี้เพื่อไปยังสาลวโนทยานเมืองกุสินาราโดยได้แวะพักที่ป่ามะม่วงของนายจุนทะและรับฉลองศรัทธาด้วยสุกรมัทวะตามรับสั่งของพระองค์เป็นพระกระยาหารมื้อสุดท้ายหลังจากพระองค์เสร็จภัตตกิจพระองค์ได้ประชวรลงปักขันธิกาพาธอย่างหนักทรงสั่งให้นายจุนทะนำสุกรมัทวะไปฝังไว้ณบ่อน้ำซึ่งบ่อนี้ยังปรากฏมาจนปัจจุบันหลังจากอนุโมทนาทานแล้วได้เสด็จไปยังเมืองกุสินาราโดยแวะที่กกุธารนทีระหว่างทางหลังพุทธปรินิพพานเมืองปาวาได้รับส่วนแบ่ง๑ใน๘ส่วนแห่งพระบรมสารีริกธาตุจากโทณพราหมณ์ด้วยโดยปรากฏสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุอยู่จนปัจจุบันนี้แต่พระบรมสารีริกธาตุได้ถูกพระเจ้าอโศกอัญเชิญไปประดิษฐานในที่อื่นแล้วปัจจุบันนอกจากสถูปพระบรมสารีริกธาตุแล้วยังมีจุนทะสถูปสถานที่เสยพระกระยาหารครั้งสุดท้ายของพระพุทธองค์ด้วยโดยใกล้ๆกับสถูปมีบ่อน้ำโบราณซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นบ่อเดียวกันกับบ่อที่ฝังพระกระยาหารมื้อสุดท้ายของพระพุทธเจ้าปาวาความสำคัญของเมืองปาวา
พระราชาเสด็จมาโจรมาปล้นไฟไหม้น้ำหลากมาคนมามากผีเข้าภิกษุสัตว์ร้ายเข้ามางูร้ายเลื้อยเข้ามาภิกษุอาพาธหนักจะถึงเสียชีวิตสุดท้ายมีอันตรายแก่พรหมจรรย์ค่ะปาติโมกข์ปาติโมกข์
พยาธิทุกข์ทุกข์จากความป่วยไข้ค่ะวิริยะพยาธิทุกข์พยาธิทุกข์พยาธิทุกข์
พระธรรมจาริกมีความหมายเดียวเช่นเดียวกันกับพระธรรมทูตแต่เป็นคำบัญญัติที่เกิดที่หลังคำว่าพระธรรมทูตพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พระธรรมทูตพระธรรมจาริกพระธรรมจาริกพระธรรมจาริกพระธรรมทูต
พระธรรมทูตอ่านว่าทำมะทูดพระธรรมจาริกหมายถึงภิกษุที่เดินทางไปแสดงธรรมในที่ต่างๆทำหน้าที่เหมือนทูตทางธรรมหรือทูตของพระศาสนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พระธรรมทูตพระธรรมทูตพระธรรมทูตพระธรรมทูตพระที่เดินทางไปแสดงธรรม
พระธรรมทูตเริ่มมีครั้งแรกเมื่อพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมจนมีพระสาวกมากรูปแล้วจึงส่งพระสาวกเหล่านั้นไปประกาศธรรมในทิศต่างๆโดยตรัสว่า"เธอทั้งหลายจงจาริกไปเพื่อประโยชน์สุขแก่ประชุมชนเพื่ออนุเคราะห์แก่ประชุมชน"ดังนี้เป็นต้นปัจจุบันแบ่งพระธรรมทูตออกเป็น๒ประเภทคือพระธรรมทูตในประเทศกับพระธรรมทูตต่างประเทศพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พระธรรมทูตพระธรรมทูตพระธรรมทูตพระธรรมทูตเพื่อประโยชน์สุขแก่ประชุมชน
พระพุทธอุทานหรือพุทธอุทานคือคำอุทานของพระพุทธเจ้าที่เปล่งออกจากพระโอษฐ์ด้วยความปีติโสมนัสด้วยมหากิริยาจิตจิตที่ไม่ประกอบด้วยกิเลสทั้งกุศลและอกุศลพระพุทธเจ้าทรงเปล่งพระพุทธอุทานหลายครั้งตลอดพระชนมชีพของพระองค์ซึ่งบางครั้งเป็นบทประพันธ์คาถาบางครั้งเป็นคำตรัสร้อยแก้วแบบธรรมดาซึ่งคาถาอุทานที่พระองค์ตรัสไว้มีจำนวนมากต่างกรรมต่างวาระกันทำให้การปฐมสังคายนาพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้าหลังพุทธปรินิพพานต้องมีการแยกหมวดหมู่สำหรับรวบรวมพระพุทธพจน์ที่เป็นพระพุทธอุทานไว้โดยเฉพาะพระพุทธอุทานพระพุทธอุทานพระพุทธอุทานพระพุทธอุทานคำอุทานของพระพุทธเจ้า
พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ขยันหาทรัพย์และให้ประหยัดในการใช้ทรัพย์พร้อมทั้งสอนให้ออมทรัพย์ด้วยแหละค่ะส่วนประเด็นให้อยู่อย่างพอเพียงนั้นพระพุทธเจ้าได้ทรงสอนให้ปฏิบัติตามหลักสันโดษ๓ประการคือ
๑ยถาลาภสันโดษคือให้ยินดีในสิ่งที่ตนได้มาโดยชอบธรรมด้วยความรู้ความสามารถของเป็นการป้องกันไม่ให้อยากได้ในสิ่งที่ไม่ใช่ของอันเป็นต้นเหตของการทุจริตคอร์รัปชันอย่างที่เกิดขึ้นให้เห็นเยอะแยะมากมายตั้งแต่การลักเล็กขโมยน้อยไปจนถึงการทุจริตระดับชาติค่ะ
๒ยถาพลสันโดษคือยินดีในสิ่งที่ความรู้ความสามารถของหามาได้และไม่ทำเกินกำลังของเองเช่นมีกำลังเงินน้อยก็ลงทุนแต่น้อยมีกำลังกายน้อยก็ทำแค่พอกำลังของไม่ควรทำอะไรเกินกำลังของเองจะเป็นเหตุให้เดือดร้อนได้เช่นการลงทุนเกินกำลังทรัพย์ด้วยการยืมจากคนอื่นเมื่อขาดทุนไม่มีเงินใช้หนี้ต้องถูกฟ้องร้องถึงกับต้องล้มละลายอะไรอย่างเนี้ยค่ะ
๓ยถาสารุปปสันโดษคือยินดีในสิ่งที่เหมาะสมกับสถานะทางเศรษฐกิจและสถานะทางสังคมของเองเช่นใช้เครื่องมือเครื่องใช้เครื่องประดับสอดคล้องกับรายได้และเพศภาวะตลอดถึงเหมาะแก่สถานะทางสังคมของเองเป็นต้นตัวอย่างเช่นคนไม่ค่อยมีก็ควรใช้ของที่เห็นแล้วไม่เป็นที่ดูหมิ่นดูแคลนว่าไม่มีแล้วยังไม่เจียมตัวค่ะ
สามารถมังสัง
ความพอเพียง
พอเพียง
ความพอเพียง
สันโดษ
พระมหาเป็นคำสมณศักดิ์ใช้นำหน้าชื่อพระภิกษุที่สอบไล่ได้ตั้งแต่เปรียญธรรม๓ประโยคขึ้นไปโดยคำมหามาจากศัพท์ในภาษาบาลีคือมหนฺตลดรูปเป็นมหาในสมัยพุทธกาลใช้นำหน้าพระเถระผู้มีร่างกายสูงใหญ่ในสมัยพุทธกาลเช่นพระมหากัสสปเถระพระมหาโมคคัลลานะและใช้เรียกนำหน้ายกย่องพระเถระผู้เป็นที่น่าเคารพนับถือว่าพระมหาเถระแปลว่าพระเถระผู้ใหญ่โดยคำว่าพระมหาสันนิษฐานว่ากร่อนมาจากคำว่าพระมหาชาติที่ชาวพุทธใช้เรียกพระผู้ทรงภูมิบาลีแตกฉานจนสามารถเทศนาพระมหาชาติเวสสันดรชาดกได้และต่อมาพระมหากษัตริย์จึงใช้คำนี้แต่งตั้งพระผู้ทรงภูมิบาลีให้ดำรงสมณศักดิ์ที่พระมหาหรือพระมหาชาติเพื่อเป็นการส่งเสริมการศึกษาภาษาบาลีเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนามาแต่โบราณพระมหากษัตริย์ไทยแต่โบราณถวายพัดยศสมณศักดิ์สายเปรียญธรรมหรือพัดยศมหาเปรียญแก่พระสงฆ์โดยยกย่องถวายคำว่ามหาเพื่อใช้นำหน้าพระภิกษุผู้สอบไล่ได้ประโยคบาลีเพื่อเป็นการถวายกำลังใจแก่พระสงฆ์ผู้สนใจเล่าเรียนศึกษาและมีความรู้สอบไล่ได้สายเปรียญธรรมบาลีตั้งแต่ชั้นเปรียญตรีขึ้นไปจนถึงปัจจุบันนี้โดยในอดีตนั้นพระมหากษัตริย์เคยมีการถวายนิตยภัตรแก่พระสงฆ์และสามเณรที่เป็นมหาเปรียญทุกชั้นแต่ปัจจุบันคงมีการถวายนิตยภัตรายเดือนเฉพาะผู้สอบได้ระดับเปรียญธรรม๙ประโยคเท่านั้นในปัจจุบันพัดยศมหาเปรียญนั้นจะแบ่งเป็นสีและระบุเลขลำดับชั้นเปรียญซึ่งเปรียบได้กับครุยวิทยฐานะของบัณฑิตผู้จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยโดยพัดยศเปรียญมีฐานะเสมือนหนึ่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่พระมหากษัตริย์พระราชทานแก่ผู้ทำความชอบในราชการพระสงฆ์สามเณรผู้ได้รับพระราชทานจะนำพัดยศมหาเปรียญออกใช้ประกอบสมณศักดิ์ได้แต่ในงานพระราชพิธีสำคัญเท่านั้นจะใช้ทั่วไปมิได้ในอดีตก่อนมีการเลิกทาสหากพระภิกษุหรือสามเณรรูปใดที่สอบไล่ได้เปรียญธรรมมีบิดามารดาเป็นทาสเขาอยู่ก็จะได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระมหากษัตริย์ไถ่ให้พ้นตัวจากความเป็นทาสมีอิสรภาพแก่ตนในทันทีที่บุตรชายของตนได้เป็นพระมหาเปรียญหรือสามเณรเปรียญปัจจุบันเรียกพระภิกษุที่สอบได้พระปริยัติธรรมตั้งแต่เปรียญธรรม๓ประโยคขึ้นไปว่าพระมหาเปรียญพระมหาพระมหาพระมหาพระมหาเปรียญธรรม๓
พระราชาคณะหมายถึงพระภิกษุที่ได้รับสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตั้งแต่ชั้นสามัญจนถึงชั้นสมเด็จพระราชาคณะ[]ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่าพระสังฆราชาคณะหมายความว่าเจ้าคณะผู้ปกครองสงฆ์ต่อมาในสมักรุงรัตนโกสินทร์เปลี่ยนเป็นพระราชาคณะความหมายยังคงเดิมมีคำนำหน้าราชทินนามว่าพระแต่ภาษาชาวบ้านเรียกกันว่าเจ้าคุณหรือท่านเจ้าคุณถ้าเป็นสมเด็จพระราชาคณะเรียกว่าท่านเจ้าประคุณแยกเป็นลำดับดังนี้๑สมเด็จพระราชาคณะชั้นสุพรรณบัฏ๒พระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏ๓พระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นสัญญาบัตร๔พระราชาคณะชั้นธรรม๕พระราชาคณะชั้นเทพ๖พระราชาคณะชั้นราช๗พระราชาคณะชั้นสามัญพระราชาคณะปลัดขวาปลัดซ้ายพระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญฝ่ายวิปัสสนาธุระพระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญปธ๙ถึงปธ๓พระราชาคณะชั้นสามัญเทียบเปรียญฝ่ายวิปัสสนาธุระพระราชาคณะชั้นสามัญเทียบเปรียญพระราชาคณะชั้นสามัญยกฝ่ายวิปัสสนาธุระพระราชาคณะชั้นสามัญยกทั้งนี้พระราชาคณะสามารถแต่งตั้งฐานานุกรมได้ตามจำนวนที่ระบุไว้ในสัญญาบัตรค่ะพระราชาคณะพระราชาคณะพระราชาคณะพระราชาคณะท่านเจ้าคุณ
พระวินยาธิการเป็นคำใหม่ที่ใช้เรียกพระภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัดให้มีหน้าที่ช่วยเหลือด้านการปกครองคณะสงฆ์ในจังหวัดโดยเฉพาะหน้าที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยด้านการปฏิบัติวินัยของพระภิกษุสามเณรปัจจุบันพระวินยาธิการเป็นตำแหน่งที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับทำให้การปฏิบัติหน้าเป็นไปอย่างติดๆขัดๆพระรัตนเมธีเจ้าอาวาสวัดแก้วฟ้าจุฬามณีและเจ้าคณะเขตบางซื่อในฐานะหัวหน้าพระวินยาธิการเขตกรุงเทพมหานครกล่าวเมื่อวันที่๑๓มีนาคม๒๕๕๒ว่าการทำงานของพระวินยาธิการขณะนี้ถือว่าลำบากเพราะเป็นตำแหน่งที่ยังไม่มีกฎหมายรองรับจะดำเนินการอะไรกับพระที่ทำผิดพระธรรมวินัยไม่มีอำนาจในการลงโทษเมื่อพบพระที่ทำความผิดก็ต้องพาไปให้เจ้าคณะผู้ปกครองในท้องที่นั้นๆวินิจฉัยลงโทษรวมทั้งต้องอาศัยความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจด้วยอย่างไรก็ดีหัวหน้าพระวินยาธิการเขตกรุงเทพมหานครเปิดเผยว่ากำลังมีการเสนอร่างพระราชบัญญัติอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาโดยจะมีการกำหนดสถานะของพระวินยาธิการซึ่งจะทำให้มีกฎหมายรองรับและจะมีการออกกฎหมายลูกตามมาอีกโดยอาจจะกำหนดให้พระวินยาธิการมีอำนาจในการวินิจฉัยตัดสินใจลงโทษได้เลยทำให้มีความรวดเร็วในการทำงานรวมทั้งจะต้องมีการออกระเบียบการแต่งตั้งพระวินยาธิการให้มีคุณสมบัติเป็นพระสังฆาธิการด้วยเพื่อความสะดวกในการวินิจฉัยลงโทษและจะทำให้รูปแบบของพระวินยาธิการเป็นในลักษณะเดียวกันทั่วประเทศผิดกับปัจจุบันที่ยังเป็นในลักษณะต่างคนต่างทำอยู่พระวินยาธิการพระวินยาธิการคืออะไรพระวินยาธิการพระวินยาธิการวินัยพระ
พระวินยาธิการเป็นคำใหม่ที่ใช้เรียกพระภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัดให้มีหน้าที่ช่วยเหลือด้านการปกครองคณะสงฆ์ในจังหวัดโดยเฉพาะหน้าที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อยด้านการปฏิบัติวินัยของพระภิกษุสามเณรพระวินยาธิการมีหน้าที่ตรวจตราแนะนำตักเตือนและชี้แจงระเบียบปฏิบัติแก่พระภิกษุสามเณรในจังหวัดหรือที่เข้ามาในจังหวัดบรรดาที่ประพฤติไม่เรียบร้อยและหากไม่ปฏิบัติตามหรือพบการกระทำความผิดก็มีอำนาจจับกุมตัวส่งเจ้าคณะผู้รับผิดชอบหรือเจ้าหน้าที่บ้านเมืองให้ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่แต่ไม่มีอำนาจในการให้สละสมณเพศพระวินยาธิการพระวินยาธิการคืออะไรพระวินยาธิการพระวินยาธิการตรวจแนะตักเตือน
พระสุตตันตปิฎกเป็นชื่อของปิฎกฉบับหนึ่งในสามปิฎกหรือพระไตรปิฎกคือพระวินัยปิฎกพระสุตตตันปิฎกและพระอภิธรรมปิฎกเรียกย่อว่าพระวินัยพระสูตรและพระอภิธรรมพระสุตตันตปิฎกเป็นที่รวมของพระพุทธพจน์ที่เกี่ยวกับเทศนาธรรมซึ่งประกอบด้วยเนื้อหาสาระบุคคลเหตุการณ์สถานที่ตลอดจนบทประพันธ์ชาดกหรือเรื่องราวชีวประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีตเมื่อกล่าวโดยรวมก็คือคำสอนที่ประกอบด้วยองค์๙ที่เรียกว่านวังคสัตถุศาสน์นั่นเองนับเป็นธรรมขันธ์ได้๒๑,๐๐๐พระธรรมขันธ์พระสุตตันตปิฎกแบ่งออกเป็นหมวดย่อยที่เรียกว่าคัมภีร์๕คัมภีร์คือทีฆนิกายมัชฌิมนิกายสังยุตตนิกายอังคุตรนิกายและขุททกนิกายใช้อักษรย่อว่าทีมสังอังขุอักษรย่อทั้ง๕คำนี้เรียกกันว่าหัวใจพระสูตรพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พระสุตตันตปิฎกพระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎกเป็นปิฎกฉบับหนึ่งในปิฎกทั้งสามในพระไตรปิฎกภาษาบาลีอภิธรรมแปลว่าธรรมอันยิ่งปิฎกฉบับอภิธรรมนั้นเรียกพระอภิธรรมปิฎกซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์และบุคคลเลยพระอภิธรรมปิฎกพระอภิธรรมปิฎกพระอภิธรรมปิฎกพระอภิธรรมปิฎกประมวลหลักธรรมและคำอธิบาย
พระอารามหลวงคือวัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรงสร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเป็นวัดหลวงและวัดที่ราษฎรสร้างหรือบูรณปฏิสังขรณ์และขอพระราชทานให้ทรงรับไว้เป็นพระอารามหลวงพระอารามหลวงพระอารามหลวงพระอารามหลวงพระอารามหลวงวัดที่พระมหากษัตริย์ทรงสร้าง
พระเขี้ยวแก้วหรือพระทาฐธาตุคือพระทันตธาตุส่วนที่เป็นเขี้ยวของพระโคตมพุทธเจ้าซึ่งข้อมูลในคัมภีร์พระไตรปิฏกในลักขณสูตรได้กล่าวถึงมหาบุรุษลักษณะ๓๒ประการมีข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึงลักษณะของพระทาฐะหรือเขี้ยวของบุคคลผู้มีลักษณะแห่งมหาบุรุษว่าเขี้ยวพระทนต์ทั้งสี่งามบริสุทธิ์ข้อมูลนี้จึงทำให้ทราบและเป็นที่ยืนยันว่าพระเขี้ยวแก้วมีทั้งหมด๔องค์พระเขี้ยวแก้วเบื้องบนขวาท้าวสักกะอัญเชิญไปประดิษฐานณพระเจดีย์จุฬามณีในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์พระเขี้ยวแก้วเบื้องต่ำขวาประดิษฐานที่แคว้นกลิงค่ะบางตำราเรียกกลิงครัฐแล้วจึงถูกอัญเชิญไปประดิษฐานณลังกาหรือวัดพระเขี้ยวแก้วในปัจจุบันพระเขี้ยวแก้วเบื้องบนซ้ายประดิษฐานณแคว้นคันธาระแล้วเชื่อว่าถูกอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ที่เมืองฉางอันประเทศจีนโดยพระภิกษุฟาเหียนเมื่อคราวจาริกไปสืบพระศาสนายังอินเดียปัจจุบันพระเขี้ยวแก้วองค์นี้ถูกอัญเชิญไปประดิษฐานณพระมหาเจดีย์ณวัดหลิงกวงกรุงปักกิ่งพระเขี้ยวแก้วเบื้องต่ำซ้ายประดิษฐานในภพพญานาคเป็นที่เชื่อกันว่าบนโลกมนุษย์ของเรานี้มีพระเขี้ยวแก้วขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่๒องค์นอกจากนี้พระเขี้ยวแก้วยังจัดเป็นพระบรมสารีริกธาตุที่ไม่แยกกระจัดกระจายองค์มีลักษณะแข็งแกร่งรวมกันแน่นพุทธศาสนิกชนจึงมีความศรัทธาเลื่อมใสในองค์พระเขี้ยวแก้วเป็นอย่างมากพระเขี้ยวแก้วพระเขี้ยวแก้วพระเขี้ยวแก้วพระเขี้ยวแก้ว
พระเจ้าจักรพรรดิคือจักรพรรดิผู้ปกครองทวีปทั้ง๔เป็นผู้รักษาศีลเป็นธรรมราชาปกครองด้วยทศพิธราชธรรมมีพระโอรสนับพันไม่เบียดเบียนผู้อื่นไม่ปรารถนาสงครามไม่ประสงค์เครื่องบรรณาการพระเจ้าจักรพรรดิมีแต่ผู้เคารพนับถือพระเจ้าจักรพรรดิเป็นผู้มีบุญญาธิการมากพระเจ้าจักรพรรดิมีลักษณะของมหาบุรุษเช่นเดียวกับพระพุทธเจ้าแต่ทรงเลือกปกครองแผ่นดินยามใดที่มีพระพุทธศาสนาพระเจ้าจักรพรรดิก็ทรงบำรุงอุปัฎฐากพระพุทธเจ้าพระอรหันตสาวกช่วยเผยแพร่พระธรรมแต่ยามใดที่ไม่มีพระพุทธศาสนาพระองค์ก็ทรงรวบรวมผืนแผ่นดินผู้คนให้เป็นปึกแผ่นทรงปกครองโดยธรรมสั่งสอนประชาชนทั้งมวลพระเจ้าจักรพรรดิทรงขยันในการสร้างบารมีมากถึงแม้จะเป็นพระมหาจักรพรรดิก็ยังทรงสร้างพระบารมีไม่หยุดหย่อนค่ะพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิผู้ปกครองทวีปทั้ง๔
๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ