| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     พระเจ้าจักรพรรดิมีพระวรกายงดงามยิ่งกว่ามนุษย์ใดๆพระเจ้าจักรพรรดิมีอายุยืนกว่ามนุษย์ใดๆพระเจ้าจักรพรรดิมีอาพาธน้อยและเจ็บป่วยได้ยากกว่าคนทั่วไปพระเจ้าจักรพรรดิเป็นที่รักของมนุษย์และเทวดาแม้แต่เทวดาก็ยังเกรงใจเลยค่ะพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิกว่ามนุษย์ใดใด

     พหูสูตหมายถึงผู้มีปัญญารอบรู้ผู้รู้รอบด้านผู้ศึกษาเล่าเรียนศิลปวิทยาการมามากได้ยินได้ฟังเรื่องต่างๆมามากและสามารถทรงจำไว้ได้เป็นอย่างดีจนนับได้ว่าเป็นผู้รู้เป็นปราชญ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พหูสูตพหูสูตพหูสูตพหูสูตผู้รอบรู้

     พหูสูตในคำวัดหมายถึงผู้ได้เล่าเรียนหรือได้ฟังพระพุทธพจน์และศิลปะภายนอกแล้วทรงจำไว้ได้มากเป็นผู้ฉลาดรู้นวังคสัตถุศาสน์โดยวิธีเรียนจากครูดูจากตำรับสดับเทศนาเรียกความเป็นพหูสูตนั้นว่าพาหุสัจจะซึ่งเป็นมงคลอย่างหนึ่งที่นำความเจริญก้าวหน้ามาให้แก่ผู้เป็นพหูสูตพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พหูสูตพหูสูตพหูสูตพหูสูตผู้ฉลาด

     พัดยศคือพัดเกียรติยศอันเป็นเครื่องราชสักการะอย่างหนึ่งที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานแก่พระภิกษุผู้มีฐานันดรในคณะสงฆ์เป็นการประกาศเกียรติคุณเพิ่มขวัญและกำลังใจแก่พระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบตามอย่างโบราณราชประเพณีมีชื่อเรียกและลักษณะแตกต่างกันไปตามศักดิ์คือพัดหน้านางสำหรับพระเปรียญและพระฐานานุกรมบางตำแหน่งพัดพุดตานสำหรับพระครูสัญญาบัตรและพระฐานานุกรมบางตำแหน่งพัดเปลวเพลิงสำหรับพระครูสัญญาบัตรที่เป็นเจ้าคณะจังหวัดรองเจ้าคณะจังหวัดและเจ้าอาวาสพระอารามหลวงชั้นเอกพัดแฉกทรงพุ่มข้าวบิณฑ์สำหรับพระราชาคณะทุกชั้นจนถึงสมเด็จพระราชาคณะทั้งนี้พัดยศเป็นพัดคู่กับพัดรองค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พัดยศพัดยศพัดยศพัดยศราชสักการะ

     พัดรองคือพัดหรือตาลปัตรที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้นถวายแก่พระสงฆ์เป็นที่ระลึกในการพระราชพิธีสำคัญหรือที่ประชาชนสร้างขึ้นเองตามคติทางพระพุทธศาสนาพัดรองเป็นพัดที่ทำขึ้นเพื่อให้พระสงฆ์ในพิธีทำบุญทั่วไปจัดเป็นพัดสำรองหรือแทนพัดยศเพราะพัดยศใช้เฉพาะในงานพระราชพิธีเท่านั้นในงานทั่วไปจึงนิยมสร้างพัดสำรองถวาวยพระสงฆ์ใช้ในงานแต่เรียกกร่อนไปว่าพัดรองพัดรองโดยทั่วไปจะมีรูปเป็นพัดหน้านางเหมือนพัดยศคือเป็นรูปไข่คล้ายใบหน้าสตรีปักลวดลายและอักษรตามต้องการพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พัดรองพัดรองพัดรองพัดรองทั่วไป

     พาราณสีเป็นเมืองหลวงของแคว้นกาสีในสมัยพุทธกาลปัจจุบันตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดียห่างจากลัคเนาซึ่งเป็นเมืองหลวงของอุตตรประเทศเป็นระยะทาง๓๒๐กิโลเมตรพาราณสีมีแม่น้ำคงคาไหลผ่านเป็นเมืองที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในหลายด้านโดยมีอาณาเขตครอบคลุมถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ซึ่งปัจจุบันเรียกว่าสารนาถอันเป็นสังเวชนียสถานแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ชานเมืองพาราณสีพาราณสียังเป็นเมืองที่ศักดิสิทธิ์ที่สุดหนึ่งในเจ็ดเมืองศักดิสิทธิ์ในความเชื่อของศาสนาฮินดูและศาสนาเชนมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า๔,๐๐๐ปีเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศอินเดียและยังจัดเป็นเมืองที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์โลกด้วยถือว่าเป็นสุทธาวาสที่สถิตแห่งศิวเทพถือว่าเป็นเมืองอมตะของอินเดียและเป็นที่แสวงบุญทั้งของชาวฮินดูและชาวพุทธทั่วโลกครั้งสมัยอาณานิคมเมืองนี้มีชื่อว่าเบนาเรสพาราณสีพาราณสีพาราณสีพาราณสีปฐมเทศนา

     พาหุสัจจะหมายถึงการได้ศึกษาเล่าเรียนมากการมีความรู้ประสบการณ์มากเรียกบุคคลผู้มีภาวะอย่างนั้นว่าพหูสูตคือผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนมากมากผู้มีความรู้มากผู้คงแก่เรียนนักปราชญ์หนังสือบางฉบับเรียกว่าหัวใจนักปราชญ์พาหุสัจจะเกิดจากการศึกษาและการศึกษาที่ดีเกิดจากการศึกษา๔แบบคือศึกษาด้วยการฟังด้วยการคิดด้วยการสอบถามและด้วยการจดจำบันทึกมีคาถาบทหนึ่งที่ถือว่าเป็นหัวใจนักปราชญ์คือสุจิปุลิวินิมุตโตกถังโสปณฺฑิโตภเวแปลว่าผู้ปราศจากสุจิปุลิจะเป็นบัณฑิตได้อย่างไรสุย่อมาจากสุตะแปลว่าฟังจิย่อมาจากจินตะแปลว่าคิดปุย่อมาจากปุจฉาแปลว่าถามลิย่อมาจากลิขิตแปลว่าจดพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พาหุสัจจะพาหุสัจจะพาหุสัจจะพาหุสัจจะเรียนมามาก

     พาหุสัจจะแปลว่าความเป็นผู้ได้สดับมากพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พาหุสัจจะพาหุสัจจะพาหุสัจจะพาหุสัจจะฟังมามาก

     พีชนิยามคือกฎธรรมชาติที่ครอบคลุมความเป็นไปในพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดข้อมูลของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชสัตว์เชื้อไวรัสและจิตกฎธรรมชาติที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์โดยเฉพาะกฎข้อนี้จึงหมายรวมในเรื่องของร่างกายและกระบวนการทำงานของสิ่งมีชีวิตต่างๆที่เกิดจากการถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมด้วยสิ่งที่เรียกว่ากฎพีชนิยามนี้ทำให้เมื่อเรานำเมล็ดข้าวเปลือกไปเพาะต้นที่งอกออกมาจะต้องเป็นต้นข้าวเสมอหรือช้างเมื่อออกลูกมาแล้วย่อมเป็นลูกช้างเสมอหว่านพืชเช่นไรย่อมได้ผลเช่นนั้นความเป็นระเบียบนี้พระพุทธศาสนาค้นพบว่าเป็นผลมาจากการควบคุมของธัมมตาทั้ง๓คือสมตาการปรับสมดุลวัฏฏะการหมุนวนเวียนและชีวิตการมีหน้าที่ต่อกันนั่นเองพีชนิยามเป็นกฎธรรมชาติในฝ่ายที่เป็นระเบียบตรงกันข้ามกับธรรมนิยามซึ่งเป็นกฎธรรมชาติในฝ่ายที่ไม่มีระเบียบพีชนิยามพีชนิยามพีชนิยามกฎธรรมชาติ

     พุทธชยันตีหรือสัมพุทธชยันตีเป็นเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวันวิสาขบูชาโดยคำนี้ใช้เรียกการจัดกิจกรรมในปีที่ครบรอบวาระสำคัญของพระพุทธเจ้าเช่นครบรอบ๒๕๐๐ปีแห่งปรินิพพานหรือ๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้โดยอาจใช้ชื่อต่างกันไปบ้างในแต่ละประเทศเช่นศรีสัมพุทธชันตีสัมพุทธชยันตีแต่ทั้งหมดก็คือการจัดกิจกรรมพุทธชยันตีเพื่อมุ่งหมายการถวายเป็นพุทธบูชาในปีที่ครบรอบวาระสำคัญของพระพุทธเจ้านั่นเองพุทธชยันตีพุทธชยันตีพุทธชยันตีพุทธชยันตีวันวิสาขบูชา

     พุทธชยันตี๒๖๐๐ปีหรือพุทธชยันตี๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้เป็นเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวันวิสาขบูชาเพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าในวันวิสาขบูชาพศ๒๕๕๕การฉลองพุทธชยันตี๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้จัดขึ้นพร้อมกันในหลายประเทศเช่นอินเดียศรีลังกาพม่าและประเทศไทยโดยวัตถุประสงค์ของพุทธชยันตีในประเทศต่างๆมุ่งการจัดกิจกรรมเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาเป็นวาระพิเศษตลอดทั้งปีเช่นการจัดกิจกรรมพุทธบูชาการปฏิบัติธรรมและการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมเพื่อเฉลิมฉลองรำลึกในโอกาสครบรอบ๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าในวันวิสาขบูชาเมื่อ๔๕ปีก่อนพุทธศักราชหรือก่อนพุทธปรินิพพานในประเทศไทยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่างานฉลองสัมพุทธชยันตี๒,๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าระยะเวลาจัดงานตั้งแต่เทศกาลวิสาขบูชาวันที่๒๙พฤษภาคมพศ๒๕๕๕เป็นต้นไปจนถึงสิ้นปีพศ๒๕๕๕พุทธชยันตี__ปี_แห่งการตรัสรู้พุทธชยันตี๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้พุทธชยันตีพุทธชยันตี๒๕๕๕

     พุทธบริษัทคือหมู่ชนที่นับถือพระพุทธศาสนามี๔จำพวกคือภิกษุภิกษุณีอุบาสกและอุบาสิกาค่ะพุทธบริษัทพุทธบริษัทพุทธบริษัทพุทธบริษัทภิกษุภิกษุณีอุบาสกอุบาสิกา

     พุทธบัญญัติคือบัญญัติของพระพุทธเจ้าข้อบัญญัติที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ได้แก่วินัยของภิกษุและภิกษุณีพุทธบัญญัติหมายถึงกฎระเบียบข้อบังคับที่พระพุทธเจ้าตั้งไว้เป็นพุทธอาณาคือระเบียบการปกครองภิกษุและภิกษุณีที่เรียกโดยทั่วไปว่าพระวินัยพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธบัญญัติพุทธบัญญัติพุทธบัญญัติพุทธบัญญัติบัญญัติพระพุทธเจ้า

     พุทธบัญญัติเกิดขึ้นจากการที่มีภิกษุหรือภิกษุณีประพฤติไม่ถูกต้องไม่เหมาะสมหรือประพฤติเสียหายขึ้นจนชาวบ้านพากันตำหนิโพนทะนาทรงรับทราบแล้วจึงให้ประชุมสงฆ์ไต่สวนได้ความจริงแล้วจึงทรงบัญญัติเป็นข้อห้ามไว้การบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้ามีลักษณะเช่นนี้ทั้งหมดพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธบัญญัติพุทธบัญญัติพุทธบัญญัติพุทธบัญญัติชาวบ้านตำหนิ

     พุทธพจน์หมายถึงถ้อยคำสำนวนที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นส่วนของธรรมหรือวินัยซึ่งเรียกว่านวังคสัตถุศาสน์บ้างปาพจน์บ้างล้วนเป็นพุทธพจน์จัดเป็นหลักแห่งพระพุทธศาสนาเป็นเครื่องอ้างอิงเทียบเคียงว่าคำสอนใดเป็นสัทธรรมแท้พุทธพจน์หรือเป็นสัทธรรมเทียมสัทธรรมปฏิรูปเพราะคำสอนที่เป็นสัทธรรมแท้นั้นต้องเป็นไปเพื่อคลายกำหนัดเพื่อกำจัดทุกข์เพื่อไม่สั่งสมกิเลสเพื่อมักน้อยเพื่อสันโดษเพื่อสงัดจากหมู่เพื่อความเพียรและเพื่อเลี้ยงง่ายถ้าตรงกันข้ามพึงรู้ว่าเป็นสัทธรรมเทียมพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธพจน์พุทธพจน์พุทธพจน์พุทธพจน์ถ้อยคำสำนวนที่พระพุทธเจ้าตรัส

     พุทธพจน์แปลว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้าคำพูดของพระพุทธเจ้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธพจน์พุทธพจน์พุทธพจน์พุทธพจน์พระดำรัสของพระพุทธเจ้า

     พุทธมามกะแปลว่าผู้ถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นของเราพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะผู้ถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นของเรา

     พุทธศาสนิกชนหมายถึงคนที่ตกลงใจน้อมรับนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำตัวประจำชีวิตยินดีที่จะปฏิบัติตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาเต็มใจที่จะปฏิบัติตามหลักธรรมคือเว้นจากการทำความชั่วทำแต่ความดีและทำจิตใจให้หมดจดจากกิเลสด้วยการบำเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนาเช่นให้ทานรักษาศีลและเจริญภาวนาเพื่อขัดเกลาอบรมบ่มเพาะกายวาจาใจให้งดงามเรียบร้อยให้สงบนิ่งและให้พ้นจากความเศร้าหมองต่างๆพุทธศาสนิกชนที่พึงประสงค์คือผู้ปฏิบัติตนให้เป็นผู้รู้ผู้ฉลาดตื่นตัวอยู่เสมอไม่งมงายไม่ประมาทมัวเมาไม่หลงไปตามกระแสกิเลสพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำตัวประจำชีวิต

     พุทธศาสนิกชนแปลว่าคนที่นับถือพระพุทธศาสนาค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนคนที่นับถือพระพุทธศาสนา

     พุทธางกูรแปลว่าหน่อพระพุทธเจ้าหน่อเนื้อเชื้อไขพระพุทธเจ้าเรียกว่าหน่อพุทธางกูรหรือหน่อพุทธังกูรก็มีพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธางกูรพุทธางกูรพุทธางกูรพุทธางกูรหน่อพระพุทธเจ้า

     พุทธางกูรได้แก่พระโพธิสัตว์นั่นเองหมายถึงผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าได้ในอนาคตภายภาคหน้าคือผู้ที่ปรารถนาพุทธภูมิและได้ระบพุทธพยากรณ์ไว้ว่าจะได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตซึ่งกำลังเวียนว่ายตายเกิดบำเพ็ญบารมีอยู่เช่นสุเมธดาบสได้รับพุทธพยากรณ์จากพระทีปังกรพระพุทธเจ้าว่าจะด้ไปเป็นพระพุทธเจ้าพระนามว่าสิทธัตถะต่อมาอีกหลายชาติได้อุบัติมาเป็นพระเวสสันดรแล้วเป็นเจ้าชายสิทธัตถะแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในที่สุดเรียกพระโพธิสัตว์ในทุกๆชาตินั้นว่าหน่อพุทธางกูรพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธางกูรพุทธางกูรพุทธางกูรพุทธางกูรผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า

     พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า"ดูก่อนภิกษุทั้งหลายสมณพราหมณ์บางพวกมีวาทะอย่างนี้มีทิฏฐิอย่างนี้ว่าทานที่ให้แล้วไม่มีผลการบูชาไม่มีผลการบวงสรวงไม่มีผลผลของกรรมดีกรรมชั่วไม่มีโลกนี้ไม่มีโลกอื่นไม่มีมารดาไม่มีบุญคุณบิดาไม่มีบุญคุณสัตว์ที่เป็นโอปปาติกะไม่มีสมณพราหมณ์ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทราบถึงโลกนี้และโลกอื่นด้วยปัญญาอันยิ่งเองและสามารถทำให้ผู้อื่นรู้ตามด้วยไม่มี" มิจฉาทิฐิ มิจฉาทิฐิ มิจฉาทิฐิ มิจฉาทิฐิ มีทานที่ให้แล้วไม่มีผล

     พระรัตนตรัยคือพระพุทธเจ้าพระธรรมและพระสงฆ์ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะธรรมรัตนะสังฆรัตนะซึ่งได้แก่พระพุทธคือท่านผู้ตรัสรู้ธรรมแล้วสอนให้ประชุมชนให้ประพฤติชอบด้วยกายวาจาใจตามพระวินัยที่เรียกว่าพระพุทธเจ้าพระธรรมคือพระธรรมวินัยอันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าพระสงฆ์คือหมู่ชนที่ฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัยรัตนตรัยรัตนตรัยพระรัตนตรัยรัตนตรัยพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ