| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     พระรัตนตรัยหรือพระไตรรัตน์แปลว่าแก้ว๓ดวงแก้ว๓อย่างที่เรียกว่ารัตนะเพราะว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐมีค่าสูงและหาได้ยากเทียบด้วยดวงแก้วมณีพระรัตนตรัยคือพระพุทธเจ้าพระธรรมและพระสงฆ์ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะธรรมรัตนะสังฆรัตนะซึ่งได้แก่พระพุทธคือท่านผู้ตรัสรู้ธรรมแล้วสอนให้ประชุมชนให้ประพฤติชอบด้วยกายวาจาใจตามพระวินัยที่เรียกว่าพระพุทธเจ้าพระธรรมคือพระธรรมวินัยอันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าพระสงฆ์คือหมู่ชนที่ฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัยรัตนตรัยรัตนตรัยรัตนตรัยรัตนตรัยแก้ว๓

     พระพุทธองค์ตรัสว่า"เราตถาคตเป็นอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบพวกเธอจงเงี่ยโสตสดับเราได้บรรลุอมฤตธรรมแล้วเราจะสั่งสอนจะแสดงธรรมพวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้วไม่ช้าสักเท่าไรจักทำให้เข้าใจแจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยมอันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ที่คนทั้งหลายผู้พากันออกบวชจากเรือนต้องการด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเอง"แรกทีเดียวพระปัญจวัคคีย์ยังไม่เชื่อว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบจึงค้านถึงสามครั้งว่าแม้ด้วยจริยานั้นแม้ด้วยปฏิปทานั้นแม้ด้วยทุกกรกิริยานั้นพระองค์ก็ยังไม่ได้บรรลุอุตตริมนุสสธรรมอันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐอย่างสามารถก็บัดนี้พระองค์เป็นผู้มักมากคลายความเพียรเวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมากไฉนจักบรรลุอุตตริมนุสสธรรมอันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐอย่างสามารถได้เล่าพระพุทธองค์ตรัสว่า"พวกเธอยังจำได้หรือว่าเราได้เคยพูดถ้อยคำเช่นนี้มาก่อน"และตรัสว่า"ดูก่อนภิกษุทั้งหลายตถาคตเป็นพระอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบท่านทั้งหลายจงเงี่ยโสตลงเถิดเราจะสั่งสอนอมตธรรมที่เราบรรลุแล้วเราจะแสดงธรรมเมื่อท่านทั้งหลายปฏิบัติตามที่เราสั่งสอนอยู่ไม่ช้าเท่าไรก็จักทำให้แจ้งซึ่งที่สุดพรหมจรรย์อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่าที่กุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันแล้วเข้าถึงอยู่"ด้วยพระดำรัสดังกล่าวพระปัญจวัคคีย์จึงได้ยอมเชื่อฟังพระพุทธองค์เงี่ยโสตสดับตั้งจิตเพื่อรู้ยิ่ง วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา ปัญจวัคคีย์เราตถาคตเป็นอรหันต์

     พระพุทธองค์ใช้กว่า๑๑วันเป็นระยะทางกว่า๒๖๐กิโลเมตรเพื่อเสด็จจากตำบลอุรุเวลาตำบลที่ตรัสรู้ไปยังที่พักของเหล่าปัญจวัคคีย์เมื่อพระองค์เสด็จไปถึงที่อยู่ของเหล่าปัญจวัคคีย์ในวันเพ็ญเดือน๘ขณะที่พระองค์กำลังเสด็จเข้าไปที่พักของเหล่าปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ได้เห็นพระพุทธเจ้ามาแต่ไกลด้วยเหตุที่ปัญจวัคคีย์รังเกียจว่าเจ้าชายสิทธัตถะผู้ได้เลิกการบำเพ็ญทุกขกิริยาหันมาเสวยอาหารเป็นผู้หมดโอกาสบรรลุธรรมได้เสด็จมาจึงได้นัดหมายกันและกันว่าพวกเราไม่พึงอภิวาทไม่พึงลุกขึ้นต้อนรับพระองค์ไม่พึงรับบาตรจีวรของพระองค์แต่พึงวางอาสนะไว้ถ้าพระองค์ปรารถนาจะนั่งก็จักประทับนั่งเองครั้นพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าไปถึงกลุ่มพระปัญจวัคคีย์พระปัญจวัคคีย์นั้นกลับลืมข้อตกลงที่ตั้งกันไว้แต่แรกเสียสิ้นต่างลุกขึ้นมาต้อนรับพระพุทธเจ้ารูปหนึ่งรับบาตรจีวรของพระผู้มีพระภาครูปหนึ่งปูอาสนะรูปหนึ่งจัดหาน้ำล้างพระบาทรูปหนึ่งจัดตั้งตั่งรองพระบาทรูปหนึ่งนำกระเบื้องเช็ดพระบาทเข้าไปถวายพระพุทธเจ้าจึงประทับนั่งบนอาสนะที่พระปัญจวัคคีย์จัดถวายไว้ วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา ที่อยู่ของเหล่าปัญจวัคคีย์

     พระวินัยปิฎกถือเป็นส่วนหนึ่งของพระไตรปิฎกเป็นประมวลกฎข้อบังคับเกี่ยวกับความประพฤติของเหล่าพระสงฆ์ทั้งภิกษุและภิกษุณีทว่าพระวินัยปิฎกนั้นมิได้มีแต่กฎข้อบังคับเท่านั้นหากยังมีเนื้อหาสะท้อนประวัติศาสตร์ของอินเดียในสมัยพุทธกาลด้วยรวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีและประวัติของบุคคลสำคัญบางคนในยุคนั้นเช่นชีวกโกมารภัจจ์ พระวินัยปิฎก พระวินัยปิฎก

     พระพุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุผู้กระทำความเพียรเพื่อความหลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวงให้สำเร็จการนอนอย่างราชสีห์หรือสีหไสยาสน์แต่มีข้อแตกต่างกันเพียงเล็กน้อยจากตามลักษณะของพระพุทธรูปที่ช่างปั้นขึ้นคือท่านสอนให้นอนตะแคงขวาศีรษะหนุนหมอนมือซ้ายวางทาบไปตามร่างกายด้านซ้ายมือขวาวางหวายแนบกับในหน้าเพื่อไม่ให้คอพลิกไปมาวางเท้าเหลื่อมเท้ากำหนดในใจมีสติสัมปชัญญะตลอดเวลาและจะตื่นขึ้นในเวลาที่กำหนดส่วนข้อที่บอกว่าวางเท้าเหลื่อมเท้านั้นเพราะว่าคนเรามีอุ้งเท้าที่โค้งเมื่อวางเท้าซ้ายเหลื่อมเท้าขวาอุ้งเท้าซ้ายจะวางอยู่บนสันเท้าขวาซึ่งมีความโค้งมนส้นเท่าขวาจะรองรับน้ำหนักของเท้าซ้ายได้พอดีและไม่พลัดตกลงมาเท้าทั้งสองที่เหยียดออกไปก็ไม่ถึงกับต้องตรงแต่จะงอเข่าทั้งสองข้างลงเล็กน้อยจะทำให้หัวสะบ้าเข่าข้างซ้ายกดทับลงบนข้อพับด้านขาขวาข้อพับขวาจะมีลักษณะโค้งอ่อนนุ่มก็จะพยุงหัวเข่าซ้ายไว้ไม่ให้พลิกมือซ้ายที่วางบนร่างกายด้านซ้ายนั้นไม่เหยียดตรงแต่จะงอเล็กน้อยให้น้ำหนักอยู่ตรงกลางระหว่างข้อศอกกับปลายก็จะเป็นท่านอนที่ถูกต้องกับสรีระของคนเราคะ การนอน

     พระพุทธไสยาสน์นี้จะอยู่ในอิริยาบถนอนตะแคงข้างขวาหลับพระเนตรพระเศียรหนุนพระเขนยพระหัตถ์ซ้ายวางทอดทาบไปตามร่างกายด้านซ้ายพระหัตถ์ขวาหงายอยู่กับพื้นข้างพระเขนยพระบาททั้งสองตั้งเรียงซ้อนกันลักษณะการนอนดังกล่าวนี้เรียกว่าสีหไสยาสน์เป็นการนอนของราชสีห์ว่ากันว่าราชสีห์นั้นเป็นสัตว์ที่มีอำนาจและสง่างามในท่วงท่าและอิริยาบถแม้ในการนอนก็ต้องนอนด้วยอาการอันสำรวมคือเวลานอนจะใช้เท้าลูบฝุ่นที่นอนให้เรียบเสมอกันแล้วจึงจะตะแคงตัวด้านขวาลงนอนเท้าทั้งสี่จะอยู่ในอาการอันสำรวมไม่เหนียดหรือกางออกเหมือนสัตว์อื่นและจะกำหนดในใจว่าจะนอนอย่างมีสติสัมปชัญญะและตื่นขึ้นในเวลาที่กำหนด พระพุทธรูปปางสีหไสยาสน์

     พระรัตนตรัยจัดเป็นสรณะได้ทั้งยามปกติและยามคับขันโดยเฉพาะเป็นที่พึ่งทางใจเป็นอนุสติเป็นแนวทางสำหรับยึดถือปฏิบัติตามเป็นอย่างดีเรียกการถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะที่พึ่งว่าไตรสรณคมน์หรือไตรสรณาคมน์ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สรณะ สรณะ สรณะ สรณะ

     พระอรหันต์คือผู้สำเร็จธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนาพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดสามารถละสังโยชน์ได้ครบ๑๐ประการค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล พระอรหันต์ พระอรหันต์ พระอรหันต์ ธรรมที่ยิ่งใหญ่

     พระอุปัชฌาย์มีหน้าที่หลัก๒อย่างคือเป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวชในพิธีบรรพชาอุปสมบทและเป็นผู้รับปกครองดูแลแนะนำตักเตือนและติดตามความเป็นอยู่ของผู้ที่ตนบวชให้เหมือนบิดาปกครองดูแลบุตรน่ะค่ะ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์ เป็นผู้รับผิดชอบและรับรองผู้บวช

     พระพากุลเถระได้รับยกย่องว่าเป็นผู้ไม่มีโรคาพาธเมื่อท่านได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้วท่านได้ช่วยแบ่งเบาภาระทางพระพุทธศาสนาในการอบรมสั่งสอนพุทธบริษัทและท่านเป็นผู้ปฏิบัติเคร่งครัดในธุดงค์ข้อเนสัชชิกธุดงค์และข้ออรัญญิกธุดงค์ดังจะเห็นได้ว่าตั้งแต่ท่านบวชมานั้นท่านไม่เคยจำพรรษาในบ้านเลยนะคะนอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้ที่ไม่มีโรคเบียดเบียนไม่เคยให้หมอรักษาพยาบาลไม่เคยฉันแม้แต่ผลสมออันเป็นยาสมุนไพรแม้แต่เพียงผลเดียวเพราะว่าท่านไม่มีโรคใดๆเลยนั่นเองค่ะ เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑ พระพากุลเถระ พระพากุลเถระ พระพากุล ไม่มีโรคาพาธ

     พระพากุลเถระค่ะ เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑ พระพากุลเถระ พระพากุลเถระ พระพากุล เอตทัคคะ

     พระอัญญาโกณฑัญญเถระ ปัญจวัคคีย์ เอตทัคคะในด้านรัตตัญญ รัตตัญญ เอตทัคคะในด้านรัตตัญญ พระอัญญาโกณฑัญญ

     พระโกณฑัญญะได้รับการยกย่องจากพระพุทธองค์ให้เป็นเอตทัคคะในด้านรัตตัญญูเรียกว่ามีราตรีนานคือเป็นผู้รู้ธรรมก่อนใครและได้บวชก่อนผู้อื่นในพระพุทธศานาค่ะ ปัญจวัคคีย์ พระอัญญาโกณฑัญญเถระ พระอัญญาโกณฑัญญ พระอัญญาโกณฑัญญเถระ มีราตรีนาน

     พระพุทธองค์ยกย่องนางวิสาขาว่าเป็นผู้เลิศกว่าอุบาสิกาทั้งหลายในฝ่ายผู้เป็นทายิกานางวิสาขานางวิสาขาเอตทัคคะนางวิสาขาทายิกานางวิสาขา

     พระองค์เป็นพระราชาแห่งแคว้นมคธแคว้นที่ใหญ่และมีอำนาจมากที่สุดแคว้นหนึ่งในสมัยพุทธกาลค่ะมีเมืองหลวงชื่อกรุงราชคฤห์พระองค์ได้ครองราชสมบัติอยู่เป็นเวลา๕๒ปีมีอัครมเหสีพระนามว่าเวเทหิซึ่งเป็นพระราชธิดาของพระเจ้ามหาโกศลแห่งแคว้นโกศลค่ะพระเจ้าพิมพิสารยังเป็นพระสหายกับพระพุทธเจ้าสมัยที่ยังเป็นพระกุมารอีกด้วยนะคะด้วยที่พระเจ้าสุทโธทนะทรงมีความสนิทสนมกับพระบิดาของพระเจ้าพิมพิสารพระองค์นับถือพระพุทธศาสนาทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างเข้มแข็งจนแว่นแคว้นของพระองค์มีชื่อเสียงขจรขจายไปทั่วว่าเป็นดินแดนแห่งพระธรรมค่ะพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระโสดาบันมีพระอัครมเหสีพระนามว่าโกศลเทวีหรือเวเทหิเป็นพระกนิษฐาของพระเจ้าปเสนทิโกศลค่ะพระเจ้าปเสนทิโกศลเองก็ได้พระกนิษฐาของพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระมเหสีเช่นกันพระเจ้าพิมพิสารมีพระโอรสนามว่าอชาตศัตรูโหราจารย์ทำนายว่าพระโอรสองค์นี้จะทำปิตุฆาตแต่พระเจ้าพิมพิสารก็มิทรงแยแสต่อคำทำนายทรงอบรมให้การศึกษาพระโอรสเป็นอย่างดีเจ้าชายก็อยู่ในพระโอวาทเป็นอย่างดีแต่พอเจ้าชายน้อยได้รู้จักพระเทวทัตถูกพระเทวทัตล้างสมองให้เห็นผิดเป็นชอบจนจับพระเจ้าพิมพิสารขังคุกให้อดพระกระยาหารและทำการทรมานต่างๆเช่นกรีดพระบาทของพระเจ้าพิมพิสารเพื่อให้เดินจงกรมทำสมาธิไม่ได้เป็นต้นจนพระองค์เสด็จสวรรคตไปเกิดเป็นยักษ์ชื่อชนวสภะในสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาค่ะพระเจ้าพิมพิสารเป็นกษัตริย์ผู้ทรงธรรมทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาเป็นอย่างดีทำให้พระพุทธศาสนาเจริญแพร่หลายทั่วแคว้นมคธพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสารพระราชาแห่งแคว้นมคธ

     พระองค์เป็นลูกพระเจ้าพิมพิสารและที่สำคัญเลยคือท่านได้ทำปิตุฆาตแหละค่ะพระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าอชาตศัตรูพระเจ้าอชาตศัตรูพระเจ้าอชาตศัตรูทำปิตุฆาต

     พระเจ้าอโศกทรงขุดพบสถานที่เผาพระพุทธสรีระหรือที่เรียกกันว่าเนินดินเจ้าชายสิ้นชีพค่ะพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราช

     พระเจ้าอโศกมหาราชพศ๒๔๐ถึงพศ๓๑๒ครองราชย์พศ๒๗๐ถึงพศ๓๑๑ค่ะทรงเป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมริยะผู้ปรีชาสามารถพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ทรงปกครองแคว้นมคธมีพระราชธานีชื่อว่าปาฏลีบุตรปัจจุบันเรียกว่าปัฏนะเป็นพระโอรสของพระเจ้าพินทุสารแห่งราชวงศ์โมริยะพระมารดานามว่าสิริธรรมพระองค์มีพระโอรสและธิดา๑๑พระองค์ค่ะสมเด็จพระมหาจักรพรรดิอโศกมหาราชหรือพระเจ้าอโศกมหาราชเดิมเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่โหดร้ายชอบการทำสงครามกับแว่นแคว้นต่างๆจนได้รับสมญานามว่าจัณฑาโศกราชพระเจ้าอโศกผู้โหดเหี้ยมแต่หลังจากที่พระองค์หันมานับถือพระพุทธศาสนาพระองค์ก็ทรงกลายเป็นองค์เอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก์ผู้อุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองและแผ่ขยายมากที่สุดในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาและจากพระราชกรณียกิจมากมายนานัปการที่พระองค์ได้ทรงบำเพ็ญด้วยทศพิธราชธรรมอย่างแท้จริงทำให้ภายหลังทรงได้รับการขนานพระราชสมัญญานามว่าธรรมาโศกราชพระเจ้าอโศกผู้ทรงธรรมค่ะพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชองค์เอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก์

     พระเจ้าอโศกมหาราชคร่า~พระเจ้าอโศกมหาราชใครเป็นคนค้นพบสถานที่เผาพระพุทธสรีระ

     พระอุปัชฌาย์เธอชื่ออะไรค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อันตรายิกธรรมอุบาสิกาคู่แรกในพระพุทธศาสนา

     พระพุทธโฆสะรจนาคัมภีร์สมันตัปปาสาทิกาขึ้นตามคำอาราธนาของพระเถระผู้มีนามว่าพระพุทธสิริเมื่อประมาณพศ๙๒๗ถึง๙๗๓ณเมืองอนุราธปุระในศรีลังกาในรัชสมัยของพระเจ้าสิริปาละในอารัมภบทของคัมภีร์ท่านผู้รจนาได้ชี้แจงว่าคัมภีร์นี้เป็นอรรถกถาแรกที่ท่านได้แต่งขึ้นเพื่ออธิบายความในพระไตรปิฎกท่านผู้รจนายังได้ชี้แจงด้วยว่าเหตุที่แจ่งอรรถกถาพระวินัยปิฎกก่อนพระสูตรตามลำดับของคำว่าพระธรรมวินัยนั่นก็ด้วยเหตุที่ท่านได้พิจารณาแล้วว่าพระวินัยคือรากฐานของพระศาสนาทัศนะของพระพุทธโฆษจารย์เกี่ยวกับความสำคัญของพระวินัยสอดคล้องกับเนื้อความในสมันตปาสาทิกาที่ระบุถึงเหตุการณ์หลังจากที่พระอานนท์สำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้วเข้าร่วมการสังคายนาครั้งแรกดังว่า"เมื่อพระอานนท์นั้นนั่งแล้วอย่างนั้นพระมหากัสสปเถระจึงปรึกษาภิกษุทั้งหลายว่าผู้มีอายุทั้งหลาย!พวกเราจะสังคายนาอะไรก่อนพระธรรมหรือพระวินัยภิกษุทั้งหลายเรียนว่าข้าแต่ท่านพระมหากัสสป!ชื่อว่าพระวินัยเป็นอายุของพระพุทธศาสนาเมื่อพระวินัยยังตั้งอยู่พระพุทธศาสนาจัดว่ายังดำรงอยู่"สมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาสมันตปาสาทิกาขยายความพระวินัยปิฎก

     พระพุทธเจ้าไม่ต้องกลับมาเกิดมาแก่มาเจ็บมาตายอีกแล้วทรงเข้าถึงอมตะสุขคือนิพพานดังนั้นจึงไม่กลัวต่อความตายแม้ยังไม่สามารถหยุดใจได้ร้อยละร้อยเหมือนพระอรหันต์หรือพระพทธเจ้าได้แต่ยิ่งนิ่งได้มาเท่าไหร่จะเกิดความมั่นคงมั่นใจไม่กลัวภัยอันตรายใดใดแม้แต่ความตายที่จะเกิดขึ้นกับค่ะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙พระรัตนตรัยพระรัตนตรัยพระรัตนตรัยไม่กลัวภัย

     พระองค์ทรงนำกะโหลกของพระอรหันต์มาให้ทดลองดีดสิคะพระวังคีสเถระทำนายไม่ได้จึงขอบวชเรียนนี่แหละค่ะชมรมพุทธเบญจจินดาพระวังคีสเถระพระวังคีสเถระพระวังคีสเถระบวชเรียน



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ