ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ภวตัณหาคือความอยากทางจิตใจเมื่อได้สิ่งนั้นมาแล้วไม่ต้องการให้มันเปลี่ยนแปลง
ภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหาไม่เปลี่ยนแปลง
ภพสามก็สวรรค์โลกนรกค่ะภพสามภพสามภพสามสวรรค์โลกนรก
ภวตัณหาแปลว่าความอยากในภพภวตัณหาทั่วไปหมายถึงความอยากมีอยากเป็นคืออยากมีอย่างนั้นอย่างนี้อยากเป็นนั่นเป็นนี่พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหาความอยาก
ภวตัณหาใจความสูงสุดหมายถึงความกำหนัดยินดีในรูปภพและอรูปภพคือความพอใจติดใจในฌานด้วยความปรารถนาภพอันเป็นความยินดีที่ประกอบด้วยสัสสตทิฐิคือความเห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างเช่นเบญจขันธ์เป็นของเที่ยงแท้ยั่งยืนมีติดต่อกันไปไม่เปลี่ยนแปลงกล่าวคืออยากเกิดอยากเป็นเช่นที่เป็นอยู่ตลอดไปพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหายินดีในรูป
ภวังคจลนะคือเป็นภวังคจิตที่ไหวตัวเพราะเหตุที่มีอารมณ์ใหม่มากระทบจึงน้อมไปในอารมณ์ใหม่คือสร้างและถ่ายทอดข้อมูลสู่จิตดวงใหม่ภวังคจิตภวังคจลนะภวังคจลนะภวังคจลนะอารมณ์ใหม่
ภวังคจิตคือจิตใต้สำนึกในทางศาสนาพุทธหมายถึงเป็นกระบวนการทำงานแบบอัตโนมัติของจิตจิตใต้สำนึกในความหมายของภวังคจิตนี้จึงอาจแตกต่างจากทางจิตวิทยานะคะภวังคจิตภวังคจิตภวังคจิตภวังคจิตอัตโนมัติของจิต
ภวังคจิตภวังคะหรือภะวังคะภว+องฺคะแปลตามพยัญชนะว่าองค์ของภพมักใช้รวมกับจิตเป็นภวังคจิตในทางพระพุทธศาสนาถือว่าจิตมีลักษณะเกิดดับอยู่ตลอดเวลาซึ่งการสืบต่อสันตติของจิตย่อมอาศัยการถ่ายทอดข้อมูลจากภวังคจิตจิตดวงเดิมไปสู่จิตดวงใหม่ด้วยกระบวนการของการทำงานของภวังคจิตเพราะเหตุว่าภวังคจิตเป็นเหตุให้สร้างจิตดวงใหม่ตลอดเวลาก่อนจิตดวงเก่าจะดับไปจึงชื่อว่าเป็นเหตุแห่งภพหรือเป็นเหตุสร้างภพจิตในทางศาสนาพุทธแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ๑วิถีจิตจิตสำนึก๒ภวังคจิตจิตใต้สำนึกภวังคจิตภวังคจิตภวังคจิตภวังคจิตยินดีในรูป
ภวังคบาทคือภวังคจิตที่ทรงอารมณ์เก่าอันเป็นอารมณ์ที่ได้มาจากภพหรือจิตดวงก่อนและกำลังกระทบอารมณ์ใหม่ภวังคบาทภวังคบาทภวังคบาทอารมณ์เก่า
ภวังคปัจเฉทะคือเป็นภวังคจิตที่ตัดกระแสภวังคคือปล่อยอารมณ์เก่าวางอารมณ์เก่าเพื่อรับอยู่กับอารมณ์ใหม่หรือจิตดวงใหม่ภวังคจิตภวังคปัจเฉทะภวังคปัจเฉทะภวังคปัจเฉทะปล่อยเก่าใหม่
ภิกษุหรือพระภิกษุเป็นคำใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะคู่กับภิกษุณีนักบวชหญิงคำว่าภิกษุเป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนาเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนามีความหมายว่าผู้ขออย่างขออาหารเป็นต้นและสามารถแปลว่าผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสารก็ได้ดังรูปวิเคราะห์ว่าวฏฺฏสํสาเรภยํอิกฺขตีติภิกฺขุในประเทศไทยและประเทศลาวมีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่าพระแปลว่าผู้ประเสริฐเป็นคำที่เรียกกันมาแต่โบราณเพื่อเป็นการยกย่องนักบวชในพระพุทธศาสนาภิกษุภิกษุภิกษุภิกษุนักบวชชาย
ภิกษุณีเป็นคำใช้เรียกนักบวชหญิงในพระพุทธศาสนาคู่กับภิกษุที่หมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนาคำว่าภิกษุณีเป็นศัพท์ที่มีเฉพาะในพระพุทธศาสนาโดยเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชหญิงในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะไม่ใช้เรียกนักบวชในศาสนาอื่นภิกษุณีภิกษุณีภิกษุณีภิกษุณีนักบวชหญิง
ภิกษุณีสายเถรวาทซึ่งสืบวงศ์มาแต่สมัยพุทธกาลด้วยการบวชถูกต้องตามพระวินัยปิฎกเถรวาทที่ต้องบวชในสงฆ์สองฝ่ายคือทั้งภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ได้ขาดสูญวงศ์ไม่มีผู้สืบต่อมานานแล้วค่ะคงเหลือแต่ภิกษุณีฝ่ายมหายานหรืออาจริยวาทที่ยังสืบทอดการบวชภิกษุณีแบบมหายานคือบวชในสงฆ์ฝ่ายเดียวมาจนปัจจุบันซึ่งจะพบได้ในจีนเกาหลีใต้ญี่ปุ่นและศรีลังกาค่ะภิกษุณีภิกษุณีภิกษุณีภิกษุณีมหายาน
ภิกษุจำพรรษาในแคว้นโกศลตั้งกติกาไม่พูดกันใช้วิธีบอกใบ้หรือใช้มือแทนคำพูดเมื่อออกพรรษาแล้วไปเฝ้าพระพุทธเจ้าพระองค์ตรัสถามทรงติเตียนและทรงอนุญาตการปวารณาคือการอนุญาตให้ภิกษุอื่นว่ากล่าวตักเตือนกันได้ภิกษุจำพรรรษาแล้วปวารณาด้วยเหตุประการคือโดยได้เห็นโดยได้ยินได้ฟังและโดยสงสัยค่ะ
มหาปวารณา
มหาปวารณา
ภิกษุเถระพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่านั่งกระโหย่งประคองอัญชลีแล้วกล่าวปวารณา๓ครั้งเพื่อให้ภิกษุนวกะกล่าวปรวารณาตอบภิกษุนวกะก็ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่านั่งกระโหย่งประคองอัญชลีแล้วกล่าวปวารณา๓ครั้งต่อมาพระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้นั่งกระโหย่งในระหว่างที่ยังปวารณาและทรงอนุญาตให้ภิกษุที่ปวารณาแล้วนั่งบนอาสนะเพราะเคยมีภิกษุชราภาพนั่งกระโหย่งคอยนานจนเป็นลมล้มลง
มหาปวารณา
มหาปวารณา
ภาวะที่มีความจำคลาดเคลื่อนจำผิดๆถูกๆหรือมีสติฟั่นเฟือนเหมือนคนบ้าน่ะค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัญญา_(ศาสนาพุทธ)
สัญญา
สัญญาวิปลาส
สัญญา
สติฟั่นเฟือน
ภัยคือความตายทุกชีวิตทั้งคนและสัตว์กลัวความตายกันทั้งสิ้นกลัวไม๊พระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙ภัยมรณภัยภัยความตาย
ภัยจากการครองชีพก็ตั้งแต่การเล่าเรียนแสวงหาวิชาความรู้เพื่อการเลี้ยงชีพการประกอบอาชีพเพื่อให้ได้มาซึ่งปัจจับ๔การอยู่ร่วมกันแบบสามีภรรยาลูกพ่อแม่พี่น้องเหล่านี้ล้วนก่อให้ความกลัวทั้งสิ้นค่ะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙ภัยอาชีพตภัยภัยครองชีพ
ภัยจากการเสื่อมเสียชื่อเสียงค่ะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙ภัยอาชีพตภัยภัยเสียชื่อ
ภัยจากความเขินอายในที่ชุมชนเป็นความกลัวความกังวลใจเมื่ออยู่ในที่มีคนมากมากค่ะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙ภัยปริสารชภัยภัยเขินชุมชน
ภัยที่นำไปเกิดในทุคติค่ะพระธวัชชัยธชชโยชมรมพุทธเบญจจินดา๒๙มีนาคม๒๕๕๙ภัยทุคติภัยภัยทุคติ
ภาวนาทางโลกหมายถึงการทำให้มีขึ้นเป็นขึ้นทางจิตใจสำรวมใจให้แน่วแน่เป็นสมาธิเช่นสวดมนต์ภาวนานั่งภาวนาขอให้พระช่วยส่วนทางธรรมหมายถึงการเจริญการบำเพ็ญการฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้เข้าใจตามเป็นจริงค่ะ
ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒
ทางโลกและทางธรรม
ภิกษุวินัย
ภาวนานำไปสู่ใจสงบใจสงบตอนตายไม่ไปสุคติจะไปไหนหล่ะคะก็การภาวนาภาวนาภาวนาใจสงบ
๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ