| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     มหาสถูปแห่งเกสเรียหรือที่ในปัจจุบันเรียกว่าเกสริยาเกสเรียเป็นสถานที่ตั้งของมหาสถูปพบใหม่ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอินเดียสถานที่ประดิษฐานบาตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงประทานแก่ชาววัชชีเมื่อครั้งพุทธกาลเกสเรียอยู่ในเขตพรมแดนของแคว้นวัชชีและมัลละต่อกันหรือรัฐพิหารในปัจจุบันแต่ไม่ใช่สถานที่แสดงกาลามสูตรดังที่เข้าใจกันเพราะสถานที่แสดงกาลามสูตรนั้นอยู่ในแคว้นโกศลแต่สถูปเกสเรียอยู่ในแคว้นวัชชีต่อกันกับพรมแดนแคว้นมัลละ เดิมมหาสถูปแห่งเกสเรียไม่เป็นที่รู้จักและไม่เป็นจุดสำหรับจาริกแสวงบุญของชาวพุทธแต่หลังจากกองโบราณคดีอินเดียได้ขุดค้นเนินดินใหญ่พบพระมหาสถูปโบราณที่มีความเส้นผ่านศูนย์กลางถึง๑๔๐๐ฟุตสูงถึง๕๑ฟุตโดยแต่เดิมอาจสูงถึง๗๐ฟุตซึ่งทำให้มหาสถูปโบราณที่ค้นพบใหม่นี้กลายเป็นมหาสถูปที่ใหญ่ที่สุดในอินเดียมีลักษณะคล้ายกับเจดีย์ชเวดากองและพระมหาสถูปบุโรพุทโธซึ่งทำให้มีผู้สันนิษฐานว่ามหาสถูปแห่งเกสริยานี้เป็นต้นแบบของมหาสถูปทั้งสองโดยมหาสถูปแห่งเกสเรียเป็นสถูปเดียวกับที่ปรากฏในบันทึกของพระถังซำจั๋งที่เคยจาริกแสวงบุญมายังสถานที่แห่งนี้ท่านได้กล่าวไว้ว่าสถานที่แห่งนี้เป็นที่ตั้งของพระมหาสถูปที่ประดิษฐานบาตรของพระพุทธองค์ที่พระพุทธเจ้าทรงประทานแก่ชาววัชชีเมืองไวสาลีที่ตามมาส่งเสด็จพระพุทธองค์เป็นครั้งสุดท้ายก่อนจะเสด็จไปยังเมืองกุสินาราเพื่อเสด็จดับขันธปรินิพพานเกสริยาในปัจจุบันอยู่ห่างจากกุสินาราประมาณ๑๒๐กิโลเมตรในเขตรัฐพิหารระหว่างทางจากเมืองไวสาลีไปยังเมืองกุสินารา มหาสถูปแห่งเกสเรีย มหาสถูปแห่งเกสเรีย เกสเรีย มหาสถูปแห่งเกสเรีย มหาสถูป

     มี๒อย่างคืออาบัติปาราชิกและอาบัติสังฆาทิเสสค่ะอาบัติ

     มีพรรษา๕พรรษาขึ้นไปกับมีสำนักอยู่ในตำบลนั้นและกำลังดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะตำบลมาแล้วไม่ต่ำกว่า๒ปีหรือกำลังดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสในตำบลนั้นมาแล้วไม่ต่ำกว่า๔ปีหรือเป็นภิกษุที่มีสมณศักดิ์หรือเป็นพระคณาจารย์หรือเป็นเปรียญหรือเป็นนักธรรมเอก เจ้าคณะตำบล เจ้าคณะตำบล เจ้าคณะตำบล ๕พรรษา

     มนุสสภูมิจาตุมหาราชิกาดาวดึงส์ดุสิตยามานิมมานรดีปรมิตวสวัตตีสุคติภูมิ

     มากจากตถาคตบวกครรภะค่ะคตาคตแปลว่าเสด็จไปดีแล้วซึ่งโดยปกติจะใช้กับพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้นค่ะส่วนคำว่าครรภะหรือคัพภะนั้นภาษาไทยใช้ในความหมายว่าครรภ์หรือท้องแต่สำหรับความหมายโดยรากศัพท์มี๒อย่างค่ะคือที่เก็บซ่อนและอีกความหมายคือที่รวมค่ะดังนั้นตถาคตคัพภะความหมายโดยรากศัพท์คือที่รวมหรือที่เก็บแห่งพระพุทธเจ้าหรือหากแปลโดยความหมายอย่างง่ายๆก็คือพระพุทธเจ้าที่อยู่ในท้องน่ะค่ะพระอาจารย์วีรชัยวีรชโยวัดพระธรรมกายชมรมพุทธเบญจจินดา๑๙สิงหาคม๒๕๕๗ตถาคตครรภะ

     มีความสับสนถึงเรื่องการเปรียบบุคคลด้วยบัว๓เหล่าตามนัยพระไตรปิฎกคือสับสนนำข้อความในปุคคลวรรคที่เปรียบบุคคลเป็น๔เหล่ามาปะปนกับข้อความในอรรถกถาที่เปรียบดอกบัวเป็น๔เหล่าซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิดเพราะในพระไตรปิฏกพระพุทธองค์ตรัสเปรียบบุคคลเหมือนดอกบัวเพียง๓เหล่าเท่านั้นเมื่อพิจารณาจากบัวสี่หรือสามเหล่าดังกล่าวความในมติอรรถกถากล่าวว่ายังมีมนุษย์บางจำพวกที่ไม่สามารถสอนได้ในขณะที่หากพิจารณาจากพระพุทธพจน์จากมัชฌิมนิกายมัชฌิมปัณณาสก์ตามพระไตรปิฎกมนุษย์ทุกคนมีสิทธิ์ที่จะตรัสรู้ธรรมเช่นเดียวกับที่พระองค์ตรัสรู้ได้กล่าวคือพระพุทธองค์ทรงพิจารณาแล้วว่ามนุษย์ที่ยังสามารถสอนให้รู้ตามได้ยังมีอยู่จึงทรงตกลงพระทัยในการนำพระธรรมที่ทรงตรัสรู้มาสั่งสอนเวไนยสัตว์บัวสี่เหล่าบัวสี่เหล่า

     มีทั้งหมด๕รูปได้แก่โกณฑัญญะวัปปะภัททิยะมหานามะและอัสสชิพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์มี๕รูป

     มงคลแปลว่าเหตุนำความสุขความเจริญมาให้คือสิ่งที่นำความโชคดีความสวัสดีและความสุขมาให้ตามที่ปรารถนามงคลมี๒อย่างคือมงคลทางโลกกับมงคลทางธรรมมงคลทางโลกคือสิ่งที่เป็นวัตถุซึ่งชาวโลกถือว่าเป็นมงคลได้แก่สิ่งของสัตว์และต้นไม้บางชนิดเช่นมงคลแฝดของขลังช้างเผือกใบเงินใบทองรวมถึงชื่ออักษรกาลเวลาหรือฤกษ์ยามเป็นต้นเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามงคลนอกมงคลทางธรรมคือมงคลที่เป็นข้อปฏิบัติต้องทำต้องปฏิบัติให้ได้จริงจึงจะเป็นมงคลมี๓๘ประการเช่นไม่คบคนพาลคบแต่บัณฑิตการให้ทานการประพฤติธรรมความกตัญญูเป็นต้นเรียกอีกอย่างว่ามงคลในหรือมงคล๓๘หรือมงคลชีวิตก็เรียก พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มงคล มงคล

     มหาชาติแปลว่าชาติที่ยิ่งใหญ่การเกิดครั้งยิ่งใหญ่ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มหาชาติ มหาชาติ

     มหาปวารณาเป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาตรงกับวันขึ้น๑๕ค่ำเดือน๑๑พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้พระภิกษุทำปวารณาคือยอมให้ว่ากล่าวตักเตือนซึ่งกันและกันหมายถึงยอมมอบตนให้สงฆ์กล่าวตักเตือนในข้อบกพร่องที่ภิกษุทั้งหลายได้เห็นได้ยินหรือมีข้อสงสัยด้วยจิตเมตตาเพื่อจักได้สำรวมระวังปรับปรุงแก้ไขตนเองเพื่อความเจริญของพระธรรมวินัยและความผาสุกในการอยู่ร่วมกันปัจจุบันวันที่พระสงฆ์ทำมหาปวารณารู้จักดีในชื่อวันออกพรรษา มหาปวารณา มหาปวารณา

     มหาลดาปสาธน์มาจากคำว่ามหาเป็นคำวิเศษหมายความว่าใหญ่ยิ่งใหญ่มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาสลดาเป็นคำนามหมายความว่าเครือเถาเครือวัลย์สายประสาธน์ถ้าเป็นกรรมหมายความว่าทําให้สําเร็จแต่ถ้าเป็นคำนามจะหมายถึงเครื่องประดับค่ะ มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ เครื่องประดับ

     มหาลดาปสาธน์เป็นเครื่องประดับชุดแต่งงานของสาวชาวอินเดียซึ่งสวมคู่กับส่าหรีโดยสวมตั้งแต่ศีรษะจรดเท้าตรงศีรษะก็ทำเป็นรูปนกยูงไว้ตัวนึงซึ่งส่วนประกอบก็เต็มไปด้วยของมีค่ามากมาย มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ เครื่องประดับชุดแต่งงาน

     มหาลดาปสาธน์ของนางวิสาขานั้นธนญชัยเศรษฐีผู้ซึ่งเป็นบิดาสั่งให้ช่างทองและช่างออกแบบทำเครื่องประดับโดยใช้ทองคำ๑,๐๐๐แห่งเพชร๔ทะนานแก้วมุกดา๑๑ทะนานแก้วประพาฬ๒๐ทะนานแก้วมณี๓๓ทะนานและใช้เงินจำนวนหนึ่งมหาลดาปสาธน์สวมตั้งแต่ศีรษะจรดเท้าลูกดุมวงแหวนด้วยทองคำห่วงสำหรับลูกดุมทำด้วยเงินสวมที่กลางกระหม่อมหนึ่งวงที่หลังหู๒วงที่ข้างเอวสองข้างอีก๒วงที่ข้อศอกทั้งสองข้าง๒วงที่ขาสองข้าง๒วงที่เครื่องประดับยังทำเป็นนกยูงรำแพนตังหนึ่งขนปีกทำด้วยทองจะงอยปากทำด้วยแก้วประพาฬตาสองข้างทำด้วยแก้วมณีสร้อยคอและแววหางทำด้วยแก้วมณีก้านขนนกยูงทำด้วยเงินขาทำด้วยเงินซึ่งจะใกล้เคียงกับเครื่องประดับของพระนางคลีโอพัตราแต่ยิ่งใหญ่กว่าโดยนกยูงตั้งอยู่กลางกระหม่อมผู้สวมประหนึ่งว่ากำาลังรำแพนอยู่บนยอดเขาเมื่อขนปีกทั้งสองข้างกระทบกันจะมีเสียงไพเราะกังวานเหมือนกับเสียงทิพยดนตรี มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์

     มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิหมายถึงความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทางจิตรับรู้ถึงกระแสแห่งไตรลักษณ์ได้มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ

     มัคนายกในภาษาบาลีหรือมรรคนายกในภาษาสันสกฤตแปลว่าผู้นำทาง มัคนายก มัคนายก

     มังสวณิชชาหมายถึงค้าขายสัตว์เป็นที่ยังมีชีวิตสำหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหารส่งเสริมทารุณกรรมและเป็นการส่งเสริมให้ทำผิดศีลข้อที่๑คือการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตมิจฉาวาณิชา

     มัชชวณิชชาหมายถึงการค้าขายสุราและของมึนเมาโดยการกล่าวครอบคลุมหลักการถึงการไม่ให้ค้าขายสารเสพติดทุกๆชนิดมิจฉาวาณิชา

     มัตตัญญุตาเป็นผู้รู้จักประมาณคือความพอดีเช่นภิกษุรู้จักประมาณในการรับและบริโภคปัจจัยสี่คฤหัสถ์รู้จักประมาณในการใช้จ่ายโภคทรัพย์พระมหากษัตริย์รู้จักประมาณในการลงทัณฑอาชญาและในการเก็บภาษีเป็นต้น"ก็ภิกษุเป็นมัตตัญญูอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้รู้จักประมาณในการรับจีวรบิณฑบาตเสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร" ธัมมัญญูสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๒๓ สัปปุริสธรรม มัตตัญญู

     มาติกาอ่านว่ามาดติกาแปลว่าหัวข้อแม่บท พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มาติกา มาติกา

     มิจฉาทิฐิหรือมิจฉาทิฏฐิเรียกโดยย่อว่าทิฐิหมายถึงความเห็นผิดการเห็นกงจักรเป็นดอกบัว มิจฉาทิฐิ มิจฉาทิฐิ มิจฉาทิฐิ มิจฉาทิฐิ ความเห็นผิด

     มิจฉาวณิชชาคือการค้าขายที่ผิดหรือไม่ชอบธรรมหมายถึงบุคคลไม่ควรค้าขายสิ่งเหล่านี้ซึ่งถือว่าเป็นอันตรายต่อเพื่อนมนุษย์ต่อสัตว์และต่อสภาพแวดล้อม มิจฉาวาณิชา มิจฉาวาณิชา

     มี๓อย่างคือ๑กามสังกัปป์หรือกามวิตก๒พยาบาทสังกัปป์หรือพยาบาทวิตก๓วิหิงสาสังกัปป์หรือวิหิงสาวิตก สัมมาสังกัปปะ มิจฉาสังกัปปะ

     มุทิตาหมายถึงความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีคือเมื่อผู้อื่นได้รับความสำเร็จมีความสุขความเจริญก้าวหน้าก็พลอยชื่นชมยินดีในสิ่งที่เขาได้รับไม่มีความอิจฉาริษยาในความสำเร็จของเขาด้วยการพูดแสดงความยินดีบ้างส่งบัตรอวยพรไปแสดงความยินดีบ้างมอบของขวัญมอบกระเช้าดอกไม้แสดงความยินดีบ้างเป็นต้น พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มุทิตา มุทิตา มุทิตา มุทิตา นางวิสาขาพระนางมัลลิกาลูกเศรษฐีณพาราณาสี



๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ