ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
มุทิตาเป็นคุณธรรมของผู้ใหญ่และเป็นหลักที่ผู้ใหญ่พึงประพฤติเมื่อเกิดขึ้นแล้วก็จะกำจัดความไม่ยินดีความขึ้งเคียดความอิจฉาริษยาลงได้
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มุทิตา
มุทิตา
มุทิตาแปลว่าความยินดีความเป็นผู้มีความยินดี
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มุทิตา
มุทิตา
มูควัตรแปลว่าการปฏิบัติอย่างเป็นใบ้กล่าวคือการงดเปล่งวาจาซึ่งพุทธศาสนาถือว่าเป็นเดียรถียสมาทานหรือข้อวัตรสำหรับนักบวชนอกพุทธศาสนา
มูควัตร
มูควัตร
มโนแปลว่าใจความคิดอยู่ในกลุ่มคำที่มีความหมายคล้ายกันคือจิตมนัสเป็นอายตนะภายในอย่างสุดท้ายใน๖อย่างคือตาหูจมูกลิ้นกายใจปกติใช้นำหน้าคำอื่นๆที่แสดงถึงความเกี่ยวเนื่องกับใจเช่นมโนกรรมการกระทำทางใจมโนทวารทวารคือใจมโนทุจริตการประพฤติชั่วด้วยใจมโนสุจริตการประพฤติชอบด้วยใจมโนวิญญาณความรู้ทางใจมโนสัมผัสสัมผัสทางใจมโนรมเป็นที่ชอบใจ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโน
มโน
มโนกรรมหมายถึงการกระทำทางใจคือทำกรรมด้วยการคิดไม่ว่าจะทำกรรมชั่วหรือกรรมดีจัดเป็นมโนกรรมเหมือนกัน
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนกรรม
มโนกรรม
มโนกรรมทางชั่วมี๓อย่างคือโลภอยากได้ของเขาพยาบาทปองร้ายเขาเห็นผิดจากคลองธรรมเรียกอีกอย่างว่ามโนทุจริตที่แปลว่าประพฤติชั่วด้วยใจมโนกรรมทางดีมี๓อย่างคือไม่โลภอยากได้ของเขาไม่พยาบาทปองร้ายเขาเห็นชอบตามคลองธรรมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามโนสุจริตที่แปลว่าประพฤติชอบด้วยใจค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนกรรม
มโนกรรม
มโนทุจริตมี๓อย่างคืออภิชฌาคือเพ่งเล็งอยากได้จ้องที่จะเอาสิ่งของของผู้อื่นพยาบาทคือขัดเคืองคิดปองร้ายผู้อื่นมิจฉาทิฐิคือเห็นผิดจากคลองธรรมเห็นไม่ตรงตามจริง
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนทุจริต
มโนทุจริต
มโนทุจริตแปลว่าการประพฤติชั่วทางใจการประพฤติชั่วด้วยใจ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนทุจริต
มโนทุจริต
มโนวิญญาณความรู้อารมณ์ทางใจคือรู้ธรรมารมณ์ด้วยใจหรือการนึกคิดมโนวิญญาณ
มโนสุจริตมี๓อย่างคืออนภิชฌาอพยาบาทและสัมมาทิฐิค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนสุจริต
มโนสุจริต
มโนสุจริตแปลว่าการประพฤติดีทางใจการประพฤติดีด้วยใจมโนสุจริต
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนสุจริต
มโนสุจริต
มี๕อย่างคืออาบัติถุลลัจจัยอาบัติปาจิตตีย์อาบัติปาฏิเทสนียะอาบัติทุกกฎอาบัติทุพภาสิตค่ะอาบัติลหุกาบัติลหุกาบัติมี๕อย่าง
มีความหมายอย่างเดียวกับนิโรธ๕อะค่ะ
วิเวก
วิเวก
มีความหมายเดียวกับนิโรธ๕ค่ะ
วิมุตติ
วิมุตติ๒
มีค่ะประเพณีเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
มีไม่ต้องจำพรรษา
มีบางคนเค้าก็เขียนสุญตาแบบนี้นี่แหละค่ะมากจากคำว่าสุญญตาไงคะ
พระพรหมคุณาภรณ์(ประยุทธ์ปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์,หน้า๔๕๔๔๕๕สุญญตา
สุญญตา
มีลักษณะ๓อย่างคือยินดีพอใจในสิ่งที่มีที่ได้มาด้วยเรี่ยวแรงของตนในทางชอบธรรมไม่ดิ้นรนอยากได้จนทำให้เกิดความเดือดร้อนยินดีพอใจกำลังของตนใช้กำลังที่มีอยู่เช่นความรู้ความสามารถให้เกิดผลเต็มที่ไม่ย่อหย่อนบกพร่องยินดีพอใจแต่ไม่เกินเลยคือรู้จักพอเป็นอิ่มเป็นและแบ่งปันส่วนที่เกินเลยไปเอื้อเฟื้อผู้อื่นตามสมควร
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สันโดษ
สันโดษ
มีลักษณะสำคัญ๘อย่างคะคือ๑ให้ของสะอาด๒ให้ของประณีต๓ให้เหมาะกาลให้ถูกเวลา๔ให้ของสมควรให้ของที่ควรแก่เขาซึ่งเขาจะใช้ได้๕พิจารณาเลือกให้ให้ด้วยวิจารณญาณเลือกของเลือกคนที่จะให้ให้เกิดผลเกิดประโยชน์มาก๖ให้เนืองนิตย์ให้ประจำหรือสม่ำเสมอ๗เมื่อให้ทำจิตผ่องใส๘ให้แล้วเบิกบานใจ
สัปปุริสทาน
สัปปุริสทาน
มูลเหตุที่ทำให้พุทธศาสนิกชนนิยมทำบุญด้วยการถวายสังฆทานมาจากทักขิณาวิภังคสูตรในพระไตรปิฎกซึ่งมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสังฆทานโดยย่อว่าในสมัยที่พระพุทธเจ้ายังทรงพระชมน์อยู่ครั้งนั้นทรงประทับอยู่ณวัดนิโครธารามกรุงกบิลพัสดุ์พระนางมหาปชาบดีโคตมีพระมาตุจฉาของพระพุทธเจ้าได้เกิดศรัทธาแรงกล้าทรงทอจีวรด้วยพระองค์เองเพื่อนำมาถวายแก่พระพุทธเจ้าแต่พระพุทธองค์ทรงได้ปฏิเสธที่จะรับถวายผ้าจีวรดังกล่าวโดยได้ตรัสให้พระนางมหาปชาบดีโคตมีนำผ้าดังกล่าวไปถวายแก่กองกลางคณะสงฆ์เพราะทรงเห็นว่าการถวายผ้าเป็นสังฆทานจักได้อานิสงส์มากกว่าแม้จะถวายแก่พระพุทธเจ้าผู้เป็นพระบรมศาสดาก็ตามอีกทั้งการถวายเป็นสังฆทานนั้นย่อมถือว่าเป็นการบูชาพระพุทธองค์ผู้ทรงเป็นประมุขแห่งพระสงฆ์ทั้งปวงด้วยจากนั้นพระพุทธองค์ได้ตรัสถึงปาฏิปุคลิกทาน๑๔ประเภทและตรัสถึงทักษิณาทานที่ถวายแก่สงฆ์หรือสังฆทานว่ามี๗ประการคือ๑ให้ทานในสงฆ์๒ฝ่ายคือทั้งฝ่ายภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข๒ให้ทานในสงฆ์๒ฝ่ายในเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว๓ให้ทานในภิกษุสงฆ์ในเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว๔ให้ทานในภิกษุณีสงฆ์ในเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว๕เผดียงสงฆ์ว่าขอได้โปรดจัดภิกษุและภิกษุณีจำนวนเท่านี้ขึ้นเป็นสงฆ์แก่ข้าพเจ้าแล้วให้ทาน๖เผดียงสงฆ์ว่าขอได้โปรดจัดภิกษุจำนวนเท่านี้ขึ้นเป็นสงฆ์แก่ข้าพเจ้าแล้วให้ทาน๗เผดียงสงฆ์ว่าขอได้โปรดจัดภิกษุณีจำนวนเท่านี้ขึ้นเป็นสงฆ์แก่ข้าพเจ้าแล้วให้ทานโดยได้ตรัสว่า"แม้ในอนาคตกาลการถวายสังฆทานแม้แก่พระสงฆ์ผู้ทุศีลก็ยังนับว่ามีผลนับประมาณมิได้และปาฏิปุคลิกทานทั้งปวงในบุคคลใดๆมีพระพุทธเจ้าเป็นอาทิก็ไม่สามารถมีผลสู้สังฆทาน๑ใน๗ประการดังกล่าวได้เลย"จากพระพุทธดำรัสดังกล่าวทำให้พุทธศาสนิกชนผู้ศรัทธานิยมทำบุญด้วยการถวายสังฆทานเพราะมีอานิสงส์มากอีกประการหนึ่งการที่สังฆทานมีอานิสงส์มากกว่าปาฏิปุคลิกทานธรรมดาเพราะการที่จัดถวายทานแก่ส่วนรวมย่อมมีประโยชน์แก่พระศาสนามากกว่าเพราะการถวายสังฆทานเป็นการกระจายปัจจัยวัตถุอันจะพึงได้แก่คณะสงฆ์ทั้งปวงโดยไม่จำกัดหรือเลือกปฏิบัติแก่รูปใดรูปหนึ่งดังนั้นการที่พระพุทธองค์ตรัสยกย่องสังฆทานจึงนับได้ว่าเป็นการแสดงออกถึงการไม่เลือกปฏิบัติทางด้านบุคคลที่พระพุทธองค์ตรัสไว้เพื่อเป็นประโยชน์ผาสุกโดยเท่าเทียมกันทางด้านปัจจัย๔แก่พระสงฆ์ทั้งปวงผู้เป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนามาจนถึงปัจจุบันค่ะ
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
มี๔อย่างคือกามได้แก่ความติดใจรักใคร่อยู่ในกามคุณภพได้แก่ความติดอยู่ในภพความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ทิฏฐิได้แก่ความเห็นผิดความหัวดื้อหัวรั้นอวิชชาได้แก่ความไม่รู้จริงความลุ่มหลงมัวเมาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
มี๔อย่าง
มี๖อย่างคือ๑อิทธิวิธิแสดงฤทธิ์ได้เช่นล่องหนได้เหาะได้ดำดินได้๒ทิพพโสตมีหูทิพย์๓เจโตปริยญาณกำหนดรู้ใจผู้อื่นได้๔ปุพเพนิวาสานุสติญาณระลึกชาติได้๕ทิพพจักขุมีตาทิพย์๖อาสวักขยญาณรู้การทำอาสวะให้สิ้นไปทั้งนี้และทั้งนั้นอภิญญา๕ข้อแรกเป็นของสาธารณะหรือโลกียญาณแต่สำหรับข้อ๖มีเฉพาะในพระอริยบุคคลเท่านั้นค่ะดังนั้นถ้าพบผู้แสดงฤทธิ์ได้อย่าพึ่งหมายว่าผู้นั้นจะเป็นอริยบุคคลนะคะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อภิญญา
อภิญญา
อภิญญา
อภิญญา
มี๖อย่าง
มี๗อย่างค่ะอาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
๗อย่าง
มีสังฆเภทอันเดียวค่ะ
อนันตริยกรรม
อสาธารณอนันตริยกรรม
อสาธารณอนันตริยกรรม
อสาธารณอนันตริยกรรม
ทำสังฆเภท
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ