ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
วิริยะรวมอยู่ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลายหมวดเช่นอิทธิบาท๔ฉันทะวิริยะจิตตะวิมังสาอันเป็นคุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมายพละ๕ศรัทธาวิริยะสติสมาธิปัญญาคือธรรมอันเป็นกำลังอินทรีย์๕ศรัทธาวิริยะสติสมาธิปัญญาคือธรรมที่เป็นใหญ่ในกิจของตนโพชฌงค์๗สติธัมมวิจยะวิริยะปีติปัสสัทธิสมาธิอุเบกขาอันเป็นธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้บารมี๑๐ทานศีลเนกขัมมะปัญญาวิริยะขันติสัจจะอธิษฐานเมตตาอุเบกขาอันเป็นปฏิปทาอันยิ่งยวดคือความดีที่บำเพ็ญอย่างพิเศษเพื่อบรรลุซึ่งจุดหมายอันสูงสุด
วิริยะ
วิริยะในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
วิริยารัมภกถาเป็นถ้อยคำที่ชักนำให้ปรารภความเพียรหรือก็คือข้อ๕ในกถาวัตถุ๑๐นั่นเองค่ะ
วิริยะ
วิริยะ
วิริยารัมภะหมายถึงการปรารภความเพียรคือลงมือทำความเพียรอย่างเข้มแข็งเด็ดเดี่ยว
วิริยะ
วิริยะ
วิสวณิชชาหมายถึงการค้าขายยาพิษซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้ใช้รวมทั้งสารเคมีที่อันตรายต่อชีวิตคนสัตว์มิจฉาวาณิชา
วิสุทธิ๗เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุนิพพานเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาดังบรรยายในรถวินีตสูตรเปรียบวิสุทธิ๗ว่าเสมือนรถเจ็ดผลัดส่งต่อกันให้บุคคลถึงที่หมายสามารถเปรียบเทียบไตรสิกขาวิสุทธิ๗ญาณ๑๖ปาริสุทธิศีล๔และสมาธิได้ดังนี้อธิศีลสิกขาศีลวิสุทธิ๑ปาฏิโมกขสังวรศีล๒อินทรียสังวรศีล๓อาชีวปาริสุทธิศีล๔ปัจจัยสันนิสิตศีลอธิจิตตสิกขาจิตตวิสุทธิอุปจารสมาธิอัปปนาสมาธิในฌานสมาบัติอธิปัญญาสิกขาทิฏฐิวิสุทธิ๑นามรูปปริจเฉทญาณกังขาวิตรณวิสุทธิ๒นามรูปปัจจัยปริคคหญาณมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ๓สัมมสนญาณ๔อุทยัพพยานุปัสสนาญาณที่ยังเป็นวิปัสสนาญาณอย่างอ่อน(ตรุณอุทยัพพยญาณ)ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ๔อุทยัพพยานุปัสสนาญาณที่เจริญขึ้น(พลวอุทยัพพยญาณ)๕ภังคานุปัสสนาญาณ๖ภยตูปัฏฐานญาณ๗อาทีนวานุปัสสนาญาณ๘นิพพิทานุปัสสนาญาณ๙มุจจิตุกัมยตาญาณ๑๐ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ๑๑สังขารุเบกขาญาณ๑๒สัจจานุโลมิกญาณญาณทัสสนวิสุทธิ๑๓โคตรภูญาณ๑๔มัคคญาณ๑๕ผลญาณ๑๖ปัจจเวกขณญาณ
วิสุทธิ
วิสุทธิ
วิหารคืออาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคล้ายเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้าคู่กับอุโบสถแต่ไม่มีวิสุงคามเหมือนพระอุโบสถคำว่าวิหารแต่เดิมใช้ในความหมายว่าวัดเช่นเดียวกับคำว่าอารามอาวาสเช่นเวฬุวันวิหารเชตวันมหาวิหารวิหารมีหลายแบบเช่นวิหารคดคือวิหารที่มีลักษณะคดอยู่ตรงมุมกำแพงแก้วของอุโบสถอาจมีหลังเดียวก็ได้โดยมากจะมี๔มุมและประดิษฐานพระพุทธรูปไว้ภายในวิหารทิศคือวิหารที่สร้างออกทั้ง๔ด้านของพระสถูปเจดีย์อาจอยู่ตรงมุมหรือด้านข้างวิหารยอดคือวิหารที่มียอดเป็นรูปทรงต่างๆเช่นวิหารยอดเจดีย์อาจอยู่ตรงมุมหรือด้านข้างวิหารหลวงคือวิหารที่ด้านท้ายเชื่อมต่อกับพระสถูปเจดีย์หรือพระปรางค์คำว่าวิหารยังกำหนดใช้เป็นคำลงท้ายสร้อยนามพระอารามหลวงต่างๆเพื่อแสดงให้รู้ว่าวัดที่มีสร้อยนามอย่างนี้เป็นพระอารามหลวงสำคัญอีกด้วยค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิหาร
วิหาร
วิเวกในทางพระพุทธศาสนาหมายถึงความสงัดความปลีกออกเป็นความสงัดกายสงัดใจและสงบอุปธิทั้งปวง
วิเวก
วิเวก
วิโมกข์หมายถึงสภาพที่จิตพ้นจากกิเลสและอาสวะทั้งปวงการพ้นจากโลกีย์การขาดจากความพัวพันแห่งโลกความเป็นพระอรหันต์ใช้หมายถึงพระนิพพานก็ได้ค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิโมกข์
วิโมกข์
วิโมกข์
วิโมกข์
การพ้นจากโลกีย์
วิโมกข์แปลว่าความพ้นความหลุดพ้นวิเศษมีความหมายเช่นเดียวกับวิมุตติ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิโมกข์
วิโมกข์
วิโมกข์
วิโมกข์
มีความหมายเช่นเดียวกับวิมุตติ
วาจาประกาศความเป็นผู้สูงสุดค่ะ
วันวิสาขบูชา
อาสภิวาจา
อาสภิวาจา
อาสภิวาจา
วาจาประกาศความเป็นผู้สูงสุด
วิธีการที่ธรรมทูตผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาถือเป็นกลยุทธได้แก่วิธีการทั้ง๖๑การไม่กล่าวร้ายคือเผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่กล่าวร้ายโจมตีดูถูกความเชื่อผู้อื่น๒การไม่ทำร้ายคือเผยแผ่ศาสนาด้วยการไม่ใช้กำลังบังคับข่มขู่ด้วยวิธีการต่างๆ๓ความสำรวมในปาติโมกข์คือรักษาความประพฤติให้น่าเลื่อมใส๔ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหารคือเสพปัจจัยสี่อย่างรู้ประมาณพอเพียง๕ที่นั่งนอนอันสงัดคือสันโดษไม่คลุกคลีด้วยหมู่คณะ๖ความเพียรในอธิจิตคือพัฒนาจิตใจเสมอมิใช่ว่าเอาแต่สอนแต่ตนเองไม่กระทำตามที่สอน
โอวาทปาติโมกข์
โอวาทปาติโมกข์
วิธีการสงบระงับอธิกรณ์การทะเลาะมีเรื่องมีราวกันในหมู่สงฆ์มี๗อย่างเรียกสัตตาธิกรณสมถะอธิกรณสมถะ
วิจารณ์หมายถึงติชมแสดงความคิดเห็นในเชิงตัดสินคุณค่าชี้ข้อดีข้อด้อยส่วนวิจารหมายถึงความตรองการพิจารณาอารมณ์ค่ะ
ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒
ทางโลกและทางธรรม
วิชาหมายถึงความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝนส่วนคำว่าวิชชาหมายถึงความรู้แจ้งความรู้วิเศษค่ะ
ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒
ทางโลกและทางธรรม
วิญญาณทางโลกหมายถึงสิ่งที่เชื่อกันว่ามีอยู่ในร่างกายเมื่อมีชีวิตเมื่อตายจะออกจากร่างไปหาที่เกิดใหม่ค่ะส่วนทางธรรมหมายถึงความรู้แจ้งอารมณ์จิตความรู้ที่เกิดขึ้นเมื่อเห็นได้ยินได้กลิ่นลิ้มรสเป็นต้นค่ะ
ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒
ทางโลกและทางธรรม
วิตกทางโลกก็เป็นทุกข์ร้อนใจกังวลส่วนทางธรรมคือความตรึกตริการคิดความดำริการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ค่ะ
ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒
ทางโลกและทางธรรม
วิกฤตน่ะเดี๋ยวสักวันก็ผ่านพ้นไปได้แหละค่ะ
ตามติดชีวิตรีลัคคุมะคนโดอากิแต่งอลีนเฉลิมชัยกิจแปลจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ไดฟุกุ
วิกฤตเดี๋ยวก็ผ่านพ้นไป
ว่างเปล่าดีกว่านะคะเพราะยังใส่ได้อีกเยอะไงล่ะ
ตามติดชีวิตรีลัคคุมะคนโดอากิแต่งอลีนเฉลิมชัยกิจแปลจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ไดฟุกุ
ความว่าง
ความว่าง
ความว่าง
ยังใส่ได้อีกเยอะ
วิกขัมภนนิโรธดับด้วยข่มไว้คือการดับกิเลสของท่านผู้บำเพ็ญฌานถึงปฐมฌานขึ้นไปย่อมข่มนิวรณ์ไว้ได้ตลอดเวลาที่อยู่ในฌานนั้นวิกขัมภนนิโรธ
วิธีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเรียกว่าบุญกิริยาวัตถุในพระไตรปิฎกระบุไว้๓อย่างได้แก่๑ทานมัยคือการบริจาคทรัพย์สิ่งของแก่ผู้ที่ควรให้๒ศีลคือการสำรวมกายวาจาใจให้สงบเรียบร้อยไม่สร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเองและผู้อื่น๓ภาวนาคือการสวดมนต์ทำสมาธิอ่านหนังสือธรรมะฯลฯในคัมภีร์สุมังคลวิลาสินีอรรถกถาทีฆนิกายยังได้ขยายความเพิ่มอีก๗ประการได้แก่๑อปจารยะคือมีความเคารพอ่อนน้อมต่อผู้มีคุณธรรม๒เวยยาวัจจะคือการขวนขวายช่วยเหลือในกิจที่ชอบ๓ปัตติทานะคือการอุทิศส่วนบุญต่อผู้อื่น๔ปัตตานุโมทนาคือการอนุโมทนาบุญที่ผู้อื่นทำ๕ธัมมัสสวนะคือการฟังธรรม๖ธัมมเทสนาคือการแสดงธรรม๗ทิฏฐุชุกัมม์คือการปรับปรุงความคิดเห็นของตนให้ถูกต้องจึงรวมเป็นบุญกิริยาวัตถุ๑๐ไงล่ะคะ
บุญ
บุญคืออะไร
บุญ
บุญ
กิริยาวัตถุ๑๐
วิจารณ์แก้วิจิกิจฉาองค์ฌานที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์วิจิกิจฉาวิจิกิจฉาวิจารณ์
วิจิกิจฉาความไม่แน่ใจลังเลใจสงสัยกังวลกล้าๆกลัวๆไม่เต็มที่ไม่มั่นใจวิจิกิจฉาวิจิกิจฉาวิจิกิจฉาไม่ไรนี่คะ
วิจิกิจฉาให้ควบคุมคุมด้วยศีล๕ข้อ๔ไม่พูดเท็จศีล๕ที่สามารถควบคุมวิจิกิจฉาได้วิจิกิจฉาวิจิกิจฉาศีล๕ข้อ๔
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ