ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
หมายถึงทางแห่งกรรมดีทางทำดีทางแห่งกรรมที่เป็นกุศลกรรมดีอันเป็นทางนำไปสู่ความสุขความเจริญหรือสุคติเป็นธรรมส่วนสุจริต๑๐ประการจึงเรียกชื่อว่ากุศลกรรมบถ๑๐ค่ะ
หมายถึงทางแห่งกุศลกรรมคือการกระทำที่นับว่าเป็นความดีได้แก่
ที่เป็นกายกรรมมี๓อย่างคือไม่ฆ่าสัตว์ไม่ลักทรัพย์ไม่ประพฤติผิดในกามที่เป็นวจีกรรมมี๔คือไม่พูดเท็จไม่พูดส่อเสียดไม่พูดคำหยาบไม่พูดเพ้อเจ้อที่เป็นมโนกรรมมี๓คือไม่โลภอยากได้ของเขาไม่พยาบาทปองร้ายเห็นชอบตามคลองธรรมหรือมีสัมมาทิฐิ
กุศลกรรมบถก็คือสุจริตทางกายทางวาจาและทางใจนั่นเองกุศลกรรมบถหมวดนี้ในบาลีเรียกชื่อหลายอย่างเช่นว่าธรรมจริยาหรือความประพฤติธรรมโสไจยหรือความสะอาดหรือเครื่องชำระตัวอริยธรรมหรืออารยธรรมธรรมของผู้เจริญอริยมรรคหรือมรรคาอันประเสริฐสัทธรรมหรือธรรมดีธรรมแท้สัปปุริสธรรมหรือธรรมของสัตบุรุษ
กุศลกรรมบถ
กุศลกรรมบถ
กุศลกรรมบถ
กุศลกรรมบถ
ห้ามบรรพชิตและคฤหัสถ์ที่มิรับอนุญาตจากเจ้าอาวาสเข้าไปอยู่อาศัยในวัดสั่งให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ที่ไม่อยู่ในโอวาทของเจ้าอาวาสออกไปเสียจากวัดสั่งให้บรรชิตและคฤหัสถ์ที่มีอยู่หรือพำนักอาศัยอยู่ในวัดทำงานภายในวัดหรือให้ทำทัณฑ์บนหรือขอขมาโทษในกรณีบรรพชิตหรือศิษย์วัดนั้นประพฤติผิดคำสั่งเจ้าอาวาสซึ่งได้สั่งโดยชอบด้วยพระธรรมวินัยกฎมหาเถรสมาคมข้อบังคับระเบียบหรือคำสั่งของมหาเถรสมาคม
อำนาจเจ้าอาวาส
เจ้าอาวาส
เจ้าอาวาส
อาศัยในวัด
หนังตโจหนึ่งในอวัยวะ๕อย่างที่ใช้ในตจปัญจกกรรมฐาน
หมายถึงกายแห่งพุทธะหน่อเนื้อแห่งพุทธะหรือธรรมกายซึ่งอยู่ภายในของมนุษย์ทุกคนค่ะพระอาจารย์วีรชัยวีรชโยวัดพระธรรมกายชมรมพุทธเบญจจินดา๑๙สิงหาคม๒๕๕๗ตถาคตครรภะ
หมายถึงการอุปสมบทเป็นภิกษุแบบหนึ่งในพระพุทธศาสนากล่าวคือในสมัยต้นพุทธกาลพระพุทธเจ้าประทานอุปสมบทเองเรียกว่าเอหิภิกขุอุปสัมปทาต่อมาทรงอนุญาตให้พระสาวกบวชกุลบุตรให้เป็นภิกษุได้โดยวิธีให้กุลบุตรนั้นรับไตรสรณคมน์เท่านั้นซึ่งการบวชแบบนี้สำเร็จได้โดยบุคคลคือพระสาวกรูปใดรูปหนึ่งก็สามารถบวชกุลบุตรได้ต่อมาทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทโดยสงฆ์คือให้ทำเป็นสังฆกรรมที่เรียกว่าแบบญัตติจตุตถกรรมวาจาจึงเลิกวิธีบวชพระแบบติสรณคมนูปสัมปทาแต่ทรงอนุญาตให้ใช้วิธีนี้บวชสามเณรซึ่งถือปฏิบัติกันมาตราบเท่าทุกวันนี้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ติสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนูปสัมปทาติสรณคมนูปสัมปทาทรงอนุญาตวิธีนี้บวชสามเณร
หลังจากพระโคตมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานได้๓เดือนพระสาวกผู้ได้เคยสดับสั่งสอนของพระองค์จำนวน๕๐๐รูปก็ประชุมทำปฐมสังคายนาณถ้ำสัตบรรณคูหาใกล้เมืองราชคฤห์แคว้นมคธใช้เวลาสอบทานอยู่๗เดือนจึงประมวลคำสอนของพระพุทธเจ้าได้สำเร็จเป็นครั้งแรกนับเป็นบ่อเกิดของคัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาบาลีคำสอนที่ลงมติกันไว้ในครั้งปฐมสังคายนาและได้นับถือกันสืบมาเรียกว่าเถรวาทแปลว่าคำสอนที่วางไว้เป็นหลักการโดยพระเถระคำว่าเถระในที่นี้หมายถึงพระเถระผู้ประชุมทำสังคายนาครั้งแรกและพระพุทธศาสนาซึ่งถือตามหลักที่ได้สังคายนาครั้งแรกดังกล่าวเรียกว่านิกายเถรวาทอันหมายถึงคณะสงฆ์กลุ่มที่ยึดคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งถ้อยคำและเนื้อความที่ท่านสังคายนาไว้โดยเคร่งครัดตลอดจนรักษาแม้แต่ตัวภาษาดั้งเดิมคือภาษาบาลีเถรวาทความเป็นมาของนิกายเถรวาทเถรวาทคำสอนครั้งปฐมสังคายนา
หรือเนกขัมมวิตกคือความดำริที่ปลอดจากโลภะความนึกคิดที่ปลอดโปร่งจากกามไม่หมกมุ่นพัวพันติดข้องในสิ่งสนองความอยากต่างๆความคิดที่ปราศจากความเห็นแก่ตัวความคิดเสียสละและความคิดที่เป็นคุณเป็นกุศลทุกอย่างจัดเป็นความนึกคิดที่ปราศจากราคะหรือโลภะ
เนกขัมมสังกัปป์
เนกขัมมสังกัปป์
ปลอดจากโลภะ
เนกขัมมสังกัปป์
หมายถึงผู้ประกาศตนว่าขอถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะหรือผู้ประกาศตนว่าเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะขอถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะ
หมายถึงการเกิดของพระเวสสันดรโพธิสัตว์ซึ่งเป็นการเกิดเพื่อบำเพ็ญบารมีครั้งสุดท้ายก่อนที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติต่อมามหาชาติที่ได้ชื่อเช่นนี้ก็เพราะการเกิดครั้งสุดท้ายนี้พระเวสสันดรได้บำเพ็ญบารมีสำคัญคือทานบารมีซึ่งเป็นการทำให้บารมีอื่นสมบูรณ์ไปด้วยเปรียบเหมือนการประทับตราในหนังสือสำคัญทำให้เกิดความสมบูรณ์ใช้บังคับตามกฎหมายได้และในชาติสุดท้ายนี้พระเวสสันดรได้บำเพ็ญบารมีอื่นๆครบทั้งสิบประการจึงถือได้ว่าเป็นการเกิดครั้งสำคัญยิ่งใหญ่กว่าทุกชาติที่ผ่านมามหาชาติได้รับการประพันธ์เป็นบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองแล้วนำไปเทศน์เป็นทำนองมาตั้งแต่สมัยโบราณเรียกการเทศน์เช่นนี้ว่าเทศน์มหาชาติเรียกเต็มว่าเทศน์มหาชาติเรื่องเวสสันดรชาดก
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มหาชาติ
มหาชาติ
หมายถึงพระบาลีที่เป็นหัวข้อเป็นแม่บทเรียกว่าบทมาติกาเรียกการที่พระสงฆ์สวดพระบาลีเฉพาะหัวข้อธรรมในพระอภิธรรมปิฎกซึ่งขึ้นต้นด้วยบทว่ากุสลาธัมมาอกุสลาธัมมาในงานที่เกี่ยวกับศพว่าสวดมาติกาและมาติกาคำนี้ในงานเผาศพจะใช้คู่กับคำว่าบังสุกุลเป็นมาติกาบังสุกุลกล่าวคือพระสงฆ์จะสวดมาติกาก่อนแล้วบังสุกุลต่อกันไปเช่นที่เขียนในบัตรเชิญงานศพว่า๑๔๐๐นพระสงฆ์มาติกาบังสุกุล
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มาติกา
มาติกา
หมายถึงการลงมือปฏิบัติลงมือทำงานที่ตนชอบที่ตนรักทำด้วยความพากเพียรพยายามทำด้วยความสนุกกล้าหาญกล้าเผชิญกับความทุกข์ยากปัญหาและอุปสรรคที่จะเกิดขึ้นหากมีอุปสรรคข้อขัดข้องใดๆก็เพียรกำจัดปัดเป่าไปให้หมดสิ้นไปโดยไม่ย่อท้อไม่สิ้นหวังเดินหน้าเรื่อยไปจนกว่าจะบรรลุเป้าหมายคือความสำเร็จค่ะและยังเป็นเหตุให้กล้าลงมือทำงานและกล้าเผชิญปัญหาอุปสรรคต่างๆขณะทำงานตรงกันข้ามหากขาดความเพียรพยายามเสียแล้วก็ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า"คนจะล่วงทุกข์ได้ก็เพราะความเพียร"
วิริยะ
วิริยะ
หมายถึงผู้ช่วยเหลือรับใช้พระสงฆ์ทำกิจธุระแทนสงฆ์ถ้าตามกฎหมายหมายถึงคฤหัสถ์ผู้ได้รับแต่งตั้งให้มีหน้าที่เบิกจ่ายนิตยภัตและมีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษาจัดการทรัพย์สินของวัดได้ตามที่เจ้าอาวาสมอบหมายเป็นหนังสือและกำหนดให้ไวยาวัจกรเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ไวยาวัจกร
ไวยาวัจกร
ไวยาวัจกร
ไวยาวัจกร
ผู้ช่วยเหลือรับใช้พระสงฆ์
หลังจากทรงตั้งพระทัยที่จะนำสิ่งที่พระองค์ตรัสรู้มาสอนแก่มนุษย์ทั้งหลายพระองค์ได้ทรงพิจารณาหาบุคคลที่สมควรจะแสดงธรรมที่พระองค์ได้ตรัสรู้โปรดก่อนเป็นบุคคลแรกในครั้งแรกพระองค์ทรงระลึกถึงอาฬารดาบสกาลามโคตรและอุทกดาบสรามบุตรก่อนซึ่งทั้งสองท่านเป็นพระอาจารย์ที่พระองค์ได้เข้าไปศึกษาในสำนักของท่านก่อนปลีกตัวออกมาแสวงหาโพธิญาณด้วยพระองค์เองก็ทรงทราบว่าทั้งสองท่านได้เสียชีวิตแล้วจึงได้ทรงระลึกถึงปัญจวัคคีย์ทั้งห้าผู้ที่เคยอุปัฏฐากพระองค์ในระหว่างที่ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาและทรงทราบด้วยพระญาณว่าปัญจวัคคีย์พำนักอยู่ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันแขวงเมืองพาราณสีพระองค์จึงตั้งใจเสด็จไปยังป่าอิสิปตนมฤคทายวันเพื่อแสดงธรรมโปรดปัญจวัคคีย์ทั้งห้าเป็นครั้งแรก
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
ปัญจวัคคีย์ทั้งห้า
หลังพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานวัดเชตวันได้รับการดูแลมาตลอดโดยเฉพาะมูลคันธกุฎีที่มีพระสงฆ์เฝ้าดูแลทำการปัดกวาดเช็ดถูปูลาดอาสนะและปฏิบัติต่อสถานที่ๆพระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่ทุกๆแห่งเหมือนสมัยที่พระพุทธองค์ทรงพระชนม์ชีพอยู่มิได้ขาดโดยมีการปฏิบัติเช่นนี้ติดต่อกันจวบจนเมืองสาวัตถีตกไปอยู่ในอำนาจของแคว้นมคธและเสื่อมความสำคัญลงจนถูกเมืองสาวัตถีและวัดแห่งนี้ได้ถูกทิ้งร้างไปหลังยุคกุษาณะในช่วงพุทธศตวรรษที่๑๘จากเมืองหลวงแห่งแคว้นเป็นชนบทเล็กๆที่ห่างไกลและสิ่งก่อสร้างถูกทิ้งกลายสภาพเป็นเนินดินและชื่อของสาวัตถีได้ถูกลืมไปจากอินเดียจนมีการขุดค้นพบพุทธสถานและซากเมืองในช่วงหลังทำให้ปัจจุบันซากวัดแห่งนี้ได้รับการขุดค้นปรับแต่งเป็นอย่างดีซึ่งต่างจากตัวเมืองสาวัตถีที่ไม่มีการบูรณะขุดค้นเท่าใดนักจึงทำให้ปัจจุบันมีผู้มาจาริกแสวงบุญณวัดเชตวันเป็นประจำปัจจุบันชาวบ้านแถบนี้เริ่มหันหลังมาเรียกตำบลแห่งนี้ว่าศราวัสตีซึ่งภาษาสันสกฤตเหมือนในสมัยก่อนบ้างแล้ว
วัดเชตวันมหาวิหาร
วัดเชตวันมหาวิหาร
วัดเชตวันมหาวิหาร
วัดเชตวันมหาวิหาร
หมายถึงความทรงจำมี๖คือ๑จักขุสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางตาภาพ๒โสตสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางหูเสียง๓ฆานะสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางจมูกกลิ่น๔ชิวหาสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางลิ้นรสชาติ๕กายสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางกายประสาทสัมผัส๖มนสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางใจมโนสิ่งทรงจำทางใจมี๓คือ๑จำเวทนา๒จำสัญญา๓จำสังขาร๓คือ๑กายสังขารการบังคับร่างกาย๒วจีสังขารความคิดตรึกตรอง๓จิตตะสังขารอารมณ์ที่จรเข้ามาในใจ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัญญา_(ศาสนาพุทธ)
สัญญา
หลังจากพระเจ้าปเสนทิโกศลสวรรคตและหลังพระพุทธปรินิพพานพระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธได้เริ่มทำสงครามยึดแว่นแคว้นต่างๆและได้กำจัดแคว้นวัชชีได้สำเร็จและหลังจากกำจัดแคว้นวัชชีได้ไม่นานพระองค์จึงได้ยกทัพมายึดเมืองสาวัตถีไว้ในอำนาจได้สำเร็จเมืองสาวัตถีจึงสิ้นสุดความสำคัญในฐานะเมืองหลวงแห่งแคว้นโกศลในรัชกาลพระเจ้าวิฑูฑภะและหลังจากนั้นการค้าฯลฯอำนาจต่างๆได้ไปรวมศูนย์ที่เมืองราชคฤห์และสุดท้ายที่เมืองปาฏลีบุตรในฐานะเมืองหลวงแห่งแคว้นแต่วัดเชตวันมหาวิหารยังคงเป็นศูนย์กลางสำคัญทางศาสนาอยู่แต่ทว่าจนในที่สุดหลังพุทธสตวรรษที่๑๘เมืองสาวัตถีได้เสื่อมความสำคัญและถูกทิ้งร้างไปโดยสิ้นเชิงจนเหลือแต่ซากโบราณสถานในปัจจุบัน
สาวัตถี
สาวัตถี
หญ้ากุศะค่ะหญ้าหญ้าคาหญ้าคาหญ้ากุศะ
หญ้าคาค่ะหญ้าหญ้ากุศะหญ้ากุศะหญ้าคา
หอไตรหมายถึงอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีลักษณะเป็นหอสูงสำหรับเก็บคัมภีร์พระไตรปิฎกหรือหนังสือธรรมทางพุทธศาสนาเรียกว่าหอพระไตรก็มีหอพระธรรมก็มีค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หอไตรหอไตร
หอไตรใช้เป็นที่เก็บคัมภีร์ใบลานที่จารึกคำสอนทางพระพุทธศาสนาที่เรียกว่าพระไตรปิฎกหรือจารึกความรู้เรื่องอื่นๆเช่นเรื่องตำรายาโบราณวรรณคดีโบราณเป้นต้นซึ่งถือว่าเป็นของสูงเป็นของศักดิ์สิทธิ์และหาได้ยากและนิยมสร้างไว้กลางสระน้ำในวัดทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้มดปลวกและแมลงสาบขึ้นไปกัดแทะทำลายคัมภีร์เหล่านั้นส่วนใหญ่นิยมสร้างเพื่อมุ่งบุญกุศลเป็นสำคัญด้วยถือคติว่าสร้างไว้เก็บรักษาพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สำคัญจึงนิยมสร้างอย่างวิจิตรงดงามมีรูปทรงพิเศษแปลกตาด้วยฝีมือที่สุดยอดในยุคสมัยนั้นๆพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หอไตรหอไตร
หิมพานต์เป็นชื่อกัณฑ์ที่๒แห่งเทศน์มหาชาติจาก๑๓กัณฑ์คือทศพรหิมพานต์ทานกัณฑ์วนประเวศน์ชูชกจุลพนมหาพนกุมารมัทรีสักกบรรพหมาราชฉกษัตริย์นครกัณฑ์ค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิมพานต์_(กัณฑ์)หิมพานต์หิมพานต์กัณฑ์หิมพานต์หิมพานต์กัณฑ์ที่๒เทศน์มหาชาติ
หิริหมายถึงความละอายใจตัวเองต่อการทำความชั่วความผิดต่อการประพฤติทุจริตทั้งหลายและความละอายใจตัวเองที่จะละเว้นไม่ทำความดีซึ่งควรจะทำให้เกิดมีในตนเช่นบิดามารดามีความละอายใจที่จะไม่ดูแลบุตรของตนเช่นนี้เรียกว่ามีหิริพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิริหิริหิริหิริความละอายใจตัวเองต่อการทำความชั่ว
หิริอ่านว่าหิริหรือจะหิหริก็ได้ค่ะแปลว่าความละอายแก่ใจความละอายต่อบาปค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิริหิริหิริหิริความละอายต่อบาป
๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ