ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
หิริเกิดขึ้นได้ด้วยการคิดถึงการศึกษาฐานะยศศักดิ์ชาติตระกูลของตนคิดถึงความเสียกายที่จะเกิดขึ้นรวมกับความแกล้วกล้าของจิตใจที่จะไม่ทำชั่วเช่นนั้นพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิริหิริหิริหิริความเสียกายที่จะเกิดขึ้นรวมกับความแกล้วกล้าของจิตใจ
หิริเป็นธรรมรักษาคุ้มครองโลกทำให้โลกเกิดสันติทำให้คนเราอยู่กันอย่างสงบสุขเพราะคนที่มีหิริจะเกลียดความชั่วและละอายที่จะทำความชั่วทั้งต่อหน้าและลับหลังทำให้ไม่ก่อความเดือดร้อนให้แก่โลกและสรรพสัตว์ทั้งปวงพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิริหิริหิริหิริทำให้โลกเกิดสันติ
ห่มคลุมหมายถึงการคลองจีวรด้วยการม้วนผ้าชายจรดชายม้วนเข้าหาตัวลูกบวบมาวางบนบ่าคลุม๒บ่ามิดชิดดีใช่ในการห่มออกนอกวัดซึ่งถ้าไม่ห่มคลุมในเวลาออกนอกเขตวัดหรือเขตติจีวรวิปวาโสต้องอาบัติทุกกฎปัจจุบันมักห่มดองออกนอกวัดโดยถือเป็นเรื่องธรรมดาว่าถูกต้องโดยเฉพาะภาคเหนือทั้งๆที่ผิดวินัยมหานิกายห่มคลุมห่มคลุมห่มคลุมม้วนผ้าชายจรดชายม้วน
ห่มมังกรหมายถึงการครองผ้าที่หมุนผ้าลูกบวบไปทางขวาเมื่ออยู่ในวัดจะห่มเฉวียงบ่าและห่มคลุมในเวลาออกนอกวัดเป็นการห่มตามธรรมเนียมของพระมหานิกายที่ถือว่าถูกต้องตามพระบรมพุทธานุญาตคือชายจรดชายม้วนขวาหรืออีกนัยหนึ่งแปลว่าข้างนอกหรือพาหันตะคือม้วนออกข้างนอกตัวซึ่งก็เข้ากันได้กับการม้วนขวาวางบนแขนปัจจุบันยังมีบางวัดนิยมการห่มแบบนี้อยู่โดยมากจะเป็นวัดมหานิกายในกรุงเทพมหานครเฉพาะผู้ที่มีการศึกษาสูงการห่มมังกรนั้นแบ่งออกเป็นสองอย่างคือการห่มมังกรอย่างไทยและการห่มมังกรอย่างพม่าการห่มมังกรอย่างไทยนั้นจะใช้รักแร้หนีบลูกบวบไว้และจะไม่คลี่ลูกบวบเพื่อเอามือออกแต่จะเวิกผ้ายกขึ้นมาเลยส่วนการห่มมังกรอย่างพม่านั้นจะวางลูกบวบบนบ่าและจะคลี่ลูกบวบเพื่อเอามือออกและจะติดกระดุมสองแห่งคือปิดที่คอและชายผ้าซึ่งการห่มมังกรอย่างพม่าจะเป็นการห่มแบบดั้งเดิมมหานิกายห่มมังกร
ห่มลดไหล่ห่มเฉียงหรือห่มเฉวียงบ่าซึ่งเป็นการห่มที่ใช้ในการแสดงความเคารพปัจจุบันใช้ในการห่มในเขตวัดโดยนำผ้าจีวรผืนหนึ่งมาพันตัวชายจรดชายม้วนเข้าหาตัวลูกบวบวางบนบ่ามหานิกายห่มลดไหล่
หนังสือรับรองการบริจาคที่วัดออกให้แก่ผู้บริจาคทรัพย์ทำบุญไงคะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา
อนุโมทนา
หมายถึงการแสดงความชื่นชมยินดีในบุญหรือความดีที่ผู้อื่นทำค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา
อนุโมทนา
อนุโมทนา
อนุโมทนา
ยินดีในความดีผู้อื่น
หมายถึงความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่วต่อผลของความทุจริตที่ทำไว้เป็นอาการของจิตที่หวั่นไหวเมื่อจะทำความชั่วเพราะกลัวความผิดที่จะตามให้ผลในภายหลังเกิดขึ้นได้เพราะคิดถึงโทษหรือความทุกข์ที่จะเกิดขึ้นจากการทำชั่วจากการประพฤติทุจริตของตนเช่นตัวเองเองต้องเดือดร้อนเกิดความเสียหายเสียทรัพย์สินเงินทองเสียอิสรภาพหรือถูกคนอื่นตำหนิติเตียนถูกสังคมรังเกียจเป็นต้นโอตตัปปะเป็นธรรมคุ้มครองโลกคู่กับหิริเพราะคนที่มีโอตตัปปะย่อมกลัวที่จะทำความผิดทำให้งดเว้นจากการประพฤติต่างๆได้อันเป็นเหตุให้เกิดความร่มเย็นเป็นสุขเกิดสันติภาพขึ้นค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โอตตัปปะ
โอตตัปปะ
หมายถึงปัญญาความรู้ที่สูงเหนือกว่าปกติเป็นความรู้พิเศษที่เกิดขึ้นจากการอบรมจิตเจริญปัญญาหรือบำเพ็ญกรรมฐานในคำวัดยังหมายถึงคุณสมบัติพิเศษของพระอริยบุคคลซึ่งเป็นเหตุให้มีอิทธิฤทธิ์ต่างๆด้วยค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อภิญญา
อภิญญา
อภิญญา
อภิญญา
ความรู้ที่สูงกว่าปกติ
หมายถึงสิ่งที่คนไม่ปรารถนาไม่ต้องการอยากได้ไม่อยากมีไม่อยากพบเห็นได้แก่กามคุณ๕คือรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสที่ไม่ดีไม่ชวนให้รักให้ชอบใจและโลกธรรมในส่วนที่ไม่ดี๔คือเสื่อมลาภเสื่อมยศนินทาทุกข์เป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคนแม้ไม่ต้องการแต่มีความจริงว่าอนิฏฐารมณ์เป็นสิ่งไม่เที่ยงทนอยู่ในสภาพนั้นๆไม่ได้นานมีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดาเกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้เช่นเดียวกับสิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์น่ะค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนิฏฐารมณ์
อนิฏฐารมณ์
หมายถึงโทษที่เกิดจาการล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุใช้เรียกความผิดทางวินัยของพระภิกษุว่าต้องอาบัติค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
ความผิดทางวินัยของพระภิกษุ
หรือกรรมตัดรอนก็กรรมที่มาทำให้เสียชีวิตทั้งๆที่ยังไม่หมดอายุขัยตายไปก็กลายเป็นสัมภเวสีอีกต่างหากค่ะ
?
อุปฆาตกกรรม
หรืออพยาบาทวิตกคือดำริในอันไม่พยาบาทความดำริที่ไม่มีความเคียดแค้นชิงชังขัดเคืองหรือเพ่งมองในแง่ร้ายต่างๆโดยเฉพาะมุ่งเอาธรรมที่ตรงข้ามคือเมตตากรุณาซึ่งหมายถึงความปรารถนาดีความมีไมตรีต้องการให้ผู้อื่นมีความสุขจัดเป็นความนึกคิดที่ปราศจากโทสะอพยาบาทสังกัปป์
หรืออพยาบาทวิตกคือดำริในอันไม่พยาบาทความดำริที่ไม่มีความเคียดแค้นชิงชังขัดเคืองหรือเพ่งมองในแง่ร้ายต่างๆโดยเฉพาะมุ่งเอาธรรมที่ตรงข้ามคือเมตตากรุณาซึ่งหมายถึงความปรารถนาดีความมีไมตรีต้องการให้ผู้อื่นมีความสุขจัดเป็นความนึกคิดที่ปราศจากโทสะอวิหิงสาสังกัปป์
หลังจากที่พระเจ้าอโศกทรงเลิกทำสงครามก็คิดจะหาความสงบพระทัยเดิมทีพระองค์ทรงนับถือลัทธินอกพุทธศาสนาอยู่๓ปีได้ถวายภัตตาหารให้แก่นักบวชในลัทธิต่างๆวันละหลายแสนคนพอเข้าปีที่๔ก็ได้หันมาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเพราะอานุภาพของสามเณรนิโครธค่ะโดยนิโครธสามเณรได้กล่าวหัวข้อธรรมเรื่องความไม่ประมาทให้พระราชาหรือพระเจ้าอโศกได้สดับว่าอปฺปมาโทอมตํปทํความไม่ประมาทเป็นทางไม่ตายปมาโทมจฺจุโนปทํความประมาทเป็นทางแห่งความตายจากนั้นก็เทศน์ด้วยสำเนียงที่ไพเราะเพราะพริ้งนี่ขนาดถ่อมตนว่ารู้น้อยแล้วแต่เทศน์ได้ยอดเยี่ยมมากไพเราะทั้งเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายพระราชาพอได้สดับแล้วก็ปลื้มปีติในธรรมที่สามเณรน้อยได้แสดงอุปัชฌาย์พระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชนิโครธสามเณร
หลังจากที่พระเจ้าอโศกมหาราชสิ้นพระชนม์พระองค์ก็ได้ไปบังเกิดเป็นงูเหลือมแหละค่ะพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชพระเจ้าอโศกมหาราชไปบังเกิดเป็นงูเหลือม
หนทางที่ถูกต้องและปลอดภัยที่สุดก็คือไม่เบียดเบียนทำร้ายทำลายชีวิตผู้อื่นและสัตว์อื่นหลีกเลี่ยงให้ห่างไกลจากปัจจัยทั้งหลายอันเป็นต้นเหตุที่จะก่อให้เกิดมะเร็งหรือโรคร้ายแรงต่างๆตามมาหมั่นคิดพูดและทำแต่ในสิ่งที่ดีมีสติรู้ตัวอยู่เสมอให้ทานรักษาศีลเป็นกิจวัตรประจำวันค่ะ
ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒
การปฏิบัติตัวปฏิบัติใจให้เอาชนะมะเร็ง
มะเร็ง
โรคมะเร็ง
ไม่เบียดเบียนทำร้ายทำลายชีวิตผู้อื่น
หนังสือธรรมะดีๆเข้าใจง่ายๆลองหามาอ่านดูสิคะ
ได้เวลาชําระจิตชํารุด,ปันยา,มิถุนายน๒๕๕๒
พี่ปันยา
ได้เวลาชำระจิตใจ
หนังสือชื่อได้เวลาชำระจิตใจ
หนังสือธรรมะดีเข้าใจง่าย
หมายถึงการเทศนาที่แสดงไปโดยลำดับเพื่อฟอกจิตใจให้สะอาดขึ้นเป็นขั้นๆจากง่ายไปหายากเพื่อเตรียมผู้ฟังให้พร้อมที่จะรับฟังอริยสัจจ์ต่อไปค่ะ
ชมรมพุทธเบญจจินดา
อนุปุพพิกถา
อนุปุพพิกถา
อนุปุพพิกถา
จากง่ายไปสู่ยาก
หลักหลักเลยลุงแซมเค้าก็อยากล้างหนี้เค้าแหละค่ะ
สงครามโลกครั้งที่สาม
สงครามโลกครั้งที่๓
ล้างหนี้
หูยถ้างั้นก็ไม่เห็นต้องดูเลยแหละค่ะฤกษ์เนี่ยฤกษ์ดูฤกษ์ดูฤกษ์ไม่ต้องดู
หูยทำงั้นบริษัทเหล้าบริษัทยาก็อดรวยพุงปลิ้นกันพอดีสิคะ
สมุนไพร
สมุนไพร
กัญชา
รวยพุงปลิ้น
หลวงปู่ดู่ได้แนะเคล็ดในการบวชจิตไว้อีกด้วยค่ะว่า
ในขณะที่เรานั่งสมาธิเจริญภาวนานั้นคำกล่าวว่า
พุทธังสรณังคัจฉามิให้นึกถึงว่าเรามีพระพุทธเจ้าเป็นพระอุปัชฌาย์ของเรา
ธัมมังสรณังคัจฉามิให้นึกว่าเรามีพระธรรมเป็นพระกรรมวาจาจารย์
สังฆังสรณังคัจฉามิให้นึกว่าเรามีพระอริยสงฆ์เป็นพระอนุสาวนาจารย์
แล้วอย่าสนใจขันธ์๕หรือร่างกายเรานี้ให้สำรวมจิตให้ดีมีความยินดีในการบวชชายก็ตั้งจิตเป็นพระภิกษุหญิงก็ตั้งจิตเป็นพระภิกษุณีอย่างนี้จะมีอานิสงส์สูงมากจัดเป็นเนกขัมมบารมีขั้นอุกฤษฏ์ทีเดียว
ที่มาธรรมโอวาทหลวงตาม้าวัดถ้ำเมืองนะ
การบวช
บวช
ในใจจบ
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ