ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
อ่านว่ากับปิยะการกแปลว่าผู้ทำให้เป็นกัปปิยะผู้ทำสิ่งที่สมควรให้แก่สมณะค่ะหมายถึงผู้ปฏิบัติภิกษุในเรื่องปัจจัย๔หรือหมายถึงลูกศิษย์ของภิกษุผู้จัดของที่สมควรถวายแก่ภิกษุผู้ทำหน้าที่ปฏิบัติดูแลภิกษุในเรื่องการขบฉันทั้งยังทำหน้าที่ช่วยเหลือภิกษุมิให้ต้องอาบัติหรือความผิดทางพระวินัยเช่นทำสิ่งที่เป็นอกัปปิยะอันไม่สมควรแก่สมณะให้เป็นกัปปิยะก่อนถวายเป็นต้นว่าปอกผลไม้ที่มีเปลือกหนาก่อนถวายไง
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘
กัปปิยการก
กัปปิยการก
กัปปิยการก
กัปปิยการก
อ่านว่ากุสนละกำแปลว่ากรรมดีการกระทำของคนฉลาดหมายถึงบุญความดีความถูกต้องค่ะซึ่งให้ผลเป็นความสุขโดยส่วนเดียวการทำบุญการทำความดีเรียกว่าทำกุศลกรรมหรือเรียกย่อว่าทำกุศลก็ได้ค่ะ
กุศลกรรมที่พระท่านแนะนำให้ทำเป็นประจำได้แก่ให้ทานเสียสละรักษาศีลอบรมจิตใจเจริญภาวนาเรียกย่อว่าบำเพ็ญทานศีลภาวนาก็ได้ค่ะซึ่งสามารถทำได้โดยบรรเทาความโลภความโกรธความหลงให้น้อยลงเพราะถ้ายังมีความโลภความโกรธความหลงเต็มจิตอยู่ก็ไม่สามารถทำกุศลกรรมอะไรได้อะค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘
กุศลกรรม
กุศลกรรม
กุศลกรรม
กุศลกรรม
อานิสงส์ของการมีสัจจะปลูกนิสัยความรับผิดชอบให้เกิดขึ้นในตัวเป็นคนหนักแน่นมั่นคงมีความเจริญก้าวหน้าในการประกอบหน้าที่การงานได้รับการเคารพยกย่องมีคนเชื่อถือและยำเกรงครอบครัวมีความมั่นคงได้รับเกียรติยศชื่อเสียงอานิสงส์ของการมีทมะปลูกฝังนิสัยรักการฝึกฝนตนให้เกิดขึ้นในตัวทำให้เป็นคนมีความสามารถในการทำงานไม่มีเวรกับใครยับยั้งตนเองไม่ให้หลงไปทำผิดได้สามารถตั้งตัวได้มีปัญญาเป็นเลิศอานิสงส์ของการมีขันติปลูกฝังนิสัยการอดทนต่ออุปสรรคและปัญหาต่างๆทำงานได้ผลดีสามารถเป็นหลักในครอบครัวได้สามารถเป็นหลักให้กับบริวารได้ไม่มีเรื่องวิวาทกับคนอื่นไม่หลงผิดไปทำความชั่วได้ทำให้ได้ทรัพย์มาอานิสงส์ของการมีจาคะปลูกฝังการมีอารมณ์ผ่องใสและนิสัยเสียสละให้เกิดขึ้นในตัวเป็นการสร้างความปลอดภัยแก่ตนเองเป็นที่นับหน้าถือตาของคนทั่วไปครอบครัวและสังคมเป็นสุขมีกัลยาณมิตรรอบตัวสรุปแล้วคุณของการมีฆราวาสธรรมโดยรวมก็คือเมื่อมีสัจจะย่อมมีเกียรติยศชื่อเสียงเมื่อมีทมะย่อมได้รับปัญญาเมื่อมีขันติย่อมเกิดทรัพย์ในบ้านและเมื่อมีจาคะย่อมเกิดมิตรที่ดีไว้เป็นสมัครพรรคพวกในสังคมฆราวาสธรรม_ฆราวาสธรรม
อ้าาาจิตอ่อนนี่หมายถึงจิตเบาจิตว่างหน่ะค่ะไม่ได้หมายถึงว่าเป็นคนขวัญอ่อนไรงั้นนะคะ
[]หลวงปู่ขาวอนาลโย[]
[]'เมตตาจิตพิชิตกิเลส'คติธรรมคำสอน'หลวงปู่ขาวอนาลโย'[]
จิต
จิต
จิต
จิตเบาจิตว่าง
อย่างไรก็ตามต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่สืบหน่อมาจากต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยยังคงมีอยู่หลายต้นเช่นต้นพระศรีมหาโพธิ์ที่วัดต้นศรีมหาโพธิ์ที่เชื่อว่านำเข้ามาปลูกสมัยทวาราวดีวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหารและวัดเบญจมบพิตรซึ่งปลูกในสมัยรัชกาลที่๕เป็นต้นต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นพระศรีมหาโพธิ์ตรัสรู้ในประเทศไทยต้นพระศรีมหาโพธิ์ต้นพระศรีมหาโพธิ์สืบหน่อมาจากต้น
อรูปภูมิหรืออรูปโลกแบ่งเป็น๔ชั้นเป็นที่สถิตของพระพรหมระดับสูงซึ่งไม่มีรูปกายอรูปภูมิ
อาหารน้ำเครื่องนุ่งห่มยานพาหนะมาลัยและดอกไม้ของหอมธูปเทียนเครื่องลูบไล้สบู่เป็นต้นที่นอนที่อยู่อาศัยและประทีปไฟหรือไฟฟ้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ไทยทาน
เครื่องไทยธรรมมีอะไรบ้าง
ไทยธรรม
อาหารน้ำเครื่องนุ่งห่มเป็นต้น
ไทยธรรม
อันนี้ว่าตามพระอาจารย์นะคะแปลว่าความจริงค่ะ
ธรรม
ความหมายของคำว่าธรรม
ธรรมะ
ธรรมะ
ความจริง
อย่าไปแคร์คนพวกนั้นเลยค่ะเค้าก็คงอิจฉาหล่ะมั้งคะเอาแค่คนที่รักเข้าใจก็พอแล้วแหละค่ะ
โดนนินทา
อย่างเค้าว่า
อธิบายถึงการเกิดขึ้นพร้อมแห่งธรรมทั้งหลายเพราะอาศัยกันการที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมีขึ้นเช่นทุกข์เกิดขึ้นเพราะมีปัจจัย๑๒เรื่องเกิดขึ้นสืบๆเนื่องกันมาตามลำดับดังนี้คือเพราะอวิชชาเป็นปัจจัยสังขารจึงมีเพราะสังขารเป็นปัจจัยวิญญาณจึงมีเพราะวิญญาณเป็นปัจจัยนามรูปจึงมีเพราะนามรูปเป็นปัจจัยสฬายตนะจึงมีเพราะสฬายตนะเป็นปัจจัยผัสสะจึงมีเพราะผัสสะเป็นปัจจัยเวทนาจึงมีเพราะเวทนาเป็นปัจจัยตัณหาจึงมีเพราะตัณหาเป็นปัจจัยอุปทานจึงมีเพราะอุปาทานเป็นปัจจัยภพจึงมีเพราะภพเป็นปัจจัยชาติจึงมีเพราะชาติเป็นปัจจัยชรามรณะจึงมีความโศกความคร่ำครวญทุกข์โทมนัสและความคับแค้นใจก็มีพร้อมความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้จึงมีการเทศนาปฏิจจสมุปบาทดังแสดงไปแล้วข้างต้นเรียกว่าอนุโลมเทศนาหากแสดงย้อนกลับจากปลายมาหาต้นจากผลไปหาเหตุปัจจัยเช่นชรามรณะเป็นต้นมีเพราะชาติเป็นปัจจัยชาติมีเพราะภพเป็นปัจจัยฯลฯสังขารมีเพราะอวิชชาเป็นปัจจัยดังนี้เรียกว่าปฏิโลมเทศนาปฏิจจสมุปบาทปฏิจจสมุปบาทคือ
อยู่สูงกว่านิมมานรดีไป๖๗๒,๐๐๐โยชน์ค่ะสวรรค์ปรนิมมิตวสวัตดีปรนิมมิตวสวัตดี๖๗๒๐๐๐โยชน์
อายุของเทวดาในชั้นปรนิมมิตวสวัตดียาวนานถึง๑๖,๐๐๐ปีทิพย์ซึ่งเท่ากับ๘,๒๑๖,๐๐๐,๐๐๐ปีมนุษย์สวรรค์ปรนิมมิตวสวัตดีปรนิมมิตวสวัตดีปีทิพย์ปีมนุษย์
อืมมมก็ไม่สามารถซะด้วยสิะแต่เท่าที่ทราบต้องปฏิบัติเรื่องจิตได้ดีระดับนึงเลยหล่ะค่ะฝันในฝันฝันในฝันฝันในฝันปฏิบัติเรื่องจิต
อาชีพที่พระพุทธองค์ทรงตรัสห้ามไว้ไม่ให้ประกอบน่ะค่ะมิจฉาอาชีวะ
มิจฉาอาชีวะ
มิจฉาอาชีวะ
พระพุทธเจ้าตรัสห้าม
อุปกิเลสแห่งวิปัสสนานี้มี๑๐อย่างแต่ละอย่างมีความยึดถือได้อย่างละ๓แบบรวมเป็น๓๐ได้แก่ทิฏฐิคาหะหมายถึงยึดถือด้วยทิฏฐิเช่นยึดถืออยู่ว่าโอภาสเกิดขึ้นแก่เราแล้วมานคาหะหมายถึงยึดถือด้วยมานะเช่นยึดถืออยู่ว่าโอภาสน่าพึงพอใจจริงหนอเกิดขึ้นแล้วตัณหาคาหะหมายถึงยึดถือด้วยตัณหาเช่นชื่นชมโอภาสอยู่
วิปัสสนูปกิเลส
วิปัสสนูปกิเลส
อ่านว่าวิสุงคามะสีมาแปลว่าเขตแดนส่วนหนึ่งจากแดนบ้านค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิสุงคามสีมา
วิสุงคามสีมา
อนิจจสัญญาพิจารณาว่ารูปไม่เที่ยงเวทนาไม่เที่ยงสัญญาไม่เที่ยงสังขารทั้งหลายไม่เที่ยงวิญญาณไม่เที่ยงพิจารณาเห็นโดยความเป็นของไม่เที่ยงในอุปาทานขันธ์๕เหล่านี้เป็นอนิจจังอนัตตสัญญาพิจารณาว่าจักษุเป็นอนัตตารูปเป็นอนัตตาหูเป็นอนัตตาเสียงเป็นอนัตตาจมูกเป็นอนัตตากลิ่นเป็นอนัตตาลิ้นเป็นอนัตตารสเป็นอนัตตากายเป็นอนัตตาโผฏฐัพพะเป็นอนัตตาใจเป็นอนัตตาธรรมารมณ์เป็นอนัตตาพิจารณาเห็นโดยความเป็นอนัตตาในอายตนะทั้งหลายทั้งภายในและภายนอก๖ประการเหล่านี้เป็นอนัตตาอสุภสัญญาพิจารณากายนี้นั่นแลเบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นไปเบื้องต่ำแต่ปลายผมลงมามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบเต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆว่าในกายนี้มีผมขนเล็บฟันหนังเนื้อเอ็นกระดูกเยื่อในกระดูกม้ามเนื้อหัวใจตับพังผืดไตปอดไส้ใหญ่ไส้น้อยอาหารใหม่อาหารเก่าดีเสลดหนองเลือดเหงื่อมันข้นน้ำตาเปลวมันน้ำลายน้ำมูกไขข้อมูตรพิจารณาเห็นโดยความเป็นของไม่งามในกายนี้อาทีนวสัญญาพิจารณาว่ากายนี้มีทุกข์มากมีโทษมากเพราะฉะนั้นอาพาธต่างๆจึงเกิดขึ้นในกายนี้คือโรคตาโรคหูโรคจมูกโรคลิ้นโรคกายโรคศีรษะโรคที่ใบหูโรคปากโรคฟันโรคไอโรคหืดโรคไข้หวัดโรคไข้พิษโรคไข้เซื่องซึมโรคในท้องโรคลมสลบโรคบิดโรคจุกเสียดโรคลงรากโรคเรื้อนโรคฝีโรคกลากโรคมองคร่อโรคลมบ้าหมูโรคหิดเปื่อยโรคหิดด้านโรคคุดทะราดหูดโรคละอองบวมโรคอาเจียนโลหิตโรคดีเดือดโรคเบาหวานโรคเริมโรคพุพองโรคริดสีดวงอาพาธมีดีเป็นสมุฏฐานอาพาธมีเสมหะเป็นสมุฏฐานอาพาธมีลมเป็นสมุฏฐานอาพาธมีไข้สันนิบาตอาพาธอันเกิดแต่ฤดูแปรปรวนอาพาธอันเกิดแต่การบริหารไม่สม่ำเสมออาพาธอันเกิดแต่ความเพียรเกินกำลังอาพาธอันเกิดแต่วิบากของกรรมความหนาวความร้อนความหิวความระหายปวดอุนจิปวดปัสสาวะพิจารณาเห็นโดยความเป็นโทษในกายนี้ปหานสัญญาไม่ยินดีละบรรเทาทำให้หมดสิ้นไปทำให้ถึงความไม่มีซึ่งกามวิตกอันเกิดขึ้นแล้วไม่ยินดีละบรรเทาทำให้หมดสิ้นไปทำให้ถึงความไม่มีซึ่งพยาบาทวิตกอันเกิดขึ้นแล้วไม่ยินดีละบรรเทาทำให้หมดสิ้นไปให้ถึงความไม่มีซึ่งวิหิงสาวิตกอันเกิดขึ้นแล้วไม่ยินดีละบรรเทาทำให้หมดสิ้นไปให้ถึงความไม่มีซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลายอันชั่วช้าที่เกิดขึ้นแล้ว(พิจารณาเห็นว่าวิตกทั้งสองคือกามวิตกและพยาบาทวิตกคือการจองเวรเป็นเหตุให้จิตยินดีในการเวียนว่ายตายเกิดและอวิหิงสาเป็นเหตุให้รับวิบากกรรมในขณะเวียนว่ายตายเกิด)วิราคสัญญาพิจารณาว่าธรรมชาตินั่นสงบธรรมชาตินั่นประณีตคือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวงธรรมเป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง(อุปธิที่ตั้งแห่งทุกข์)ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหาธรรมเป็นที่สำรอกกิเลสธรรมชาติเป็นที่ดับกิเลสและกองทุกข์(ซึ่งก็คือสภาวะของพระนิพพานที่สัมผัสได้ในขณะที่มีชีวิตอยู่นั่นเอง)นิโรธสัญญาพิจารณาว่าธรรมชาตินั่นสงบธรรมชาตินั่นประณีตคือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวงธรรมเป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวงธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหาธรรมเป็นที่ดับโดยไม่เหลือธรรมชาติเป็นที่ดับกิเลสและกองทุกข์(วิราคะและนิโรธล้วนเป็นชื่อหนึ่งของพระนิพพานโดยวิราคะเน้นที่ความสำรอกกิเลสคือการไม่ปรุงแต่งในสิ่งภายนอกราบเรียบเสมอกันส่วนนิโรธเน้นที่ความดับไม่เหลือของกิเลสคือการไม่ยึดติดในสิ่งภายในว่าไม่ใช่ตัวกูของกู)สัพพโลเกอนภิรตสัญญาการกำหนดหมายในความไม่น่าเพลิดเพลินในโลกทั้งปวงละอุบายและอุปาทานในโลกอันเป็นเหตุตั้งมั่นถือมั่นและเป็นอนุสัยแห่งจิตย่อมงดเว้นไม่ถือมั่น(การเห็นสิ่งที่ไม่งดงามแต่สำคัญว่างดงามเพราะจิตเข้าไปปรุงแต่ง)สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญาการกำหนดหมายในความไม่น่าปรารถนาในสังขารทั้งปวงความอึดอัดระอาเกลียดชังแต่สังขารทั้งปวง(การเห็นสิ่งทั้งปวงมีแต่แตกกระจายไป)อานาปานสติการนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายให้ตรงดำรงสติไว้เฉพาะหน้าเธอเป็นผู้มีสติหายใจออกเป็นผู้มีสติหายใจเข้าเมื่อหายใจออกยาวก็รู้ชัดว่าหายใจออกยาวหรือเมื่อหายใจเข้ายาวก็รู้ชัดว่าหายใจเข้ายาวเมื่อหายใจออกสั้นก็รู้ชัดว่าหายใจออกสั้นหรือเมื่อหายใจเข้าสั้นก็รู้ชัดว่าหายใจเข้าสั้นสัญญา_(ศาสนาพุทธ)พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘
สัญญา
อาจจะเพราะครูบาศรีวิชัยซึ่งเป็นที่ศรัทธาของชาวล้านนาท่านห่มดองก็เป็นได้นะคะห่มดอง
อกตัญญูคือผู้ระลึกไม่ได้ว่าใครเคยทำดีเคยช่วยเหลือเกื้อกูลตนมาผู้ลืมบุญคุณของคนอื่นที่ทำแก่ตนมาผู้ไม่ยอมรับบุญคุณของใครทั้งนั้นเรียกว่าคนอกตัญญูมีลักษณะตรงข้ามกับคนกตัญญูอกตัญญูมีลักษณะลบหลู่บุญคุณคนไม่ปรารถนาที่จะตอบแทนความดีของใครชอบลืมเรื่องที่เขาเคยทำเคยช่วยเหลือตนมาแต่ก็ไม่มีความรู้สึกอิ่มที่จะรับจากคนอื่นอีกหากยังมีช่องทางจะได้จากเขาอีกก็จะพอใจหากเห็นว่าหมดโอกาสแล้วก็จะตีจากไปทันทีหรือไม่ก็แสดงกิริยาพูดจาให้ร้ายต่างๆท่านจึงว่า"แม้จะยกแผ่นดินทั้งหมดให้แก่คนอกตัญญูก็จะให้เขายินดีพอใจไม่ได้"
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกตัญญู
อกตัญญู
อกตัญญูแปลว่าผู้ไม่รู้สึกถึงบุญคุณที่ผู้อื่นทำแก่ตนผู้ไม่มีความกตัญญูค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกตัญญู
อกตัญญู
อกาลิโกหมายความว่าพระธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้นให้ผลแก่ผู้ปฏิบัติโดยไม่จำกัดกาลเวลาไม่ขึ้นกับกาลเวลาให้ผลทุกเมื่อทุกโอกาสให้ผลตามลำดับแห่งการปฏิบัติคือได้บรรลุเมื่อใดก็ได้รับผลเมื่อนั้นได้บรรลุถึงระดับใหนก็ให้ผลในระดับเมื่อนั้นทั้งความจริงความแท้แห่งพระธรรมนี้ไม่มีกำหนดอายุกาลจริงแท้อยู่ตลอดกาลจริงแท้อย่างนั้นทุกยุคทุกสมัยด้วยเหตุนี้พระธรรมจึงได้ชื่อว่าอกาลิโกอกาลิโกยังเป็นธรรมคุณคือคุณของพระธรรมประการที่๓ในจำนวน๖ประการอีกด้วยนะคะ
อกาลิโก
อกาลิโก
อกาลิโกแปลว่า(พระธรรม)ไม่ประกอบด้วยกาล
อกาลิโก
อกาลิโก
อกุศลกรรมหมายถึงความชั่วสิ่งที่ไม่ดีใช้แทนคำว่าบาปก็ได้บางครั้งก็ใช้คู่กันไปเป็นบาปอกุศลและเป็นคำตรงกันข้ามกับคำว่ากุศลซึ่งแปลว่าความดีค่ะอกุศลกรรมยังเป็นคำที่ถูกนำมาใช้นำหน้าคำอื่นมากและทำให้มีความหมายไปในทางที่ไม่ดีเช่นอกุศลกรรมหมายถึงความชั่วบาปอกุศลกรรมบทหมายถึงทางแห่งความชั่วทางบาปอกุศลจิตหมายถึงจิตชั่วความคิดชั่วอกุศลเจตนาหมายถึงเจตนาไม่ดีอกุศลมูลหมายถึงรากเหง้าแห่งความชั่วได้แก่โลภะโทสะโมหะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อกุศล
อกุศล
อกุศล
อกุศล
สิ่งที่ไม่ดี
๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ