ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
อัตตัญญุตาเป็นผู้รู้จักตนคือรู้ว่าเรานั้นว่าโดยฐานะภาวะเพศกำลังความรู้ความสามารถความถนัดและคุณธรรมเป็นต้นบัดนี้เท่าไรอย่างไรแล้วประพฤติให้เหมาะสมและรู้ที่จะแก้ไขปรับปรุงต่อไป"ก็ภิกษุเป็นอัตตัญญูอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมรู้จักตนว่าเราเป็นผู้มีศรัทธาศีลสุตะจาคะปัญญาปฏิภาณ"
ธัมมัญญูสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๒๓
สัปปุริสธรรม
อัตตัญญู
อัตถัญญุตาความรู้จักอรรถรู้ความมุ่งหมายหรือเป็นผู้รู้จักผลคือรู้ความหมายรู้ความมุ่งหมายรู้ประโยชน์ที่ประสงค์รู้จักผลที่จะเกิดขึ้นสืบเนื่องจากการกระทำหรือความเป็นไปตามหลักเช่นรู้ว่าหลักธรรมหรือภาษิตข้อนั้นๆมีความหมายว่าอย่างไรหลักนั้นๆมีความมุ่งหมายอย่างไรกำหนดไว้หรือพึงปฏิบัติเพื่อประสงค์ประโยชน์อะไรการที่ตนกระทำอยู่มีความมุ่งหมายอย่างไรเมื่อทำไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้างดังนี้เป็นต้น"ก็ภิกษุเป็นอัตถัญญูอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมรู้จักเนื้อความแห่งภาษิตนั้นๆว่านี้เป็นเนื้อความแห่งภาษิตนี้ๆ"
ธัมมัญญูสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๒๓
สัปปุริสธรรม
อัตถัญญู
อัตภาพอ่านว่าอัดตะภาบแปลว่าความเป็นตนเองภาวะแห่งตนค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อัตภาพ
อัตภาพ
อัตภาพใช้หมายถึงตัวตนร่างกายชีวิตรูปลักษณะเป็นคำบ่งบอกถึงอวัยวะต่างๆในร่างกายของคนตลอดถึงบุคลิกภาพและความเป็นอยู่แห่งชีวิตโดยภาพรวมมีความหมายเดียวกับคำว่าอัตตาซึ่งแปลว่าตัวตนเหมือนกันค่ะอัตภาพได้มีการนำมาใช้ในสำนวนไทยเช่น"เขามีรายได้สมควรแก่อัตภาพ"หมายความว่ามีรายได้พอเลี้ยงตัว"ทำอะไรก็ตามต้องดูอัตภาพตัวเองว่าพอจะทำไหวไหม"หมายความว่าดูร่างการตัวเองด้วย
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อัตภาพ
อัตภาพ
อันตรายิกธรรมหมายถึงสาเหตุที่เป็นอุปสรรคขัดขวางต่อการทำความดีต่อการบรรลุธรรมมี๕อย่างคือกรรมกิเลสวิบากอุปวาทะและอาณาวีติกกมะเช่นการฆ่าบิดาเป็นต้นซึ่งเป็นอนันตริยกรรมเป็นสาเหตุขัดขวางให้ผู้ทำบรรลุนิพพานไม่ได้มิจฉาทิฐิซึ่งเป็นกิเลสเป็นเหตุขัดขวางมิให้เข้าถึงคุณความดีใดๆกำเนิดสัตว์ดิรัจฉานหรือผู้พิการบางประเภทเป็นต้นซึ่งเป็นวิบากกรรมเป็นเหตุขัดขวางให้อุปสมบทไม่ได้การใส่ร้ายพระอริยะเป็นสาเหตุขัดขวางให้บรรลุธรรมขั้นสูงไม่ได้และการต้องอาบัติเป็นเหตุขัดขวางมิให้เข้าหมู่คณะได้ตามปกติเป็นต้นค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อันตรายิกธรรม
อันตรายิกธรรม
อันตรายิกธรรม
บรรลุธรรม
อันตรายิกธรรม
อันตรายิกธรรมอ่านว่าอันตะรายิกะทำแปลว่าธรรมที่เข้ามาในระหว่างธรรมอันกระทำอันตรายคือสิ่งที่สอดแทรกเข้ามาขัดขวางกลางคันน่ะค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อันตรายิกธรรม
อันตรายิกธรรม
อันตรายิกธรรม
อันตรายิกธรรม
อัปปณิหิตวิโมกข์ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์ทุกขัง
อาชีวปาริสุทธิศีลหมายถึงศีลคือความบริสุทธิ์แห่งอาชีวะเลี้ยงชีพในทางที่ชอบธรรมอาชีวปาริสุทธิศีล
อาบัติแปลว่าการต้องการล่วงละเมิดค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
อาบัติ
การล่วงละเมิด
อาบัติทุกกฏเป็นอาบัติที่เบาเมื่อต้องเข้าแล้วก็สามารถแก้ไขได้ตามพระวินัยด้วยแสดงแสดงอาบัติต่อหน้าพระภิกษุด้วยกันด้วยการมีความจริงใจที่จะสำรวมระวังต่อไปแต่ถ้าไม่แก้ไขด้วยการปลงอาบัติก็จะเป็นเครื่องกั้นการบรรลุมรรคผลนิพพานกั้นสุคติภูมิด้วยค่ะ
อาบัติทุกกฏ
อาบัติทุกกฏ
อาบัติทุกกฏ
เบา
อามิสทานคือการให้วัตถุสิ่งของพระพุทธเจ้าตรัสว่าข้าว(อาหาร)และน้ำเป็นทรัพย์โดยปรมัตถ์สิ่งอื่นเป็นทรัพย์โดยบัญญัติเพราะเกิดจากการสมมุติของของคนที่ทำให้เกิดความจำเป็นเช่นเสื้อผ้าถ้าใส่กันอายเงินทองเพชรที่กินไม่ได้และไม่มีประโยชน์อามิสทาน
อามิสบูชาแปลว่าบูชาด้วยอามิสบูชาด้วยสิ่งของค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อามิสบูชา
อามิสบูชา
อายตนะอ่านว่าอายะตะนะแปลว่าที่เชื่อมต่อเครื่องติดต่อค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อายตนะ
อายตนะ
อายตนะ
อายตนะ
แปลว่าที่เชื่อมต่อ
อายตนะภายนอกหมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่นอกตัวคนบ้างเรียกว่าอารมณ์๖มี๖คือรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะธรรมารมณ์ทั้งหมดนี้เป็นคู่กับอายตนภายในค่ะอายตนะภายนอกนี้ยังเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอารมณ์เมื่อตาเห็นรูปเรียกว่าสัมผัสรู้ว่ามีการเห็นเรียกว่าวิญญาณเกิดความรู้สึกขึ้นเมื่อตาเห็นรูปเรียกว่าเวทนาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อายตนะ
อายตนะ
อายตนะภายในหมายถึงสื่อเชื่อมต่อที่อยู่ในตัวคนบ้างเรียกว่าอินทรีย์๖มี๖คือตาหูจมูกลิ้นกายใจทั้งหมดนี้เป็นที่เชื่อมต่อกับอายตนะภายนอกค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อายตนะ
อายตนะ
อาราธนาอ่านว่าอาราดทะนาแปลว่าการทำให้ยินดีทำให้ดีใจทำให้หายโกรธทำให้ชอบทำให้สำเร็จค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาราธนา
อาราธนา
อาราธนาในคำวัดใช้ในความหมายว่าเชิญเชื้อเชิญอ้อนวอนร้องขอภิกษุสามเณรให้ยินดีพอใจทำในสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือร้องขอให้ทำสิ่งใดให้สำเร็จอย่างอาราธนาศีลคือร้องขอให้พระให้ศีลอาราธนาพระปริตรคือร้องขอให้พระสวดมนต์อาราธนาธรรมคือร้องขอให้พระแสดงธรรมอาราธนาไปทำบุญบ้านคือนิมนต์พระไปทำพิธีที่บ้านค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาราธนา
อาราธนา
อาสวกิเลสคือกิเลสที่หมักหมมนอนเนื่องทับถมอยู่ในจิตชุบย้อมจิตให้เศร้าหมองให้ขุ่นมัวให้ชุ่มอยู่เสมอเรียกย่อว่าอาสวะก็ได้ค่ะมี๔อย่างคือกามได้แก่ความติดใจรักใคร่อยู่ในกามคุณภพได้แก่ความติดอยู่ในภพความอยากเป็นโน่นเป็นนี่ทิฏฐิได้แก่ความเห็นผิดความหัวดื้อหัวรั้นอวิชชาได้แก่ความไม่รู้จริงความลุ่มหลงมัวเมา
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
กิเลสที่หมักหมมในจิต
อาสวกิเลสอ่านว่าอาสะวะแปลว่ากิเลสที่หมักดองอยู่ในจิตค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
อาสวกิเลส
แปลว่ากิเลสที่หมักดองอยู่ในจิต
อิฏฐารมณ์คือสิ่งที่คนปรารถนาต้องการอยากได้อยากมีอยากพบเห็นได้แก่กามคุณ๕คือรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสที่ดีชวนให้รักให้ชอบใจและโลกธรรมในส่วนที่ดี๔คือลาภยศสรรเสริญสุขเป็นสิ่งที่เกิดได้แก่ทุกคนแต่มีความจริงว่าเป็นสิ่งไม่เที่ยงทนอยู่ในสภาพนั้นๆไม่ได้นานมีความแปรปรวนเปลี่ยนแปลงไปเป็นธรรมดาเกิดมีได้ก็กลับกลายเป็นอื่นไปได้ค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
สิ่งที่คนปรารถนา
อิฏฐารมณ์อ่านว่าอิดถารมแปลว่าอารมณ์ที่น่าปรารถนาตรงข้ามกับอนิฏฐารมณ์อารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อิฏฐารมณ์
อารมณ์ที่น่าปรารถนา
อินทรียสังวรศีลหมายถึงศีลคือความสำรวมอินทรีย์๖ระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมเกิดขึ้นได้ในขณะที่รับรู้อินทรีย์ทั้งหกคือตาหูจมูกลิ้นกายและใจอินทรียสังวรศีล
อินทรียสังวรศีล
อินทรียสังวรศีล
บาปอินทรีย์๖
อุคคฏิตัญญูพวกที่มีสติปัญญาฉลาดเฉลียวเป็นสัมมาทิฏฐิเมื่อได้ฟังธรรมก็สามารถรู้และเข้าใจในเวลาอันรวดเร็วเปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่พ้นน้ำเมื่อต้องแสงอาทิตย์ก็เบ่งบานทันทีอุคคฏิตัญญู
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ