| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนามีสี่อย่างค่ะศรัทธาในศาสนาพุทธศรัทธาศรัทธาศรัทธามีสี่อย่าง

     ศีลธรรมหมายถึงความประพฤติที่ดีที่ชอบทั้งศีลและธรรมในคำวัดหมายถึงเบญจศีลและเบญจธรรมคือศีล๕และธรรม๕ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์ของสังคมระดับต้นสำหรับให้สมาชิกสังคมประพฤติปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบสุขไม่สดุ้งกลัวไม่หวาดระแวงภัยเป็นหลักประกันสังคมที่สำคัญสังคมที่สงบสุขไว้วางใจกันได้เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันไม่เบียดเบียนไม่ทะเลาะไม่กดขี่ข่มเหงไม่เอารัดเอาเปรียบกันเป็นต้นก็เพราะสมาชิกของสังคมยึดมั่นอยู่ในหลักศีลธรรมนี้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ศีลธรรมศีลธรรมศีลธรรมศีลธรรมชอบทั้งศีลและธรรม

     ศีลวิสุทธิหรือความหมดจดแห่งศีลคือการถือศีลอย่างไม่งมงายละสีลัพพัตตปรามาสด้วยการมีศรัทธาพละสมดุลกับปัญญาพละไม่ศรัทธาจนถืออย่างไม่เข้าใจหรือมีปัญญามากเกิดความลังเลสงสัยได้แต่ถือแต่ใจกลับไม่มีศรัทธาศีลวิสุทธิศีลวิสุทธิศีลวิสุทธิศีลวิสุทธิความหมดจดแห่งศีล

     ศรัทธาแก้วิจิกิจฉาพละ๕ที่เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณ์วิจิกิจฉาวิจิกิจฉาศรัทธา

     ศีลคือข้อปฏิบัติตนขั้นพื้นฐานในทางพระพุทธศาสนาเพื่อควบคุมความประพฤติทางกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงามมีความปกติสุขทำให้เกิดความสงบสุขและไม่มีการเบียดเบียนซึ่งกันและกันในสังคมค่ะ ศีล ศีล ศีล ทำให้ได้ความเป็นมนุษย์

     ศีลแบ่งเป็น๓ระดับคือจุลศีล(ศีลอย่างน้อย)ได้แก่คหัฏฐศีลทั้ง๒คือศีล๕และอาชีวัฏฐมกศีลมัชฌิมศีล(ศีลอย่างกลาง)ได้แก่บรรพชาศีลทั้ง๒คือได้แก่อัฏฐศีลและทสศีลมหาศีล(ศิลอย่างสูง)ได้แก่อุปสมบททั้ง๒คือภิกษุณีวินัยและภิกษุวินัย ศีล ศีล ศีล

     ศีลแบ่งเป็น๓ระดับคือจุลศีล(ศีลอย่างน้อย)ได้แก่คหัฏฐศีลทั้ง๒คือศีล๕และอาชีวัฏฐมกศีลมัชฌิมศีล(ศีลอย่างกลาง)ได้แก่บรรพชาศีลทั้ง๒คือได้แก่อัฏฐศีลและทสศีลมหาศีล(ศิลอย่างสูง)ได้แก่อุปสมบททั้ง๒คือภิกษุณีวินัยและภิกษุวินัย ศีล ศีล ศีล

     ศีล๒๒๗

     ศีลกุศลกรรมบท๑๐หรือเรียกว่าอาทิพรหมจริยาศีลหรือเรียกอีกอย่างว่านวศีล

     ศีลจะขาดนี่เพราะใจอย่างเดียวไม่ได้นะค่ะเช่นนึกฆ่าสัตว์ยังไม่ได้ลงมือทำถือว่าศีลยังไม่ขาดเพราะยังไม่ได้ประกอบด้วยกายวาจาแต่ถ้าฆ่าด้วยกายหรือใช้เขาฆ่าด้วยวาจาของอย่างนี้ศีลขาดเป็นความผิดบาปค่ะส่วนเรื่องศีลด่างศีลพร้อยนี่ก็อีกเรื่องนึงนะคะ ศีล ศีล ศีล

     ศีลสำหรับพระภิกษณีุมีในภิกขุนีปาฏิโมกข์,เป็นวินัยของภิกษุณีสงฆ์ทำผิดถือว่าเป็นอาบัติสามารถแบ่งออกได้เป็นลำดับขั้นตั้งแต่ขั้นรุนแรงจนกระทั่งเบาที่สุดดังนี้๑ปาราชิก๘ข้อ๒สังฆาทิเสส๑๗ข้อ๓นิสสัคคิยปาจิตตีย์๓๐ข้อ๔ปาจิตตีย์๑๖๖ข้อ ๕ปาฏิเทสนียะ๘ข้อ๖เสขิยะ๗๕ข้อโดยแบ่งเป็น๔หมวดคือสารูป๒๖ข้อโภชนปฏิสังยุตต์๓๐ข้อธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์๑๖ข้อและปกิณณกะอีก๓ข้อสุดท้าย๗อธิกรณสมถะ๗ข้อรวมทั้งหมดแล้ว๓๑๑ข้อผิดข้อใดข้อหนึ่งถือว่าต้องอาบัติการแสดงอาบัติสามารถกล่าวกับพระภิกษุณีรูปอื่นเพื่อเป็นการแสดงตนต่อความผิดได้แต่ถ้าถึงขั้นปาราชิกก็ต้องสึกอย่างเดียวค่ะ

     ศีลห้าไปได้สุดก็เทวโลกศีลแปดไปพรหมโลกเลยสิคะ ศีล ศีล๕และศีล๘ ศีล พรหมโลก



๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ