ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ธรรมขันธ์หมายถึงกองธรรมหมวดธรรมประมวลธรรมเข้าเป็นหมวดใหญ่
ธรรมขันธ์
ความหมายของธรรมขันธ์
ธรรมนิยามอันได้แก่กฎไตรลักษณ์ทั้ง๓คืออนิจจังทุกขังอนัตตา(ดูที่ธรรมนิยามสุตตัง)คือธาตุทั้งปวงเป็นมีสถานะเป็นกระแสสั่นสะเทือน(คลื่น)ผันผวนไม่แน่นอนสิ่งใดเกิดขึ้นเป็นธรรมดาสิ้งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดาสัตว์ทั้งปวงย่อมต้องเกิดแก่เจ็บตายทั้งสิ้นเป็นกฎธรรมชาติที่เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเป็นกฎสากลที่ครอบคลุมความเป็นไปทั้งฝ่ายจิตและฝ่ายวัตถุกฎข้อนี้มีขอบเขตครอบคลุมกว้างขวางที่สุดของทุกนิยามกฎนิยามทั้งปวงอยู่ภายใต้กฎข้อนี้เป็นกฎธรรมนิยามนี้ก็ทำให้เกิดนิยามข้ออื่นและนิยามข้ออื่นๆที่สัมพันธ์กันก็ทำให้เกิดกฎธรรมนิยามอันนี้เช่นกันเช่นการจุดไม้ขีดไฟอุตุนิยามทำให้เกิดการเผาไหม้เปลี่ยนแปลงสูญสลายไปธรรมนิยาม
ธรรมนิยาม
ธรรมนิยาม
ธรรมเมกขสถูปแปลว่าสถูปผู้เห็นธรรมค่ะ
วันอาสาฬหบูชา
ธรรมเมกขสถูป
ธรรมเมกขสถูป
สถูปผู้เห็นธรรม
ธัมมจักกัปปวัตนสูตรหรือเขียนอย่างภาษามคธว่าธัมมจักกัปปวัตตนสูตรเป็นปฐมเทศนาเทศนากัณฑ์แรกที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสธัมมจักกัปปวัตนสูตรนี้อยู่ดวงตาเห็นธรรมปราศจากธุลีปราศจากมลทินก็ได้เกิดขึ้นแก่ท่านพระโกณฑัญญะนับเป็นพระสงฆ์สาวกองค์แรกในพระพุทธศาสนาวันนั้นเป็นวันเพ็ญกลางเดือนอาสาฬหะหรือเดือน๘เป็นวันที่พระรัตนตรัยครบบริบูรณ์บังเกิดขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกคือมีพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ครบบริบูรณ์ธัมมจักกัปปวัตนสูตรมีเนื้อหาแสดงถึงการปฏิเสธส่วนที่สุดสองอย่างคือสบายสุดๆกับทุกข์สุดๆและเสนอแนวทางดำเนินชีวิตโดยสายกลางอันเป็นแนวทางใหม่ให้มนุษย์มีเนื้อหาแสดงถึงขั้นตอนและแนวทางในการปฏิบัติเพื่อบรรลุถึงอริยสัจทั้ง๔คืออริยมรรคมีองค์๘โดยเริ่มจากทำความเห็นให้ถูกทางสายกลางก่อนเพื่อดำเนินตามขั้นตอนการปฏิบัติรู้เพื่อละทุกข์ทั้งปวงเพื่อความดับทุกข์อันได้แก่นิพพานซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ปฐมเทศนา
ธัมมัญญุตาเป็นผู้รู้จักธรรมรู้หลักหรือรู้จักเหตุคือรู้หลักความจริงรู้หลักการรู้หลักเกณฑ์รู้กฎแห่งธรรมดารู้กฎเกณฑ์แห่งเหตุผลและรู้หลักการที่จะทำให้เกิดผลเช่นภิกษุรู้ว่าหลักธรรมข้อนั้นๆคืออะไรมีอะไรบ้างพระมหากษัตริย์ทรงทราบว่าหลักการปกครองตามราชประเพณีเป็นอย่างไรมีอะไรบ้างรู้ว่าจะต้องกระทำเหตุอันนี้ๆหรือกระทำตามหลักการข้อนี้ๆจึงจะให้เกิดผลที่ต้องการอันนั้นๆเป็นต้น"ก็ภิกษุเป็นธัมมัญญูอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมรู้ธรรมคือสุตตะเคยยะไวยากรณะคาถาอุทานอิติวุตตกะชาตกะอัพภูตธรรมเวทัลละ"
ธัมมัญญูสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๒๓
สัปปุริสธรรม
ธัมมัญญู
ธัมมัญญู
ธัมมัญญู
รู้จักธรรม
ธุดงควัตรหมายถึงกิจวัตรของการธุดงค์ที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตมี๑๓วิธีจัดเป็นข้อสมาทานละเว้นและข้อสมาทานปฏิบัติคือ๑ปังสุกูลิกังคะละเว้นใช้ผ้าที่ประณีตเหมือนที่คหบดีใช้พระป่านิยมใช้ผ้าท่อนเก่าสมาทานถือใช้แต่ผ้าบังสุกุลที่เขาทิ้งแล้วข้อนี้ตามคัมภีร์เมื่อเทียบกับวัดป่าไม่ต่างกัน๒เตจีวริตังคะละเว้นการมีผ้าครอบครองและใช้สอยผ้าเกิน๓ผืนวัดป่าสมาทานการใช้สอยผ้าไตรจีวรในความหมายว่าผ้านุ่งผ้าห่มผ้าคลุมด้วยในทางปฏิบัติจะใช้ผ้าคลุมนุ่งเมื่อซักตากผ้านุ่งและผ้าห่มชั่วคราวคือผ้าที่เป็นผืนๆที่ไม่ได้ตัดเป็นชุดตามหลักผ้าใช้นุ่งห่มเพื่อกันความร้อนความเย็นและปกปิดร่างกายกันความน่าอายเท่านั้น๓ปิณฑปาติกังคะละเว้นรับอดิเรกลาภคือรับนิมนต์ไปฉันที่ได้มานอกจากบิณฑบาตรเช่นไปฉันที่บ้านที่โยมจัดไว้ต้อนรับสมาทานเที่ยวบิณฑบาตเป็นประจำข้อนี้ตามคัมภีร์เมื่อเทียบกับวัดป่าไม่ต่างกัน๔สปทานจาริปังคะละเว้นการโลเลยึดติดเที่ยวจาริกภิกขาจารเพื่อมิให้ผูกพันกับญาติโยมสมาทานบิณฑบาตรตามลำดับลำดับบ้านไม่เลือกบ้านที่จะรับบิณฑบาตเดินแสวงหาบิณฑบาตไปตามลำดับส่วนของวัดป่าบางที่นั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีกคือละเว้นบิณฑบาตซ้ำที่เดิมถืออย่างเบาย้ายสายบิณฑบาตทุกวันอย่างหนักออกเดินทางย้ายที่เที่ยวบิณฑบาตไม่ต่ำกว่าที่เดิมไม่เกินโยชน์๑๖กิโลเมตรสมาทานบิณฑบาตตามลำดับบ้านลำดับอายุพรรษาไม่เดินแซงแย่งอาหารซึ่งไม่ผิดจากพระไตรปิฎกอรรถกถาแต่อย่างใดสามารถทำได้เช่นกัน
ธุดงค์
ธุดงควัตร
ธุดงค์
ธุดงควัตร
วัตรธุดงค์๑
ประมวลธรรมเข้าเป็นหมวดใหญ่มี๕หมวดคือสีลขันธ์สมาธิขันธ์ปัญญาขันธ์วิมุตติขันธ์วิมุตติญาณทัสสนขันธ์และกำหนดหมวดธรรมในพระไตรปิฎกว่ามี๘๔,๐๐๐พระธรรมขันธ์แบ่งเป็นวินัยปิฎก๒๑,๐๐๐สุตตันตปิฎก๒๑,๐๐๐และอภิธรรมปิฎก๔๒,๐๐๐พระธรรมขันธ์
ธรรมขันธ์
พระธรรมขันธ์
ปัจจุบันสถานที่พระพุทธเจ้าประกาศพระอนุตตรสัจธรรมเป็นครั้งแรกและสถานที่บังเกิดพระสงฆ์องค์แรกในโลกอยู่ในบริเวณที่ตั้งของธรรมเมกขสถูปภายในอิสิปตนมฤคทายวันหรือสารนาถในปัจจุบัน
วันอาสาฬหบูชา
ธรรมเมกขสถูป
ธรรมเมกขสถูป
ภายในอิสิปตนมฤคทายวัน
พระพากุลเถระท่านมาโปรดเมตตาหลวงปู่ชอบท่านแหละค่ะ
เรียบเรียงโดยเธียรนันท์จากหนังสือวินาทีบรรลุธรรมอรหันต์มีจริง๑
ธุดงควัตร
ธุดงค์
ธุดงควัตร
พระพากุลเถระหลวงปู่ชอบ
สถานที่พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนาและประกาศส่งพระสาวกไปเผยแพร่พระศาสนาค่ะ
วันอาสาฬหบูชา
ธรรมเมกขสถูป
ธรรมเมกขสถูป
สถานที่แสดงปฐมเทศนา
อันนี้ว่าตามพระอาจารย์นะคะแปลว่าความจริงค่ะ
ธรรม
ความหมายของคำว่าธรรม
ธรรมะ
ธรรมะ
ความจริง
เนื้อหาในพระธัมมจักกัปปวัตตนสูตรมี๓ตอนดังนี้สิ่งที่ไม่ควรเสพสองอย่างมัชฌิมาปฏิปทาและอริยสัจสี่ค่ะ
วันอาสาฬหบูชาธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
มี๓ตอน
โดยรูปศัพท์ธุดงค์แปลว่าองค์คุณเป็นเครื่องกำจัดกิเลสองค์คุณของผู้กำจัดกิเลสหรือการสมาทานเพื่อเป็นเครื่องกำจัดกิเลสอันอันตรายต่อสัมมาปฏิบัติ
ธุดงค์
ธุดงค์
ธุดงค์
ธุดงค์
เครื่องกำจัดกิเลส
๑๐อัพโภกาสิกังคะละเว้นการเข้าในที่มีที่มุงที่บังและใต้ต้นไม้สมาทานอยู่กลางแจ้งคือการไม่เข้าไปพักในร่มไม้หรือชายคาหลังคาใดๆหรือแม้การกางร่มกลดเพื่อกันแดดกันฝนก็ไม่ได้ห้ามทั้งซุ้มจีวรและการใช้มุงใดๆวัดป่าบางทีก็ถือการไม่ใช่อาสนะใดๆเลยเช่นเก้าอี้เตียงผ้าปูหรือแม้แต่ผูกเปลรวมทั้งไม่นอนบนต้นไม้โดยถือหลักการไม่อิงอาศัยสิ่งใดเกินจำเป็นแม้แต่รองเท้าก็ตาม๑๑โสสานิกังคะละเว้นการอยูในสถานที่ไม่เปลี่ยวสมาทานอยู่ป่าช้าในคัมภึร์หมายถึงป่าช้าเผาศพซึ่งต้องเคยมีการเผาศพมาก่อนอย่างน้อยครั้งหนึ่งแต่ไม่ใช่ป่าช้าฝังผีข้อนี้ก็เหมือนกับ๒ข้อก่อนตรงที่ถ้าไม่ได้อยู่ในป่าช้าตอนตะวันขึ้นธุดงค์ก็แตกเช่นกันวัดป่ามักถือการไม่อยู่ในป่าช้าใกล้ๆกับที่มีมนุษย์อยู่ในบริเวณใกล้ๆกับสถานที่ตนอยู่เพราะการอยู่ในป่าช้าก็เพื่อการทดสอบจิตใจต่อการกลัวในความมืดและความเงียบโดยการอยู่ในที่เปลี่ยวในป่าช้าห่างไกลผู้คนและหมายถึงป่าทั้งที่ฝังและเผาสนสงัดสุสานมีปกติสงัดดี๑๒ยถาสันถติกังคะละเว้นการโลเลยึดติดในเสนาสนะสมาทานอยู่ในที่ตามมีตามได้เสนาสนคาหาปกะจัดให้อย่างไรก็อยู่ตามนั้นส่วนของวัดป่านั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีกคือละเว้นการนอนซ้ำที่เดิมเพื่อไม่หวงแหนในติดในสถานที่โดย๑ถืออย่างเบาคือนอนย้ายที่ในอาวาสทุกวัน๒ถืออย่างหนักคือออกเดินทางย้ายที่นอนทุกวัน๓ถ้านอกอาวาสถ้าหลายรูปให้พรรษาที่สูงกว่าเลือกให้และให้พรรษาสูงกว่าเลือกก่อนข้อนี้เป็นสมาจาริกศีลไม่ใช่ธุดงค์และ๔อยู่บนกุฏิวิหารให้ทำให้สะอาดถ้าตามโคนไม้ไม่กวาดหรือทำอะไรเพราะใบไม้มีประโยชน์เช่นทำให้เท้าไม่เปื้อนก่อนเข้าอาสนะและสัตว์หรือคนเข้ามาย่อมได้ยินเสียง๑๓เนสัชชิกังคะสมาทานถืออิริยาบถนั่งอิริยาบถยืนอิริยาบถเดินเพียง๓อิริยาบถไม่อยู่ในอิริยาบถนอนส่วนของวัดป่านั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีกคือละเว้นการหลับด้วยซึ่งก็ทำได้ไม่ผิดมักเรียกการประพฤตินี้ว่าเนสัชชิก
ธุดงค์
ธุดงควัตร
ธุดงค์
ธุดงควัตร
วัตรธุดงค์๓
๕เอกาสนิกังคะละเว้นอาสนะที่สองสมาทานอาสนะเดียวฉันมื้อเดียวปกติมักถือการนั่งฉันเมื่อเคลื่อนก้นจากฐานอาสนะที่นั่งเป็นอันยุติการฉันหรือรับประทานอาหารในวันนั้นส่วนของวัดป่านั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีกคือจะกำหนดเวลาฉันในแต่ละวันเช่นกำหนดฉันเวลา๙นาฬิกาก็จะฉันในเวลานั้นทุกวันจะไม่ฉันก่อนเวลานั้นหรือหลังเวลานั้นเช่นเวลา๘นาฬิกาหรือ๑๐นาฬิกาจะไม่เปลี่ยนเวลาฉันตามความอยากฉันหรือไม่อยากฉันตามอารมณ์แต่ฉันตามสัจจะตามเวลาที่อธิษฐานไว้๖ปัตตปิณฑิกังคะละเว้นฉันภาชนะที่๒ใส่อาหารรวมในภาชนะเดียวกันทั้งหมดสมาทานฉันเฉพาะในบาตรส่วนของวัดป่าบางที่นั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีกคือจะต้องคนอาหารรวมกันด้วยซึ่งแม้จะไม่มีในข้อธุดงค์ตามคัมภีร์แต่ก็ทำได้ไม่ผิดอะไร๗ขลุปัจฉาภัตติกังคะละเว้นการรับประทานอาหารเหลือสมาทานเมื่อเริ่มลงมือฉันแล้วไม่ยอมรับเพิ่มส่วนของวัดป่าบางที่นั้นจะมีวิธีการเพิ่มออกนอกไปจากคัมภีร์อีกคือละเว้นฉันเหลือให้เป็นเดนฉันเหลือเนื่องจากไม่ประมาณในการบริโภคซึ่งก็ทำได้ไม่ผิดทั้งยังเป็นมรรยาทที่ดีงามและพบตัวอย่างของพระสมัยพุทธกาลที่ทำเช่นนี้ด้วยอติริตตอาหารอันเป็นเดน๘อารัญญิกังคะละเว้นการอยู่ในเสนาสนะใกล้บ้านสมาทานการอยู่ในป่าไกล๕๐๐ชั่วคันธนูหรือราว๑กิโลเมตรโดยจะต้องให้ตะวันขึ้นในป่าหากตัวอยู่ในบ้านตอนตะวันขึ้นเป็นอันธุดงค์แตกสมาทานถืออยู่ในป่าวนกลุ่มต้นไม้,อรัญญป่าไกลบ้าน๙รุกขมูลิกังคะละเว้นนอนในที่มีที่มุงที่บังเช่นบ้านถ้ำกุฏิสมาทานอยู่โคนไม้แต่ท่านอนุญาตให้ทำซุ้มจีวรได้ส่วนของวัดป่าบางที่นั้นจะต่างออกไปเล็กน้อยคือจะใช้การปักกลดแทนประเพณีนี้ไม่ทราบที่มาแน่ชัดนักแต่ถ้าไม่เอาด้ามกลดปักดินก็ทำได้เพราะถึงอย่างไรกลดก็ไม่ใช่กุฏิปักกลดคือการกางร่มกลดร่มที่พระใช้ขณะเดินทางใต้ต้นไม้เป็นวิธีการของพระสายวัดป่าไทยโดยเฉพาะแต่เดิมครั้งพุทธกาลไม่มีมาก่อนกลดมี๒ลักษณะคือผูกเชือกแล้วแขวนกลดและใช้ด้ามกลดปักพื้นมักทำพระอาบัติปาจิตตีย์กันบ่อยด้วยปฐวิขณนสิกขาบทเพราะจงใจขุดดินทั้งที่รู้ตัวบางรูปวางกับพื้นเรียกว่ากางโลงศพเพราะได้แต่อิริยาบถนอนในกลดเท่านั้นลุกมานั่งสมาธิไม่ได้แต่สามารถถือวางพาดบ่าก็ลุกนั่งได้โดยปกติจะครอบคลุมด้วยผ้ามุงทรงกระบอกเพื่อกันยุงในครั้งพุทธกาลพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ใส่รองเท้าเมื่อเดินลุยในน้ำไม่ทรงอนุญาตให้ใส่ที่อื่นเนื่องจากเดินลุยน้ำเรามองไม่เห็นว่าในน้ำมีอะไรจึงต้องใส่รองเท้าแต่บนพื้นเรามองเห็นอยู่จะพลาดเหยียบหนามก็เพราะขาดสติทรงอนุญาตให้ใส่รองเท้าในวัดหรือป่าเป็นต้นได้แต่ห้ามใส่เข้าในเขตหมู่บ้านอีกทั้งทรงอนุญาตให้ใช้ร่มเมื่อเข้าไปในใต้ต้นไม้เพื่อป้องกันการร่วงหล่นใส่ของกิ่งไม้แต่ในเบื้องต้นยังไม่อนุญาตให้กางนอกต้นไม้เพื่อใช้กันแดดกันฝนในคัมภีร์ท่านไม่ได้อนุญาตให้กางร่มกลดไว้แต่หากเอาตามอัพโภกาสิกังคธุดงค์แล้วก็ทรงอนุญาตให้ทำซุ้มจีวรได้สันนิษฐานว่าคงเป็นผ้ามุ้งหูเดียวที่ผูกแขวนใต้ต้นไม้เพราะข้อธุดงค์รุกขมูลที่กำหนดไว้ให้อยู่ใต้ต้นไม้ไม่น่าจะเป็นการเอาไม้มาพาดแล้วคลุมด้วยผ้าคล้ายเต็นท์เพราะเต็นท์จะอยู่นอกใต้ต้นไม้ได้อย่างไรก็ตามการใช้กลดก็ไม่ผิดเพราะก็อยู่โคนไม้ไม่ใช่กุฏิเหมือนกัน
ธุดงค์
ธุดงควัตร
ธุดงค์
ธุดงควัตร
วัตรธุดงค์๒
ถามถึงนิมิตนี่ในทางกรรมฐานหรือในเรื่องของลูกนิมิตคะ
นิมิต
นิมิต
กรรมฐานหรือลูกนิมิต
พูดถึงนิมิตในทางกรรมฐานหรือลูกนิมิต
สถานะสงสัย
แล้วเป็นอย่างที่เค้าว่าไม๊หล่ะคะ
โดนนินทา
นินทา
อย่างเค้าว่า
นวกรรมคือการก่อสร้างโดยปกติเป็นงานของชาวบ้านพระสงฆ์มีหน้าที่อำนวยการหรือควบคุมดูแลให้งานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยดังเช่นพระมหาโมคคัลคานะได้รับมอบหมายจากพระพุทธเจ้าให้เป็นผู้อำนวยการก่อสร้างบุพพารามของนางวิสาขาเรียกภิกษุผู้ทำหน้าที่นี้ว่านวกัมมัฏฐายี(ผู้อำนวยการก่อสร้าง)บ้างนวกัมมิกะ(ผู้ดูแลนวกรรม)บ้างนวการ(ผู้ก่อสร้าง)บ้างในทางพุทธศาสนานวกรรมหมายถึงงานสาธารณูปการคืองานที่เกี่ยวกับการก่อสร้างการบูรณะปฏิสังขรการดูแลจัดการวัดเรื่องเสนาสนะและถาวรวัตถุต่างๆภายในวัดรวมถึงการทำให้วัดสะอาดร่มรื่นเป็นต้นเรียกรวมว่างานนวกรรม
นวกรรม
นวกรรม
นวกรรม
การก่อสร้าง
นวกรรมแปลว่าการทำให้ใหม่คือการก่อสร้าง
นวกรรมแปลว่าอะไร
นวกรรม
นวกรรม
ทำให้ใหม่
นวกะพระวินัยใช้หมายถึงภิกษุที่มีพรรษายังไม่ครบ๕เป็นพระที่นับว่ายังเป็นผู้ใหม่จึงยังต้องอยู่ในความปกครองดูแลของพระอุปัชฌาย์ซึ่งพระวินัยเรียกว่ายังต้องถือนิสสัยอยู่พระนวกะมีระเบียบว่าจะต้องศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยเพื่อรักษาตนทุกรูปสำหรับพระนวกะผู้อยู่จำพรรษาแรกเจ้าอาวาสและเจ้าคณะผู้ปกครองจะจัดการเรียนการสอนให้เป็นพิเศษโดยเฉพาะก่อนออกพรรษาจัดให้มีการสอบด้วยเรียกว่าสอบชั้นนวกภูมิหรือสอบนวกภูมิ
นวกะ
นวกะ
นวกะ
ภิกษุพรรษาไม่ครบ๕
นวกะแปลว่าผู้ใหม่ผู้บวชใหม่พระใหม่เรียกว่าพระนวกะค่ะ
ความหมายของคำว่านวกะ
นวกะ
นวกะ
ผู้บวชใหม่
นวังคสัตถุศาสน์หมายถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมดซึ่งแบ่งเป็นส่วนย่อยตามลักษณะที่เหมือนกันได้๙อย่างคือ๑สุตตะได้แก่พระสูตรต่างๆและวินัย๒เคยยะได้แก่พระสูตรที่มีคาถาผสม๓เวยยากรณะได้แก่ข้อความร้อยแก้วล้วนๆเช่นอภิธรรมปิฎก๔คาถาได้แก่ข้อความร้อยกรองที่เป็นคาถาล้วนๆเช่นธรรมบทเถรคาถา๕อุทานได้แก่ข้อความที่เป็นพุทธอุทาน๖อิติวุตตกะได้แก่ข้อความที่ตรัสอุเทศแล้วแสดงนิเทศจบลงด้วยบทสรุป(นิคม)๗ชาตกะได้แก่ชาดกทั้งหมด๘อัพภูติธรรมได้แก่พระสูตรว่าด้วยเรื่องอรรศจรรย์ต่างๆ๙เวทัลละได้แก่ข้อความที่ถามตอบกันไปมาดังนั้นนวังคสัตถุศาสน์จึงหมายถึงพระพุทธพจน์หรือพระธรรมวินัยก็ได้
นวังคสัตถุศาสน์
นวังคสัตถุศาสน์
นวังคสัตถุศาสน์
คำสอนพระพุทธเจ้าลักษณะ๙อย่าง
นวังคสัตถุศาสน์อ่านว่านะวังค่ะสัดถุสาดแปลว่าคำสอนของพระศาสดามีองค์๙
นวังคสัตถุศาสน์แปลว่าอะไร
นวังคสัตถุศาสน์
นวังคสัตถุศาสน์
คำสอนของพระศาสดา
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ