| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     นวโกวาทเป็นชื่อหนังสือที่เป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสวัดบวรนิเวศวิหารเป็นหนังสือที่ประมวลหัวข้อธรรมจากพระไตรปิฎกสำหรับสั่งสอนอบรมและศึกษาเล่าเรียนของพระนวกะโดยเฉพาะผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ง่ายต่อมาใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรีหนังสือนวโกวาทมี๓ส่วนส่วนต้นเป็นวินัยบัญญัติหรือศีลของภิกษุส่วนกลางเป็นธรรมวิภาคคือธรรมที่ต้องแยกคัดจัดไว้เป็นหมวดหมู่เช่นธรรมที่มี๒ข้อย่อยรวมไว้หมวดหนึ่งมี๓ข้อย่อยรวมไว้หมวดหนึ่งเป็นต้นและส่วนหลังเป็นคิหิปฏิบัติคือหลักปฏิบัติและหลักควรเว้นสำหรับคฤหัสถ์หรือชาวบ้านทั่วไปเช่นอบายมุขเป็นต้นหนังสือเล่มนี้เป็นนิยมใช้กันมากในวงการนักศึกษาพระธรรมวินัยตลอดพระราชอาณาจักรและเหมาะสำหรับทุกครอบครัวที่จะมีไว้เพื่อการศึกษา นวโกวาท นวโกวาท นวโกวาท หนังสือของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า

     นวโกวาทแปลว่าคำสั่งสอนพระใหม่หรือพระบวชใหม่ ความหมายของคำว่านวโกวาท นวโกวาท นวโกวาท คำสอนพระใหม่

     นันทวนุทยานหรือสวนนันทวันแปลว่าสวนที่รื่นรมย์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ในสวนด้านที่ใกล้กับตัวเมืองมีสระใหญ่๒สระสระหนึ่งมีชื่อว่าสระนันทาโบกขรณีอีกสระหนึ่งมีชื่อว่าจุลนันทาโบกขรณีมีแผ่นศิลา๒แผ่นแผ่นหนึ่งมีชื่อว่านันทาปริถิปาสาณอีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่าจุลนันทาปริถิปาสาณเป็นศิลาที่มีรัศมีเรืองรองเมื่อจับดูจะรู้สึกว่านิ่มเหมือนขนสัตว์ อุทยานบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ นันทวนุทยาน นันทวนุทยาน สวนที่รื่นรมย์

     นิกายนิยมใช้ใน๒ความหมายคือความหมายหนึ่งเป็นชื่อเรียกคัมภีร์พระสุตตันตปิฎกที่แยกออกเป็น๕หมวดคือฑีฆนิกายมัชฌิมนิกายสังยุตตนิกายอังคุตตรนิกายและขุททกนิกายอีกความหมายหนึ่งเป็นชื่อเรียกคณะนักบวชในศาสนาเดียวกันแต่แยกไปเป็นพวกๆตามความเห็นที่ไม่ตรงกันซึ่งมีในทุกศาสนาในพุทธศาสนาก็อย่างมหานิกายกับธรรมยุตินิกายทักษิณนิกายกับอุตรนิกาย นิกาย นิกาย นิกาย คณะนักบวชในศาสนา

     นิกายแปลว่าหมวดหมู่พวกค่ะ นิกาย นิกาย นิกาย หมวดหมู่พวก

     นิคหกรรมที่ระบุไว้ในพระธรรมวินัยมี๖วิธีคือ๑ตัชนียกรรมข่มไว้ด้วยการตำหนิโทษ๒นิยสกรรมถอดยศทำให้หมดอำนาจหน้าที่๓ปัพพาชนียกรรมขับไล่ออกจากหมู่คณะให้สึก๔ปฏิสารณียกรรมบังคับให้ขอขมาเมื่อล่วงเกินคฤหัสถ์๕อุกเขปนียกรรมตัดสิทธิ์ที่จะพึงได้บางอย่าง๖ตัสสาปาปิยสิกากรรมลงโทษหนักกว่าความผิดฐานให้การกลับไปกลับมา นิคหกรรม นิคหกรรม ๖วิธี นิคหกรรม

     นิคหกรรมอ่านว่านิกค่ะหะกำแปลว่าการข่ม ความหมายของนิคหกรรม นิคหกรรม การข่ม นิคหกรรม

     นิตยภัตอ่านว่านิดตะยะพัดแปลว่าอาหารประจำ นิตยภัตแปลว่าอะไร นิตยภัต อาหารประจำ

     นิพพิทาหมายถึงความเบื่อหน่ายในกองทุกข์คือเบื่อหน่ายคลายความกำหนัดยินดีในสังขารด้วยการรู้แจ้งเห็นจริงว่าเป็นสิ่งน่าเบื่อเป็นอนิจจังทุกขังอนัตตาไม่น่ายึดมั่นถือมั่นเป็นความเบื่อหน่ายด้วยปัญญาเบื่อหน่ายถาวรและเกิดขึ้นในทุกสังขารความเบื่อหน่ายธรรมดาความเบื่อหน่ายในสิ่งที่ไม่ชอบเช่นคนป่วยเบื่อหน่ายอาหารภรรยาเบื่อหน่ายสามีที่มีชู้ครูเบื่อหน่ายนักเรียนเกเรไม่จัดเป็นนิพพิทาเพราะไม่เป็นการเบื่อหน่ายแบบถาวรแต่เป็นประเภทเบื่อๆอยากๆนิพพิทาจัดเป็นนิพพิทาญาณคือความหยั่งรู้ด้วยค้วยความเป็นจริงในสังขารด้วยความเบื่อหน่ายเป็นทางให้เกิดวิสุทธิมรรคผลนิพพาน นิพพิทา นิพพิทา ความเบื่อหน่ายในกองทุกข์ นิพพิทา

     นิพพิทาแปลว่าความเบื่อหน่าย นิพพิทาแปลว่าอะไร นิพพิทา ความเบื่อหน่าย นิพพิทา

     นิมนต์ใช้ในความหมายว่าเชิญหรือเชื้อเชิญภิกษุสามเณรเช่นนิมนต์มาทางนี้เถิดครับหมายความว่าขอเชิญมาทางนี้และเรียกการเชิญด้วยหนังสือว่าฎีกานิมนต์นิมนต์เป็นคำที่ใช้แทนคำว่าอาราธนาก็ได้แต่ไม่นิยมใช้คู่กันเป็นอาราธนานิมนต์กล่าวคือนิยมใช้คำใดคำหนึ่งเท่านั้นก็เป็นอันเข้าใจเพราะมีความหมายอย่างเดียวกันอย่างเช่นที่ใช้คำว่าขออาราธนาพระคุณเจ้าที่ได้รับอาราธนานิมนต์ไว้ขึ้นมาบนศาลาเพื่อฉันภัตตาหารเพลได้แล้วขอรับอย่างนี้ถือว่าใช้ไม่ถูกต้องตามความนิยม นิมนต์ นิมนต์ เชื้อเชิญ นิมนต์

     นิมิตหมายถึงวัตถุที่เป็นเครื่องหมายบอกกำหนดเขตหรือแดนแห่งสีมาเป็นเครื่องหมายบอกเขตสีมาที่พระวินัยกำหนดให้ใช้ได้มี๘อย่างคือภูเขาศิลาป่าไม้ต้นไม้จอมปลวกหนทางแม่น้ำน้ำแต่ที่นิยมกันมากที่สุดคือใช้ศิลาหรือหินเป็นนิมิตนิมิตที่เป็นศิลาหรือสกัดศิลาให้มีลักษณะกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ๓๐ถึง๓๘เซนติเมตรเรียกว่าลูกนิมิตแต่ละสีมาจะใช้ลูกก่อนทำสังฆกรรมผูกสีมานิยมจัดงานกันเอิกเกริกโดยถือกันว่าเป็นงานบุญใหญ่เรียกว่างานปิดทองลูกนิมิตเมื่อทำพิธีตามพระวินัยเสร็จแล้วจะฝังศิลานิมิตนั้นลงไปในดินแล้วสร้างซุ้มครอบไว้ข้างบนโดยมีใบสีมาเป็นเครื่องหมายแทน ลูกนิมิต ลูกนิมิต เครื่องหมายแดนแห่งสีมา ลูกนิมิต

     ปัจจุบันนิตยภัตใช้ในความหมายว่าเงินค่าอาหารที่ทางราชการถวายแก่สงฆ์เป็นประจำมีความเป็นมาคือในอดีตพระเจ้าแผ่นดินได้พระราชทานภัตตาหารแก่พระสงฆ์ที่มีสมณศักดิ์หรือที่เคารพนับถือเป็นการส่วนพระองค์โดยให้เจ้าหน้าที่จัดถวายประจำต่อมาพระสงฆ์ที่มีสมณศักดิ์มีมากขึ้นและอยู่ตามหัวเมืองก็มีความไม่สะดวกแก่การจัดอาหารถวายแม้จะเปลี่ยนเป็นเงินแล้วก็ยังคงเรียกว่านิตยภัตเหมือนเดิมนิตยภัตถือว่าเป็นเครื่องสักการะที่พระเจ้าแผ่นดินถวายแก่พระสงฆ์ผู้ทำคุณประโยชน์แก่พระศาสนาและบ้านเมือง นิตยภัต นิตยภัต เงินค่าอาหารที่ทางราชการถวายแก่สงฆ์ นิตยภัต

     ยิ้มสวยสวยพนมมือแล้วก็ตะโกนว่านิมนต์เจ้าค่า พระสงฆ์ พระ นิมนต์ พระ

     หรือเนกขัมมวิตกคือความดำริที่ปลอดจากโลภะความนึกคิดที่ปลอดโปร่งจากกามไม่หมกมุ่นพัวพันติดข้องในสิ่งสนองความอยากต่างๆความคิดที่ปราศจากความเห็นแก่ตัวความคิดเสียสละและความคิดที่เป็นคุณเป็นกุศลทุกอย่างจัดเป็นความนึกคิดที่ปราศจากราคะหรือโลภะ เนกขัมมสังกัปป์ เนกขัมมสังกัปป์ ปลอดจากโลภะ เนกขัมมสังกัปป์

     อย่าไปแคร์คนพวกนั้นเลยค่ะเค้าก็คงอิจฉาหล่ะมั้งคะเอาแค่คนที่รักเข้าใจก็พอแล้วแหละค่ะ โดนนินทา อย่างเค้าว่า

     เนกขัมมะหมายถึงการละเหย้าเรือนออกไปบวชเป็นพระเป็นนักบวชการละชีวิตทางโลกไปสู่ชีวิตอันบริสุทธิ์เป็นการปลดเปลื้องตนจากโลกียวิสัยไปบำเพ็ญเพียรเพื่อความปลอดจากราคะและตัณหาปกติใช้เรียกการออกบวชของนักบวชทุกประเภทและใช้ได้ทั้งชายและหญิงเนกขัมมะในพระพุทธศาสนาจัดเป็นบารมีอย่างหนึ่งเรียกว่าเนกขัมมบารมีคือบารมีที่เกิดจากการออกบวชค่ะ เนกขัมมะ เนกขัมมะ ออกไปบวช เนกขัมมะ

     เนกขัมมะแปลว่าการออกการออกบวชความไม่มีกามกิเลสใช้คำว่าเนกขัมก็มีค่ะ เนกขัมมะแปลว่าอะไร เนกขัมมะ การออกบวช เนกขัมมะ

     เนยยะพวกที่มีสติปัญญาน้อยแต่เป็นสัมมาทิฏฐิเมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มอยู่เสมอมีความขยันหมั่นเพียรไม่ย่อท้อมีสติมั่นประกอบด้วยศรัทธาปสาทะในที่สุดก็สามารถรู้และเข้าใจได้ในวันหนึ่งข้างหน้าเปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่ใต้น้ำซึ่งจะค่อยๆโผล่ขึ้นเบ่งบานได้ในวันหนึ่งค่ะ เนยยะ เนยยะ ปัญญาน้อยขยันศรัทธา เนกขัมมะ

     เป็นวิธีการลงโทษภิกษุตามพระธรรมวินัยเพื่อให้เข็ดหลาบนิคหกรรมใช้สำหรับลงโทษภิกษุผู้ทำเสียหายเช่นก่อการทะเลาะวิวาทบาดหมางทำความอื้ฉาวมีศีลวิบัติติเตียนพระรัตนตรัยเล่นค่ะนองประพฤติอนาจารลบล้างพระบัญญัติประกอบมิจฉาชีพเป็นต้นนิคหกรรมเป็นกิจที่พึงทำอย่างหนึ่งของผู้ปกครองหมู่คณะเป็นคำคู่กับปัคหะคือการยกย่องทั้งสองอย่างนี้เป็นเครื่องมือในการปกครองมีความสำคัญเท่าๆกันทั้งนี้เพื่อความอยู่ผาสุกแห่งสงฆ์เมื่อมีผู้ประพฤติมิชอบสมควรแก่นิคหกรรมพระพุทธเจ้าก็ทรงประทานอนุญาตให้สงฆ์ทำนิคหกรรมแก่ผู้นั้นตามพระธรรมวินัยนิคหกรรมในปัจจุบันมีกฎของคณะสงฆ์เพื่อการนี้เรียกว่ากฎนิคหกรรมแต่ใช้ในกรณีความผิดที่ร้ายแรงหรือคุรุกาบัติและต้องเป็นไปตามพระธรรมวินัยเท่านั้น ความหมายของนิคหกรรม นิคหกรรม การลงโทษภิกษุ นิคหกรรม

     แหมรู้ดีเหมือนกันนะคะเนี่ยว่าเอาเองนาว่าที่มาของน้ำมนต์ต่างกันหล่ะค่ะคืออาศัยคุณของพระรัตนตรัยแต่จะว่าไปอีกอันเค้าก็อาจจะอ้่างคุณของพระรัตนตรัยเหมือนกันแต่จุดประสงค์ต่างกันแน่นนอนค่ะพระพุทธเจ้าท่านสั่งพระอานนท์ทำเพื่อช่วยชาวเมืองแต่ถ้าทำเพื่อเลี้ยงชีพนี่ไม่ใช่แล้วป่าวคะ น้ำมนต์ น้ำมนต์ น้ำมนต์ ไม่ใช่เพื่อเลี้ยงชีพ

     ในเมื่อไม่ได้เป็นอย่างที่เค้าว่าก็อย่าไปใส่ใจเลยค่ะว่านะ โดนนินทา นินทา ใส่ใจ

      บัวสี่เหล่าคืออุปมาเปรียบบุคคลเหมือนดอกบัว๔จำพวกที่อยู่ในฐานะของบุคคลที่สามารถฝึกสอนให้รู้ธรรมได้และไม่ได้ในทางพระพุทธศาสนาเรื่องราวที่พระพุทธเจ้าเปรียบบุคคลเสมือนบัวจำพวกต่างๆนั้นเป็นข้อความที่ปรากฏในคัมภีร์อรรถกถาและพระไตรปิฏกว่าเมื่อแรกที่พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสรู้พระองค์ได้พิจารณาว่าพระธรรมที่พระองค์ทรงบรรลุนั้นมีความละเอียดอ่อนสุขุมคัมภีรภาพยากต่อบุคคลจะรู้เข้าใจและปฏิบัติได้แต่ต่อมาได้ทรงพิจารณาอย่างลึกซึ้งแล้วทรงเห็นว่าบุคคลในโลกนี้มีหลายจำพวกบางพวกสอนได้บางพวกสอนไม่ได้เปรียบเสมือนบัว๔เหล่าตามนัยอรรถกถาหรือ๓เหล่าตามนัยพระไตรปิฎก ตามนัยอรรถกถาได้อธิบายบุคคล๔ในปุคคลวรรคพระไตรปิฏกปนกับอุปมาเปรียบบุคคลด้วยดอกบัว๓เหล่าในมัชฌิมนิกายมัชฌิมปัณณาสก์โดยลงความเห็นว่าบุคคล๔ที่พระพุทธองค์ตรัสในปุคคลวรรคเปรียบกับดอกบัว๓เหล่าโดยได้เพิ่มบัวเหล่าที่๔เข้าไปในบุคคล๔ในปุคคลวรรคดังนี้บุคคล๔จำพวกคืออุคฆฏิตัญญูวิปจิตัญญูเนยยปทปรมะก็เปรียบเหมือนดอกบัว๔เหล่านั้นแลในบุคคล๔จำพวกนั้นบุคคลที่ตรัสรู้ธรรมพร้อมกับเวลาที่ท่านยกขึ้นแสดงชื่ออุคฆฏิตัญญูบุคคลที่ตรัสรู้ธรรมเมื่อท่านแจกความแห่งคำย่อโดยพิสดารชื่อว่าวิปจิตัญญูบุคคลที่ตรัสรู้ธรรมโดยลำดับด้วยความพากเพียรท่องจำด้วยการไต่ถามด้วยทำไว้ในใจโดยแบบคายด้วยคบหาสมาคมกับกัลยาณมิตรชื่อว่าเนยยบุคคลที่ไม่ตรัสรู้ธรรมได้ในชาตินั้นแม้เรียนมากทรงไว้มากสอนเขามากชื่อว่าปทปรมะ บัวสี่เหล่า บัวสี่เหล่า บัวสี่เหล่า บัวสี่เหล่า บุคคล๔จำพวก



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ