ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
การกราบแบบนี้ผู้ชายให้นั่งคุกเข่าเรียกว่านั่งท่าพรหมหรือท่าเทพบุตรผู้หญิงให้นั่งคุกเข่าราบคือนั่งทับฝ่าเท้าทั้งสองเรียกว่านั่งท่าเทพธิดาประนมมือไหว้ที่หน้าอกแล้วยกมือขึ้นไหว้โดยให้หัวแม่มืออยู่ระดับหว่างคิ้วปลายนิ้วชี้อยู่ระดับตีนผมแล้วหมอบลงทอดฝ่ามือไว้บนพื้นให้ฝ่ามือทั้งสองห่างกันเล็กน้อยวางหน้าผากลงจดพื้นระหว่างฝ่ามือเมื่อหน้าผากถึงพื้นแล้วเงยหน้าตั้งตัวตรงแล้วเริ่มกราบใหม่ครั้งที่สองครั้งที่สามก็เหมือนกันการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์
ก่อนที่จะมาเป็นโบสถ์ที่ถูกต้องตามพระวินัยจะต้องมีสังฆกรรมที่เรียกว่าผูกสีมาหรือผูกพัทธสีมาก่อนค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อุโบสถอุโบสถ
คำว่าบังสุกุลนั้นมาจากคำภาษาบาลีว่าปํสุอ่านว่าปังสุแปลว่าฝุ่นและคำว่ากุลอ่านว่ากุละแปลว่าเปื้อน,คลุกสมาสคำทั้งสองเข้าด้วยบทวิเคราะห์เป็นปํสุกุลอ่านว่าปังสุกุละแปลว่าผ้าที่เปื้อนฝุ่นเมื่อมาเป็นคำไทยเปลี่ยนปอปลาเป็นบอใบไม้และปรับเสียงเป็นรูปแบบภาษาไทยที่มีตัวสะกดเป็นบังสุกุลอ่านว่าบังสุกุนดังนั้นคำว่าบังสุกุลจึงต้องเขียนว่าบังสุกุลเท่านั้นไม่สามารถเขียนเป็นอย่างอื่นได้หากเขียนเป็นบังสุกุลถือเป็นคำที่เขียนผิดอันเกิดจากการเทียบเคียงผิดกับคำว่าสกุลที่หมายถึงตระกูลวงศ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘บังสุกุลบังสุกุลเป็นภาษาอะไรบังสุกุลบังสุกุลภาษาบาลี
นัยหนึ่งคำนี้หมายถึงเป็นคำเรียกก้อนข้าวที่ชาวบ้านใส่ลงในภาชนะที่รองรับเช่นบาตรของพระภิกษุในคำวัดหมายถึงอาหารสำหรับถวายพระซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งใน๔สำหรับพระสงฆ์จะถวายโดยใส่บาตรหรือใส่ภาชนะอื่นใดก็เรียกเหมือนกันหมายถึงการที่ภิกษุสามเณรไปรับอาหารที่เขาถวายโดยบาตรก็ได้เช่นใช้ว่า"พระออกไปบิณฑบาตกันแต่เช้ายังไม่กลับจากบิณฑบาตเลย"หมายถึงการที่พระสงฆ์ขอร้องมิให้กระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดก็ได้บิณฑบาตมักเขียนผิดเป็นบิณฑบาตรโดยอาจเข้าใจว่าเป็นคำเดียวกับบาตรซึ่งออกเสียงเหมือนกันพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘บิณฑบาตบิณฑบาตคืออะไร
บรรพชาหมายถึงการบวชทั่วไปการบวชอันเป็นบุรพประโยคแห่งอุปสมบทการบวชเป็นสามเณรเดิมทีเดียวคำว่าบรรพชาหมายความว่าบวชเป็นภิกษุเช่นเสด็จออกบรรพชาอัครสาวกบรรพชาเป็นต้นในสมัยต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้คำว่าบรรพชาหมายถึงบวชเป็นสามเณรถ้าบวชเป็นภิกษุใช้คำว่าอุปสมบทโดยเฉพาะเมื่อใช้คอบกันว่าบรรพชาอุปสมบทพระพรหมคุณาภรณ์(ปอปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์,หน้า๑๗๓๑๗๔บรรพชาบรรพชา
บรรพชาอ่านว่าบันพะชาหรือจะบับพะชาก็ได้เช่นกันค่ะแปลว่าการบวชหรือการเว้นจากความชั่วทุกอย่างพระพรหมคุณาภรณ์(ปอปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์,หน้า๑๗๓๑๗๔บรรพชาบรรพชาแปลว่าอะไร
บริกรรมนิมิตคือเครื่องหมายสำหรับกำหนดเป็นอารมณ์สำหรับบริกรรมเช่นอนุสสติกสิณอสุภะบริกรรมนิมิต
บริขารอ่านว่าบอริขานหมายถึงเครื่องใช้ไม้สอยที่จำเป็นของภิกษุซึ่งมี๘อย่างเรียกว่าอัฐบริขารอ่านว่าอัดถะแปลว่าบริขาร๘บางครั้งเรียกบริขารเหล่านี้ว่าสมณบริขารหมายถึงเครื่องใช้สอยของสมณะหรือนักบวชในพระพุทธศาสนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘บริขารบริขารบริขารบริขารเครื่องใช้สอยของสมณะ
บัญญัติคือในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาได้แสดงไว้มากมายนับไม่ได้สาเหตุที่ท่านแสดงไว้มากมายนั้นก็เพื่อให้ปัญญาเจริญนั่นเองค่ะในอภิธัมมัตถสังคหะนั้นจัดไว้๒หมวดคืออัตถบัญญัตติกสิณปฏิภาคนิมิตเป็นต้นกับนามบัญญัตติชื่อว่าต้นไม้เป็นต้นอัตถบัญญัตติจะประมวลมาเพื่อให้จิตรับรู้เช่นจ้องบาตรหาน้ำลายที่ตกลงไปจะได้เขี่ยทิ้งถ้ากินอาบัติของไม่ได้ปะเคนอันนี้ไม่ต้องคิดเป็นคำๆไม่ต้องคิดชื่อเลยว่าจะเขี่ยน้ำลายหรือแม้คิดแต่เราก็ไม่เขี่ยคำว่าน้ำลายอยู่แล้วเราก็คิดถึงน้ำลายซึ่งประมวลมาจากรูปที่เกิดในแบบต่างๆนั่นแหละแล้วก็รีบเขี่ยทิ้ง,นามบัญญัตติจะประมวลมาเพื่อพูดคุยบอกกล่าวอันนี้ต้องคิดเป็นคำๆเป็นชื่อๆค่ะถ้าเป็นการฟังจะต้องคิดถึงชื่อก่อนจึงจะรู้อัตถบัญญัตติเหมือนตอนฟังมาแล้วจำคำแปลไม่ได้หน่ะนึกแทบตายใช่ไหมคะนั่นแหละชื่อมาก่อนอัตถะค่ะส่วนทวาร๔ที่เหลือต้องรู้อรรถะก่อนจึงรู้ชื่อเช่นเห็นหน้าดาราคุ้นๆแต่ก็นึกชื่อไม่ออกนั่นแหละค่ะส่วนใจนั้นจะรู้อัตถะหรือรู้ชื่อก่อนแบบไหนก็ได้ทั้งนั้นค่ะบัญญัติ_(ศาสนาพุทธ)บังสุกุลคืออะไร
บัณเฑาะว์เป็นเครื่องดนตรีประเภทกลองจากอินเดียค่ะมีลักษณะหัวใหญ่ท้ายใหญ่ตรงกลางคอดขนาดประมาณ๑๕เซนติเมตรใช้เชือกผูกกับลูกตุ้มกลองชนิดนี้ไม่ใช้ตีด้วยไม้ด้วยมือแต่ใช้มือถือพลิกข้อมือกลับไปกลับมาให้ลูกตุ้มที่ปลายเชือกกระทบหนังหน้ากลองทั้งสองด้านจนเกิดเสียงนั่นเองค่ะบัณเฑาะว์บัณเฑาะว์บัณเฑาะว์บัณเฑาะว์กลองอินเดีย
บิณฑบาตอ่านว่าบินทะบาดเป็นภาษาบาลีมาจากคำว่าปิณฺฑบวกปาตแปลว่าการตกลงแห่งก้อนข้าวโดยทั่วไปคำนี้หมายถึงกิจวัตรของพระภิกษุสงฆ์และสามเณรในพระพุทธศาสนาในการออกเดินถือบาตรรับการถวายภัตตาหารหรือสิ่งของจากชาวบ้านในเวลาเช้าเรียกว่าการออกบิณฑบาตการออกบิณฑบาตของพระภิกษุเป็นกิจวัตรที่พระพุทธเจ้าทรงกำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของพระภิกษุสามเณรมาตั้งแต่สมัยพุทธกาลโดยพระพุทธองค์ทรงสรรเสริญการบิณฑบาตว่าเป็นกิจอันประเสริฐหรือในสามัญเรียกว่าการโปรดสัตว์เพราะการออกบิณฑบาตนั้นนับว่าเป็นการเผยแผ่พระศาสนาทางหนึ่งด้วยดังในสมัยพุทธกาลที่พระภิกษุสงฆ์จะเทศนาโปรดแก่บรรดาชาวบ้านซึ่งมาร่วมทำบุญอันเป็นต้นเหตุแห่งการสวดให้พรหลังภัตตกิจในปัจจุบันนี้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘บิณฑบาตบิณฑบาตแปลว่าอะไร
บุคคลาธิษฐานเทศนาหมายถึงเทศนาที่มีบุคคลเป็นที่ตั้งหรืออ้างถึงบุคคลได้แก่พระวินัยพระสูตรเป็นต้นต่างจากธรรมาธิษฐานเทศนาซึ่งหมายถึงเทศนาที่มีธรรมเป็นที่ตั้งหรืออ้างถึงสภาวะธรรมล้วนๆได้แก่พระอภิธรรมพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘บุคคลาธิษฐานเทศนาบุคคลาธิษฐานเทศนาหมายถึงอะไร
บูชาคือการแสดงความเคารพการกราบไหว้การยกย่องนับถือบุคคลที่ควรเคารพนับถือเช่นพระพุทธรูปพระสงฆ์บิดามารดาคณุอาจารย์ญาติผู้ใหญ่ถือเป็นเหตุนำความสุขความเจริญและความก้าวหน้าในชีวิตมาให้แก่ผู้ทำบูชาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘บูชาคืออะไรบูชาบูชาเคารพ
บูรพาจารย์อ่านว่าบูระพาจานแปลว่าอาจารย์ในเบื้องต้นอาจารย์ก่อนๆใช้ว่าบุพพาจารย์หรือบุรพาจารย์ก็ได้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘บูรพาจารย์บูรพาจารย์แปลว่าอะไร
บูรพาจารย์ใช้หมายถึงอาจารย์๒ประเภทคือบิดามารดาคืออาจารย์พิเศษคนแรกของแต่ละคนที่สอนทุกอย่างให้โดยไม่มีค่าจ้างไม่มีตารางสอนไม่มีวันหยุดบิดามารดาจัดว่าเป็นบูรพาจารย์ของลูกเป็นอาจารย์ผู้ยิ่งใหญ่ของลูกทุกคนอาจารย์เก่าคืออาจารย์ที่อบรมสั่งสอนวิชาการมาก่อนเป็นอาจารย์รุ่นแรกๆจัดว่าเป็นบูรพาจารย์ของศิษย์และอาจารย์ต่อๆมาซึ่งได้แก่ครูอาจารย์ทั่วไปพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘บูรพาจารย์
มีความสับสนถึงเรื่องการเปรียบบุคคลด้วยบัว๓เหล่าตามนัยพระไตรปิฎกคือสับสนนำข้อความในปุคคลวรรคที่เปรียบบุคคลเป็น๔เหล่ามาปะปนกับข้อความในอรรถกถาที่เปรียบดอกบัวเป็น๔เหล่าซึ่งเป็นความเข้าใจที่ผิดเพราะในพระไตรปิฏกพระพุทธองค์ตรัสเปรียบบุคคลเหมือนดอกบัวเพียง๓เหล่าเท่านั้นเมื่อพิจารณาจากบัวสี่หรือสามเหล่าดังกล่าวความในมติอรรถกถากล่าวว่ายังมีมนุษย์บางจำพวกที่ไม่สามารถสอนได้ในขณะที่หากพิจารณาจากพระพุทธพจน์จากมัชฌิมนิกายมัชฌิมปัณณาสก์ตามพระไตรปิฎกมนุษย์ทุกคนมีสิทธิ์ที่จะตรัสรู้ธรรมเช่นเดียวกับที่พระองค์ตรัสรู้ได้กล่าวคือพระพุทธองค์ทรงพิจารณาแล้วว่ามนุษย์ที่ยังสามารถสอนให้รู้ตามได้ยังมีอยู่จึงทรงตกลงพระทัยในการนำพระธรรมที่ทรงตรัสรู้มาสั่งสอนเวไนยสัตว์บัวสี่เหล่าบัวสี่เหล่า
เบญจกัลยาณีแปลว่าผู้มีความงาม๕ประการพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘เบญจกัลยาณีเบญจกัลยาณีแปลว่าอะไรเบญจกัลยาณีเบญจกัลยาณีผู้มีความงาม๕ประการ
เบญจธรรมปัญจธรรมหรือธรรมห้าหมายถึงข้อพึงปฏิบัติห้าประการตามคำสอนในพุทธศาสนาซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่ดีงามเป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติเจริญก้าวหน้าปลอดเวรปลอดภัยเพิ่มพูนความดีแก่ผู้ทำเบญธรรมเป็นข้อพึงปฏิบัติห้าประการคู่กับเบญจศีลอันเป็นข้อไม่พึงปฏิบัติห้าประการพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘เบญจธรรมเบญจธรรมเบญจธรรมเบญจธรรมธรรมห้า
เบญจางคประดิษฐ์แปลว่าตั้งไว้เฉพาะซึ่งองค์ห้าเบญจางคประดิษฐ์แปลว่าอะไรเบญจางคประดิษฐ์เบญจางคประดิษฐ์ตั้งไว้เฉพาะซึ่งองค์ห้า
เพศทางเลือกที่มีกายเป็นชายแต่มีใจเป็นหญิงค่ะบัญญัติ_(ศาสนาพุทธ)ตุ๊ดบัณเฑาะว์ตุ๊ดตุ๊ด
ในสมัยพุทธกาลพระพุทธเจ้าไม่อนุญาตให้พระภิกษุรับผ้านุ่งห่มจากฆราวาสแต่ให้พระภิกษุเก็บผ้าบังสุกุลหรือผ้าที่เขาทิ้งไว้ตามร้านตลาดหรือผ้าห่อศพที่ไม่มีผู้ใดปรารถนาเพราะสกปรกมาซักล้างให้สะอาดแล้วเก็บไว้เพื่อนำมาตัดเย็บเป็นผ้าผืนใดผืนหนึ่งที่ชำรุดเช่นผ้านุ่งหรืออันตรวาสกหรือผ้าสบงผ้าห่มหรือผ้าจีวรหรือผ้าอุตตราสงค์หรือผ้าห่มซ้อนหรือสังฆาฎิในเวลาที่เหมาะสมต่อไปต่อมาจึงมีพระบรมพุทธานุญาตให้รับผ้าจากฆราวาสได้เพื่อเจริญศรัทธาของอุบาสกอุบาสิกาผู้เลื่อมใสและบรรเทาความยากลำบากของพระภิกษุสงฆ์ในการแสวงหาผ้าอีกทางหนึ่งด้วยพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘บังสุกุลบังสุกุลคืออะไรบังสุกุลบังสุกุลผ้าห่อศพ
ใบสุทธิในคำวัดหมายถึงเอกสารที่แสดงความบริสุทธิ์ของภิกษุสามเณรว่าเป็นภิกษุสามเณรที่ถูกต้องตามพระวินัยเหมือนบัตรประจำตัวประชาชนต่างแต่มีลักษณะเป็นเล่มขนาดเล็กสำหรับพกติดตัวได้ในภาษาหนังสือเรียกว่าหนังสือสุทธิหรือสุทธิบัตรใบสุทธิจะระบุรายละเอียดไว้มากมายเช่นชื่อนามสกุลวันเดือนปีเกิดสถานที่เกิดนามบิดามารดาวันเดือนปีที่บวชสังกัดที่อยู่การย้ายสังกัดการเปลี่ยนแปลงชื่อใบสุทธิพระอุปัชฌาย์เป็นผู้ออกให้มีพระสังฆาธิการระดับเจ้าคณะอำเภอขึ้นไปลงลายมือชื่อและประทับตราประจำตำแหน่งรับรองพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ใบสุทธิใบสุทธิ
๑ผมงามคือมีผมเหมือนหางนกยูงเมื่อสยายออกทิ้งตัวลงมาถึงชายผ้า๒เนื้องามคือมีริมฝีปากแดงเหมือนลูกตำลึงสุกเรียบสนิทมิดชิดดี๓ฟันงามคือขาวเหมือนสังข์และเรียบเสมอเหมือนเพชรเรียง๔ผิวงามคือถ้าผิวดำก็ดำสม่ำเสมอเหมือนดอกอุบลถ้าขาวก็ขาวเหมือนกลีบดอกกรรณิการ์๕วัยงามคืองามทุกวัยแม้คลอดบุตรมาแล้ว๑๐ครั้งก็ยังดูสาวพริ้งอยู่พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘เบญจกัลยาณีเบญจกัลยาณีมีอะไรบ้าง
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ