| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     ๑เมตตากรุณาคือความรักความปรารถนาดีต่อผู้อื่น๒สัมมาอาชีวะคือการประกอบสัมมาชีพ๓กามสังวรคือการสำรวมในกาม๔สัจจะคือการพูดความจริง๕สติสัมปชัญญะคือความระลึกได้และความรู้ตัวพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘เบญจธรรมเบญจธรรมประกอบด้วยอะไรบ้าง

      ปริมณฑลใช้เรียกการนุ่งห่มของภิกษุสามเณรว่านุ่งห่มเป็นปริมณฑลคือนุ่งห่มเรียบร้อยสวยงามเป็นระเบียบถูกธรรมเนียมยิยมนุ่งเป็นปริมณฑลคือด้านบนนุ่งปิดสะดือแต่ไม่ถึงกระโจมอกด้านล่างปืดหัวเข่าลงมาเพียงครึ่งแข้งไม่ถึงกรอมข้อเท้าคือการนุ่งของพระสงฆ์ในส่วนสบงปรากฏในพระวินัยส่วนเสขิยวัตรสารูปสิกขาบทที่๑ว่าภิกษุพึงทำความศึกษาว่าเราจักนุ่งเป็นปริมณฑลให้เรียบร้อยการนุ่งเป็นปริมณฑลนี้หมายถึงการนุ่งสบงโดยส่วนบนปิดตั้งแต่สะดือลงมาส่วนล่างปิดตั้งแต่ใต้เข่าขี้นไปห่มเป็นปริมณฑลคือในวัดห่มเฉวียงบ่าคือปิดบ่าและแขนซ้ายเปิดบ่าและแขนขวาปกเข่าลงมาขนาดเท่าผ้านุ่งเมื่อเข้าบ้านห่มคลุมปิดบ่าและแขนทั้งสองข้างปิดหลุมคอข้างล่างปิดหัวเข่าทั้งสองข้างเหมือนในวัดพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริมณฑล_(ศาสนาพุทธ) ในพระวินัยกำหนดการนุ่งไว้คือด้านบนนุ่งปิดสะดือแต่ไม่ถึงกระโจมอกด้านล่างปิดหัวเข่าทั้งสองลงมาเพียงครึ่งแข้งไม่ถึงกรอมข้อเท้านุ่งอย่างนี้เรียกว่านุ่งเป็นปริมลฑลค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สบง ปริมณฑลคืออะไร

      ปรโตโฆสะเป็นวิถีทางเบื้องต้นแห่งปัญญาและสัมมาทิฐิแต่ต้องมีโยนิโสมนสิการคอยกำกับจึงจะสามารถรู้แยกแยะและคัดสรรเฉพาะปรโตโฆสะฝ่ายดีได้ปรโตโฆสะที่ปราศจากโยนิโสมนสิการจะนำให้เกิดความงมงายหูเบาเชื่อง่ายไร้เหตุผลและมิจฉาทิฐิได้ง่ายพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปรโตโฆสะ เสียงจากผู้อื่นการกระตุ้นหรือชักจูงจากภายนอกคือการรับฟังคำแนะนำสั่งสอนเล่าเรียนความรู้สนทนาซักถามฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่นโดยเฉพาะการสดับสัทธรรมจากท่านผู้เป็นกัลยาณมิตรสัมมาทิฏฐิ ปรโตโฆสะ

      ปาฏิปุคคลิกทานเป็นศัพท์ในพระสูตรเป็นชื่อเรียกการถวายทานแก่พระภิกษุอย่างหนึ่งโดยเฉพาะเจาะจงตัวผู้รับถวายสิ่งของเช่นถวายเฉพาะเจาะจงตัวพระภิกษุที่ตนเคารพนับถือหรือที่ตนตั้งใจไว้ก่อนแล้วโดยเจตนาจำเพาะเจาะจงเช่นจะถวายแก่พระภิกษุรูปหนึ่งรูปใดผู้ทรงพรรษากาลที่ตนพบก่อนโดยละเว้นพระภิกษุผู้นวกะเป็นต้นปาฏิปุคคลิกทานเป็นทานถวายแก่พระภิกษุที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่ามีอานิสงส์ไม่มากดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในทักขิณาวิภังคสูตรว่า"ดูก่อนอานนท์ก็แต่ว่าเราไม่กล่าวโดยปริยายใดๆเลยถึงการให้เฉพาะจงตัวบุคคล(ปาฏิปุคคลิกทาน)ว่ามีผลมากกว่าทักษิณาที่เป็นไปในสงฆ์(สังฆทาน)"เฉพาะจงตัวบุคคลก็ปาฏิปุคคลิกทานส่วนทักษิณาที่เป็นไปในสงฆ์ก็สังฆทานน่ะค่ะปาฏิปุคคลิกทาน คือทานที่ระบุตัวพระภิกษุผู้รับถวายทานค่ะสังฆทาน ปาฏิปุคคลิกทาน

     การถามอิ๊กคิวซัง

     คัมภีร์ปริวารหรือปริวารเป็นคัมภีร์สุดท้ายในส่วนพระวินัยปิฎกเถรวาทมีเนื้อหาครอบคลุมพระไตรปิฎกเล่มที่๘มีเนื้อหาเป็นลักษณะคำถามคำตอบโดยสรุปความจากเนื้อหาในพระวินัยปิฎกเพื่อประโยชน์ในการศึกษาการสอนรวมไปถึงการซักซ้อมเพื่อให้เกิดความเข้าใจในพระวินัยโดยชัดเจนปริวารจัดเป็นคัมภีร์ที่เปรียบเสมือนภาคผนวกของพระวินัยในส่วนอาทิพรหมจาริยกาสิกขาหรือสุตตวิภังค์และอภิสมาจาริกาสิกขาหรือขันธกะโดยคัมภีร์ปริวารแต่งโดยพระธรรมสังคหกาจารย์ในครั้งปฐมสังคายนาโดยได้ยกคัมภีร์ปริวารขึ้นสังคายนาหลังจากได้สังคายนารวบรวมในส่วนสุตตวิภังค์และขันธกะเสร็จแล้วโดยคัมภีร์ปริวารจัดเป็นคัมภีร์สุดท้ายในพระวินัยปิฎกการจัดแบ่งดังกล่าวเป็นการแบ่งของสมาคมบาลีปกรณ์ของอังกฤษซึ่งแบ่งพระวินัยปิฎกออกเป็นสามหมวดคือสุตตวิภังค์,ขันธกะและปริวารคัมภีร์ปริวารมีคัมภีร์อรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกาหรืออรรถกถาพระวินัยภาค๓และมีคัมภีร์ฎีกาขยายความอรรถกถาชื่อฎีกาสารัตถทีปนีหรือฎีกาพระวินัยภาค๔ปริวารปริวารคืออะไร

     คัมภีร์ปริวารมีเนื้อหารวม๒๑หัวข้อโดยเป็นการประมวลเนื้อหาสำคัญๆมากล่าวไว้ในคัมภีร์เดียวปริวารปริวารคืออะไร

     คือพระนิพพานนั่นเอง~_?%%%%%%%ปรมัตถประโยชน์ปรมัตถะปรมัตถประโยชน์นิพพาน

     คือพระอุปัชฌาย์ที่เป็นผู้หญิงน่ะค่ะสิกขมานาสิกขมานา

     จากมหานิทานสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๑๐ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญน่าอัศจรรย์ไม่เคยมีมาข้าแต่พระองค์ผู้เจริญปฏิจจสมุบาทนี้ลึกซึ้งสุดประมาณและปรากฏเป็นของลึกก็แหละถึงจะเป็นเช่นนั้นก็ยังปรากฏแก่ข้าพระองค์เหมือนเป็นของตื้นนักฯพระผู้มีพระภาคตรัสว่าเธออย่าพูดอย่างนั้นอานนท์เธออย่าพูดอย่างนั้นอานนท์ปฏิจจสมุบาทนี้ลึกซึ้งสุดประมาณและปรากฏเป็นของลึกดูกรอานนท์เพราะไม่รู้จริงเพราะไม่แทงตลอดซึ่งธรรมอันนี้หมู่สัตว์นี้จึงเกิดเป็นผู้ยุ่งประดุจด้ายของช่างหูกเกิดเป็นปมประหนึ่งกระจุกด้ายเป็นผู้เกิดมาเหมือนหญ้ามุงกระต่ายและหญ้าปล้องจึงไม่พ้นอุบายทุคติวินิบาตสงสารดูกรอานนท์เพราะอวิชชาเป็นปัจจัยจึงเกิดสังขารเพราะสังขารเป็นปัจจัยจึงเกิดวิญญาณเพราะวิญญาณเป็นปัจจัยจึงเกิดนามรูปเพราะนามรูปเป็นปัจจัยจึงเกิดสฬายตนะเพราะสฬายตนะเป็นปัจจัยจึงเกิดผัสสะเพราะผัสสะเป็นปัจจัยจึงเกิดเวทนาเพราะเวทนาเป็นปัจจัยจึงเกิดตัณหาเพราะตัณหาเป็นปัจจัยจึงเกิดอุปาทานเพราะอุปาทานเป็นปัจจัยจึงเกิดภพเพราะภพเป็นปัจจัยจึงเกิดชาติเพราะชาติเป็นปัจจัยจึงเกิดชรามรณะโสกปริเทวทุกขโทมนัสอุปายาสฯความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ย่อมมีด้วยประการฉะนี้ฯจากปัจจัยสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๑๖ภิกษุทั้งหลายความจริงแท้ความไม่คลาดเคลื่อนความไม่เป็นอย่างอื่นมูลเหตุอันแน่นอนในธาตุอันนั้นดังพรรณนามาฉะนี้แลเราเรียกว่าปฏิจจสมุปบาทปฏิจจสมุปบาทพุทธวจนเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท

     ตอบวิสัชนาแปลว่าอะไร

     ถามปุจฉาแปลว่าอะไร

     บทปาติโมกข์ปรากฏอยู่ในพระวินัยปิฎกหมวดสุตตวิภังค์ค่ะปาติโมกข์ปาติโมกข์ปาติโมกข์สวดปาติโมกข์ในพระวินัยปิฎก

     ปกิณณกทุกข์คือทุกข์จรทุกข์ที่จรมาเป็นครั้งคราวได้แก่ความเศร้าโศกความพร่ำเพ้อรำพันความไม่สบายใจความน้อยใจความคับแค้นใจความประสบกับสิ่งที่ไม่ชอบความพลัดพรากจากสิ่งที่ชอบความผิดหวังไม่ได้ตามที่ต้องการปกิณณกทุกข์

     ปฏิคาหกหมายถึงผู้รับทานผู้รับของถวายจากทายกปกติใช้กับนักพรตนักบวชหรือบรรพชิตเช่นภิกษุสามเณรในบุคคลทั่วไปก็มีใช้บ้างในกรณีที่เป็นผู้เข้าไปรับทานจากทายกผู้ใจบุญเช่นพระเวสสันดรให้ทานก็มีปฏิคาหกที่เป็นคนทั่วไปมารับทานกันมากปฏิคาหกที่เป็นพระอริยบุคคลและเป็นผู้ทรงศีลทรงธรรมถือว่าเป็นปฏิคาหกผู้ยอดเยี่ยมนำให้ทายกผู้ถวายได้รับบุญอานิสงส์มากเพราะเป็นปฏิคาหกผู้หมดกิเลสแล้วหรือเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์เป็นผู้ปฏิบัติธรรมพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปฏิคาหกปฏิคาหกหมายถึงอะไร

     ปฏิคาหกแปลว่าผู้รับคู่กับคำว่าทายกที่แปลว่าผู้ให้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปฏิคาหกปฏิคาหกแปลว่าอะไร

     ปฏิบัติบูชาเป็นการบูชาด้วยการปฏิบัติคือปฏิบัติตามแบบที่ท่านทำปฏิบัติตามคำที่ท่านสอนได้แก่ท่านปฏิบัติมาอย่างไรก็ปฏิบัติตามท่านสอนอย่างไรแนะนำอย่างไรก็ทำตามด้วยความเต็มใจด้วยการประพฤติดีปฏิบัติชอบกระทำแต่สิ่งที่ดีงามเป็นประโยชน์เช่นปฏิบัติตามคำสั่งสอนคำเตือนคำแนะนำของพระพุทธเจ้าของบิดามารดาของครูอาจารย์เป็นต้นปฏิบัติบูชาคืออะไร

     ปฏิบัติบูชาเป้นการบูชาที่สำคัญยิ่งยอดเยี่ยมกว่าอามิสบูชาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปฏิบัติบูชา

     ปฏิปทาแปลว่าทางดำเนินข้อปฏิบัติแนวทางปฏิบัติความประพฤติในทางธรรมมักปรากฏต่อท้ายคำอื่นๆเช่นมัชฌิมาปฏิปทาทุกขนิโรธปฏิปทาเป็นต้นส่วนปฏิปทาในทางโลกมักถูกนำมาใช้ในความหมายว่าความประพฤติและใช้กับความประพฤติที่ดีงามไม่ใช้กับความประพฤติที่ไม่ดีเช่นใช้ว่าเขาเป็นคนมีปฏิปทาอย่างนี้มาแต่ไหนแต่ไรแล้วหมายความว่าเขาเป็นคนมีความประพฤติที่ดีเช่นชอบช่วยเหลือคนอื่นมีอัธยาศัยดีหรือมีอุปนิสัยใจคอตามที่แสดงออกมาเช่นนั้นพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปฏิบัติบูชาปฏิปทาแปลว่าอะไร

     ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิหมายถึงความหมดจดแห่งญาณอันรู้เห็นทางดำเนิน(วิปัสสนาญาณ๙)รู้ทุกขอริยสัจจ์ทั้ง๘ระดับจึงรู้สมุทัยอริยสัจจ์ทั้ง๘จึงรู้นิโรธอริยสัจจ์ทั้ง๘จึงรู้มรรคอริยสัจจ์ทั้ง๘และพิจารณาทั้งสิ้นพร้อมกัน(สามัคคีธรรม)เมื่อถึงสัจจานุโลมมิกญาณคือหมุนธรรมจักรทั้ง๘และพิจารณาดุจผู้พิพากษาพิจารณาเหตุทั้งสิ้นปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ

     ปฏิภาคนิมิตคือเครื่องหมายเทียบเคียงหรืออารมณ์เทียบเคียงเกิดจากอุคหนิมิตที่เจนตาเจนใจจนใสบริสุทธิ์และสามารถย่อหรือขยายส่วนแห่งนิมิตนั้นได้ตามต้องการปฏิภาคนิมิต

     ปฐมเทศนาอ่านได้หลายอย่างคือปะถมมะเทสะนาปะถมมะเทดสะหนาปะถมเทดสะหนาปฐมเทศนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปฐมเทศนา

     ปฐมเทศนาอ่านได้หลายอย่างคือปะถมมะเทสะนาปะถมมะเทดสะหนาปะถมเทดสะหนาแปลว่าการแสดงธรรมครั้งแรกพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปฐมเทศนาปฐมเทศนา



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ