ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ปฐมเทศนาเป็นคำเรียกเทศน์กัณฑ์แรกของพระพุทธเจ้าที่ทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์ทั้ง๕คือพระโกณฑัญญะพระวัปปะพระภัททิยะพระมหานามะและพระอัสสชิที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันแขวงเมืองพาราณสีเมื่อวันเพ็ญกลางเดือน๘นั่นคือวันอาสาฬหบูชานั่นเองค่ะปฐมเทศนามีชื่อว่าธัมมจักกัปปวัตตนสูตรเรียกสั้นๆว่าธรรมจักรซึ่งมีเนื้อหากล่าวถึงเรื่องอริยสัจ๔ได้แก่ทุกข์สมุทัยนิโรจมรรคที่พระพุทธองค์ได้ตรัสรู้มาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปฐมเทศนาปฐมเทศนา
ปทปรมะพวกที่ไร้สติปัญญาและยังเป็นมิจฉาทิฏฐิแม้ได้ฟังธรรมก็ไม่อาจเข้าใจความหมายหรือรู้ตามได้ทั้งยังขาดศรัทธาปสาทะไร้ซึ่งความเพียรเปรียบเสมือนดอกบัวที่จมอยู่กับโคลนตมยังแต่จะตกเป็นอาหารของเต่าปลาไม่มีโอกาสโผล่ขึ้นพ้นน้ำเพื่อเบ่งบานปทปรมะ
ปรมัตถธรรมคือสภาพธรรมที่มีจริงเป็นอภิธรรมเป็นสภาพธรรมที่เป็นไปตามเหตุปัจจัยแม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะไม่ประสูติและตรัสรู้สภาพธรรมทั้งหลายก็ย่อมเป็นไปตามเหตุปัจจัยอยู่แล้วพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระบรมศาสดาเพราะพระองค์ทรงตรัสรู้ธรรมทั้งปวงด้วยพระองค์เองว่าธรรมทั้งปวงไม่ใช่ตัวตนไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่บุคคลและธรรมทั้งปวงไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของผู้ใดทั้งสิ้นปรมัตถธรรมหรืออภิธรรมนั้นมิใช่ธรรมที่เหลือวิสัยที่จะเข้าใจได้เพราะปรมัตถธรรมเป็นธรรมที่มีจริงฉะนั้นความเห็นถูกความเข้าใจถูกจึงเป็นการรู้ความจริงของปรมัตถธรรมตามลักษณะของปรมัตถธรรมนั้นๆปรมัตถธรรมสังเขปจิตตสังเขปและภาคผนวกโดยสุจินต์บริหารวนเขตต์มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนาพศ๒๕๓๖(หรือเว็บไซด์บ้านธัมมะ)ปรมัตธรรมปรมัตธรรมอภิธรรมปรมัตธรรมความจริง
ประคดคือเครื่องคาดเอวหรือสายคาดอกของภิกษุสามเณรเรียกว่ารัดประคดก็มีถ้าใช้รัดเอวนิยมใช้ด้ายถักเป็นแผ่นเหมือนเข็มขัดมีสายโยงสำหรับผูกทั้งสองข้างยาวประมาณเมตรครึ่งถึงสองเมตรเรียกว่าประคดเอวถ้าใช้รัดอกนิยมใช้เป็นผ้าหนาๆพับสองชั้นกว้างประมาณ๑๕เซนติเมตรยาวประมาณเมตรครึ่งถึงสองเมตรเรียกว่าประคดอกหรือผ้ารัดอกพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ประคดประคดคืออะไร
ประคดมี๒แบบคือประคดแผ่นและประคดใส้สุกรพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ประคดประคดมีกี่แบบ
ปริตรปะริดหรือในภาษาบาลีปริตฺตปะริดตะแปลว่าความต้านทานเครื่องป้องกันรักษาเครื่องต้านทานเครื่องป้องกันรักษารวมหมายถึงเครื่องรางของขลังของที่ช่วยบรรเทาวิธีป้องกันรักษาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริตรปริตรแปลว่าอะไร
ปริพาชกปกติใช้เรียกนักบวชนอกพระพุทธศาสนาเท่านั้นเช่นสัญชัยปริพาชกสุปปิยปริพาชกไม่ใช้เรียกเรียกภิกษุในพระพุทธศาสนาพระสาวกสาวิกาของพระพุทธเจ้าที่เคยบวชเป็นปริพาชกปริพาชิกามาก่อนมีจำนวนมากที่สำคัญเช่นพระสารีบุตรพระโมคคัลลานะพระกุณฑลเกสีเถรีพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริพาชกปริพาชกคืออะไร
ปริพาชกแปลว่าผู้ท่องเที่ยวไป,ผู้จาริกไปหมายถึงนักบวชหรือนักพรตผู้ถือการท่องเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆปริพาชกใช้เรียกนักบวชชายหากเป็นนักบวชหญิงใช้ว่าปริพาชิกาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริพาชกปริพาชกแปลว่าอะไร
ปริมณฑลในคำวัดหมายถึงความเรียบร้อย,ความสวยงาม,ความเป็นระเบียบพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริมณฑล_(ศาสนาพุทธ)ปริมณฑลแปลว่าอะไร
ปริยัติธรรมอ่านว่าปะริยัดติทำหมายถึงธรรมที่พึงศึกษาเล่าเรียนได้แก่พระพุทธพจน์หรือพระไตรปิฎกเรียกเต็มว่าพระปริยัติธรรมพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริยัติธรรมปริยัติธรรมแปลว่าอะไร
ปริยัติธรรมหรือพระพุทธพจน์ที่พึงศึกษาเล่าเรียนนั้นมี๙อย่างคือสุตตะเคยยะเวยยากรณะคาถาอุทานอิติวุตตกะชาตกะอัพภูตธัมมะเวทัลละเรียกอีกอย่างหนึ่งว่านวังคสัตถุศาสน์คำสอนของพระศาสดา๙ประเภทการศึกษาเล่าเรียนปริยัติธรรมทั้งอย่างนี้ของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบันเรียกว่าเรียนนักธรรมเรียนบาลีและแบ่งปริยัติธรรมออกเป็นคือพระปริยัติธรรมแผนกธรรมพระปริยัติธรรมแผนกบาลีพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริยัติธรรมปริยัติธรรมคืออะไร
ปริสัญญุตาเป็นผู้รู้จักบริษัทคือรู้จักชุมชนและรู้จักที่ประชุมรู้กิริยาที่จะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆว่าชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหาจะต้องทำกิริยาอย่างนี้จะต้องพูดอย่างนี้ชุมชนนี้ควรสงเคราะห์อย่างนี้เป็นต้น"ก็ภิกษุเป็นปริสัญญูอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้ย่อมรู้จักบริษัทว่านี้บริษัทกษัตริย์นี้บริษัทคฤหบดีนี้บริษัทสมณะในบริษัทนั้นเราพึงเข้าไปหาอย่างนี้พึงยืนอย่างนี้พึงทำอย่างนี้พึงนั่งอย่างนี้พึงนิ่งอย่างนี้"ธัมมัญญูสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๒๓สัปปุริสธรรมปริสัญญู
ปรโตโฆสะมี๒ประเภทคือที่เป็นจริงมีเหตุผลเป็นประโยชน์ประกอบด้วยความหวังดีและที่เป็นเท็จไม่มีเหตุผลไม่เป็นประโยชน์มุ่งทำลายพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปรโตโฆสะปรโตโฆสะ
ปรโตโฆสะแปลว่าเสียงจากผู้อื่นหมายรวมถึงคำพูดคำแนะนำคำชี้แจงคำโฆษณากระแสข่าวข้อเขียนบทความจากบุคคลหรือแหล่งข่าวต่างๆพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปรโตโฆสะปรโตโฆสะ
ปัจจัยสันนิสิตศีลหมายถึงศีลที่เกี่ยวกับปัจจัยสี่คือการพิจารณาใช้สอยปัจจัยให้เป็นไปตามประโยชน์ที่แท้ของสิ่งนั้นไม่บริโภคด้วยตัณหาเช่นไม่บริโภคด้วยความอยากรับประทานไม่บริโภคด้วยความอยากอยากใช้สอยปัจจัยสันนิสิตศีล
ปัจจุธรณ์เป็นภาษาพระวินัยคือมีธรรมเนียมว่าเมื่อพระภิกษุได้ผ้าใหม่มาตั้งใจจะใช้สอยเป็นผ้าชนิดใดเช่นเป็นสบงเป็นจีวรเป็นต้นก็อธิษฐานตั้งใจกำหนดให้เป็นผ้าชนิดนั้นแล้วใช้สอยเมื่อต้องการจะเลิกใช้หรือเปลี่ยนใหม่ก็ต้องเลิกด้วยการถอนคืนอธิษฐานผ้านั้นมิให้เป็นผ้าครองตนก่อนเรียกการถอนคืนเช่นนั้นว่าปัจจุธรณ์ปัจจุธรณ์มีคำสำหรับกล่าวถอนตามพระวินัยโดยเฉพาะเมื่อกล่าวถอนแล้วผ้านั้นก็หมดสภาพจากการเป็นผ้าอธิษฐานหรือผ้าครองและต้องอธิษฐานผืนอื่นใช้แทนต่อไปพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัจจุธรณ์ปัจจุธรณ์คืออะไร
ปัจจุธรณ์แปลว่าถอนคืนการถอนคืนใช้คู่กับคำว่าอธิษฐานที่แปลว่าการตั้งใจไว้การผูกใจไว้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัจจุธรณ์ปัจจุธรณ์แปลว่าอะไร
ปัจเจกพุทธเจ้าอ่านว่าปัดเจกกะพุดทะเจ้าคือพระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้เฉพาะตัวมิได้สั่งสอนผู้อื่นที่เรียกดังนี้เพราะเมื่อได้ตรัสรู้แล้วเกิดอัปโปสุกกธรรมคือไม่ขวนขวายที่จะแสดงธรรมยินดีอยู่วิเวกตามลำพังจึงประจำอยู่แต่ในป่านานๆจึงจะเข้าเมืองเพื่อบิณฑบาตสักครั้งปัจเจกพุทธเจ้ามีเป็นจำนวนมากดังเช่นบางตำนานว่าท่านอยู่กันที่ภูเขาคันธมาทน์ประมาณ๕๐๐รูปเพราะไม่ปรากฏตัวต่อสาธารณะบ่อยนักและไม่แสดงธรรมพระปัจเจกพุทธเจ้าจึงไม่ปรากฏชื่อไปด้วยพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปัจเจกพุทธเจ้าพระปัจเจกพุทธเจ้า
ปัญจวัคคีย์แปลว่านักบวชที่เป็นพวกกัน๕ท่านเป็นนักบวชที่ปรากฏอยู่ในศาสนาพุทธในฐานะภิกษุชุดแรกที่เข้ามาบวชเป็นสาวกพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์นักบวชที่เป็นพวกกัน๕ท่าน
ปัญญาคือรู้ทั่วถึงเหตุถึงผลรู้อย่างชัดเจนรู้เรื่องบาปบุญคุณโทษรู้สิ่งที่ควรทำควรเว้นเป็นต้นเป็นธรรมที่คอยกำกับศรัทธาเพื่อให้เชื่อประกอบด้วยเหตุผลไม่ให้หลงเชื่ออย่างงมงายพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญาปัญญา
ปัญญาทำให้เกิดได้๓วิธีคือโดยการสดับตรับฟังการศึกษาเล่าเรียนสุตมยปัญญาโดยการคิดค้นการตรึกตรองจินตามยปัญญาโดยการอบรมจิตการเจริญภาวนาภาวนามยปัญญาปัญญาที่เป็นระดับอธิปัญญาคือปัญญาอย่างสูงจัดเป็นสิกขาข้อหนึ่งในสิกขา๓หรือไตรสิกขาคืออธิศีลอธิสมาธิอธิปัญญาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญาปัญญา
ปัญญาแปลว่าความรู้ทั่วคะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญาปัญญาปัญญาปัญญาความรู้ทั่ว
ปัญญา๓ประกอบด้วย๑สุตมยปัญญาโดยการสดับตรับฟังการศึกษาเล่าเรียน๒จินตามยปัญญาโดยการคิดค้นการตรึกตรอง๓ภาวนามยปัญญาโดยการอบรมจิตการเจริญภาวนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญาปัญญา๓ประกอบด้วยอะไรบ้าง
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ