ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
อยู่สูงกว่านิมมานรดีไป๖๗๒,๐๐๐โยชน์ค่ะสวรรค์ปรนิมมิตวสวัตดีปรนิมมิตวสวัตดี๖๗๒๐๐๐โยชน์
อายุของเทวดาในชั้นปรนิมมิตวสวัตดียาวนานถึง๑๖,๐๐๐ปีทิพย์ซึ่งเท่ากับ๘,๒๑๖,๐๐๐,๐๐๐ปีมนุษย์สวรรค์ปรนิมมิตวสวัตดีปรนิมมิตวสวัตดีปีทิพย์ปีมนุษย์
เนื้อหาสาระของปัญญาสชาดกเป็นการพรรณนาถึงเรื่องราวเกี่ยวกับจริยวัตรของตัวละครเอกในเรื่องคือพระพุทธเจ้าเมื่อครั้งเสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ซึ่งได้มีปณิธานมุ่งมั่นในการบำเพ็ญบารมีในชาติต่างๆอย่างมั่นคงไม่ย่อท้อต่อความยากเข็ญและอุปสรรคนานาชนิดโดยปรารถนาสูงสุดเพียงได้บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณเท่านั้นซึ่งท้ายที่สุดของแต่ละชาติพระโพธิสัตว์จะสามารถลุถึงสัมมาสัมโพธิญาณด้วยบารมีที่ถึงพร้อมตามแต่ละชาติปัญญาสชาดกปัญญาสชาดก
เมืองปัฏนามีชื่อเรียกหลายคำเช่นปาฏลีบุตรปาตลีบุตรปัตนะในพระไตรปิฏกเรียกว่าบ้านปาฏลิคาม[]เมืองนี้สร้างโดยพระเจ้าอชาตศัตรูพระราชาแห่งแคว้นมคธผู้ครองกรุงราชคฤห์ในสมัยปลายพุทธกาลโดยความประสงค์จะให้เป็นหมู่บ้านเล็กๆชั่วคราวเพื่อใช้เป็นหมู่บ้านหน้าด่านสำหรับตรวจความเคลื่อนไหวของแคว้นวัชชีเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับสงครามยึดแคว้นวัชชีซึ่งพระเจ้าอชาตศัตรูได้ส่งมหาอำมาตย์ชื่อสุนีธะและวัสสการพราหมณ์มาเพื่อเป็นแม่กองในการสร้างหมู่บ้านปาฏลิคามในพระไตรปิฎกได้กล่าวถึงการเสด็จมาของพระพุทธเจ้าณสถานที่นี้ในขณะกำลังสร้างหมู่บ้านด้วยตามความในปาฏลิคามิยสูตรว่าพระพุทธเจ้าได้เสด็จมาและได้ทรงแสดงปาฏิหาริย์ข้ามฝั่งแม่น้ำเพื่อข้ามมายังหมู่บ้านนี้ชาวบ้านจึงเรียกท่าที่พระองค์เสด็จขึ้นและประตูหมู่บ้านที่พระองค์เสด็จเข้าว่าโคตมติตถะและโคตมทวารตามลำดับซึ่งหลังจากพระองค์ได้ทอดพระเนตรที่ตั้งของหมู่บ้านห่างไกลแห่งนี้แล้วได้ทรงทำนายไว้ว่า"อานนท์มหาอำมาตย์ในแว่นแคว้นมคธชื่อสุนีธะและวัสสการะจะสร้างเมืองในปาฏลิคามเพื่อป้องกันเจ้าวัชชีทั้งหลายประหนึ่งว่าปรึกษากับเทวดาชั้นดาวดึงส์แล้วสร้างเมืองฉะนั้นอานนท์เมืองนี้จักเป็นเมืองเลิศแห่งที่ประชุมของเหล่ามนุษย์ผู้เป็นอริยะและเป็นทางค้าขายเป็นที่แก้ห่อสินค้าอันตราย๓อย่างจักมีแก่เมืองปาฏลิคามจากไฟจากน้ำและจากความแตกแห่งกันและกัน"จากความดังกล่าวพระพุทธองค์ทรงทำนายว่าหมู่บ้านเล็กๆห่างไกลแห่งนี้จะมีความสำคัญในอนาคตและปรากฏว่าหลังพระพุทธปรินิพพานไม่ถึงร้อยปีหมู่บ้านสุดชายแดนแห่งนี้ก็กลายเป็นเมืองที่สำคัญที่สุดเมืองหนึ่งในหน้าประวัติศาสตร์แห่งชมพูทวีปคือได้เป็นเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธจากความผันผวนทางการเมืองจากเหตุการณ์ล้มราชวงศ์พิมพิสารและการย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธหลายครั้งในช่วงพศ๗๐ที่เริ่มจากการที่อำมาตย์และราษฎรพร้อมใจกันถอดกษัตริย์นาคทัสสก์แห่งราชวงศ์ของพระเจ้าพิมพิสารออกจากพระราชบัลลังก์และยกสุสูนาคอำมาตย์ซึ่งมีเชื้อสายเจ้าลิจฉวีในกรุงเวสาลีแห่งแคว้นวัชชีเก่าให้เป็นกษัตริย์ตั้งราชวงศ์ใหม่แล้วพระเจ้าสุสูนาคจึงได้ทำการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองเวสาลีอันเป็นเมืองเดิมของตนและกษัตริย์พระองค์ต่อมาคือพระเจ้ากาลาโศกราชผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุสูนาคได้ย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธอีกจากเมืองเวสาลีมายังบ้านปาฏลิคามซึ่งกลายเป็นเมืองหลวงและเป็นเมืองศูนย์กลางที่ยิ่งใหญ่ของพระพุทธศาสนาในเวลาต่อมาโดยเมืองนี้เป็นสถานที่ๆมีการทำตติยสังคายนาโดยพระบรมราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราชพระมหาจักรพรรดิผู้ทรงเป็นมหาราชผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของประวัติศาสตร์อินเดียและเมืองแห่งนี้ก็ได้เจริญรุ่งเรืองในฐานะศูนย์กลางทางการค้าและเศรษฐกิจมาจนปัจจุบันปัฏนาประวัติศาสตร์เมืองปัฏนา
เรียกกันว่าสงฆ์ทำอุโบสถโดยพระองค์มีพุทธานุญาตให้สวดในที่ประชุมสงฆ์ทุกกึ่งเดือนคือในวันอุโบสถวันพระจันทร์เพ็ญและวันพระจันทร์ดับหรือก็วันพระข้างขึ้น๑๕ค่ำและข้างแรม๑๕ค่ำค่ะปาติโมกข์ปาติโมกข์ปาติโมกข์สวดปาติโมกข์คือวันอุโบสถ
แต่เดิมปัญจวัคคีย์เป็นนักบวชที่ออกบวชติดตามปรนนิบัติพระพุทธเจ้าตั้งแต่เสด็จออกผนวชใหม่ๆทั้งหมดเป็นชาวกรุงกบิลพัสดุ์เป็นกลุ่มบุคคลที่ได้ฟังปฐมเทศนาเป็นรุ่นแรกได้เป็นภิกษุรุ่นแรกและได้เป็นพระอรหันต์รุ่นแรกในพระพุทธศาสนาเฉพาะโกณฑัญญะเป็นผู้เคยทำนายลักษณะพระพุทธเจ้าตั้งแต่ตอนประสูติใหม่ส่วนอีก๔ท่านเป็นบุตรของพราหมณ์ที่ทำนายลักษณะของพระพุทธเจ้าร่วมกับโกณฑัญญะเพราะมีความเชื่อว่าเจ้าชายสิทธัตถะจะต้องได้เป็นพระพุทธเจ้าจึงได้ออกบวชตามพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์คืออะไรปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ภิกษุรุ่นแรก
แบ่งออกเป็นสองประเภทคือ๑ธรรมได้แก่คำสั่งสอนที่เนื่องด้วยการปฏิบัติเป็นหลักที่ควรรู้และปฏิบัติเป็นวิถีชีวิตและแนวทางอบรมความประพฤติและอัธยาศัยให้ละเอียดประณีตงดงามและสูงขึ้นตามลำดับจนสามารถกำจัดกิเลสได้หมดสิ้นซึ่งได้แก่คำสั่งสอนที่รวมอยู่ในพระสุตตันตปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก๒วินัยได้แก้คำสั่งสอนที่เนื่องด้วยข้อบัญญ้ติเป็นข้อห้ามวางไว้เป็นหลักปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยดีงามในหมู่คณะเป็นเครื่องมือบริหารหมู่คณะซึ่งได้แก่คำสั่งสอนที่รวมอยู่ในพระวินัยปิฎกพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปาพจน์ปาพจน์แบ่งได้เป็นอะไรบ้าง
แปลว่าประโยชน์อย่างยิ่งค่ะ_?%%%%%%%ปรมัตถประโยชน์ปรมัตถะปรมัตถประโยชน์ประโยชน์อย่างยิ่ง
ในทางศาสนาพุทธปัพพาชนียกรรมหมายถึงการขับภิกษุออกจากหมู่คณะการไล่ภิกษุออกจากวัดเป็นกรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุอันจะพึงไล่เสียจัดเป็นนิคหกรรมคือการลงโทษภิกษุอย่างหนึ่งใน๖อย่างวิธีทำกรรมนี้ต้องทำเป็นสังฆกรรมคือญัตติจตุตถกรรมทรงอนุญาตให้สงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้ประพฤติเสียหายอย่างใดอย่างหนึ่งคือก่อการทะเลาะวิวาทบาดหมางมีอาบัติมากมีมรรยาทไม่สมควรคลุกคลีกับคฤหัสถ์เป็นผู้วิบัติทางศีลอาจาระและทิฐิกล่าวติเตียนพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์เล่นค่ะนองประพฤติอนาจารลบล้างพระบัญญัติประกอบมิจฉาชีพพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัพพาชนียกรรมปัพพาชนียกรรมคืออะไร
ในพุทธศาสนาปริตรหมายถึงพระพุทธมนต์คือบทสวดที่เป็นภาษาบาลีเช่นพระสูตรบางพระสูตรในเจ็ดตำนานสิบสองตำนานซึ่งถือกันว่าศักดิ์สิทธิ์สามารถคุ้มครองรักษาป้องกันอันตรายต่างๆและกำจัดทุกข์ภัยโรคได้เรียกเต็มว่าพระปริตรนอกจากนี้ยังใช้เรียกของมงคลที่ผ่านการสวดพระพุทธมนต์มาแล้วเช่นด้ายสายสิญจน์เรียกว่าด้ายพระปริตรน้ำพระพุทธมนต์เรียกว่าน้ำพระปริตรพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปริตรปริตรคืออะไร
ในวันขึ้น๑๕ค่ำเดือน๘พระพุทธองค์ได้แสดงปฐมเทศนาคือธัมมจักกัปปวัตตนสูตรโกณฑัญญะก็ได้ดวงตาเห็นธรรมบรรลุโสดาบันจากนั้นพระพุทธองค์ทรงประทานปกิณณกเทศนาสั่งสอนที่เหลืออีก๔ท่านให้บรรลุโสดาบันแล้วประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาให้โดยวันแรม๑ค่ำเดือน๘ท่านวัปปะได้ธรรมจักษุวันแรม๒ค่ำเดือน๘ท่านภัททิยะ วันแรม๓ค่ำเดือน๘ท่านมหานามะ และวันแรม๔ค่ำเดือน๘ท่านอัสสชิจนในวันแรม๕ค่ำเดือน๘พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมเทศนาอนัตตลักขณสูตรซึ่งมีใจความดังนี้"ภิกษุทั้งหลายขันธ์๕มีดังนี้รูปคือร่างกายเวทนาคือความรู้สึกสุขความทุกข์สัญญาคือความจำมั่นหมายสังขารคือความคิดปรุงแต่งวิญญาณคือความรู้อารมณ์ต่างๆภิกษุทั้งหลายสิ่งเหล่านี้ไม่ใช่เราไม่ใช่เขาไม่ใช่ของเราไม่ใช่ของเขาไม่ใช่ตัวตนของเราไม่ใช่ตัวตนของเขาสิ่งเหล่านี้มีการเกิดขึ้นตั้งอยู่และดับไปเป็นธรรมดา"ขณะสดับพระธรรมเทศนาพระภิกษุปัญจวัคคีย์ทั้ง๕ส่งจิตไปตามกระแสพระธรรมเทศนาจิตก็หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวงไม่ยึดมั่นถือมั่นด้วยอุปาทานสามารถละสังโยชน์ครบ๑๐ประการได้บรรลุพระนิพพานเป็นพระอรหันต์พร้อมกันทั้ง๕รูปพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ปัญจวัคคีย์การบรรลุธรรมของปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
แจ้งความประสงค์ที่จะถวายทานนั้นๆให้สงฆ์ทราบถ้าเป็นภัตตาหารหรือจีวรคิลานเภสัชซึ่งมีจำนวนจำกัดไม่ทั่วไปแก่สงฆ์ผู้รับให้ตามจำนวนต้องการและนัดแนะสถานที่กับกำหนดเวลาให้เรียบร้อยด้วย
ให้ทานโดยให้คณะสงฆ์เป็นผู้เลือกพระภิกษุและพระภิกษุณีที่จะรับถวายทานเองสังฆทาน
เผดียงสงฆ์
เผดียงสงฆ์
เผดียงสงฆ์
จำกัดจำนวน
ผ้าป่าคือผ้าที่ผู้ถวายนำไปวางพาดไว้บนกิ่งไม้เพื่อให้พระชักเอาไปเองโดยไม่กล่าวคำถวายหรือประเคนเหมือนถวายของทั่วไปกริยาที่พระหยิบผ้าไปใช้แบบนั้นเรียกว่าชักผ้าป่าส่วนการถวายผ้าป่านิยมจัดของใช้เป็นบริวารผ้าป่าเหมือนบริวารกฐินเรียกว่าทอดผ้าป่าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ผ้าป่าผ้าป่าผ้าป่าผ้าป่าเอาไปเอง
ผ้าป่าเรียกดังนี้เพราะถือคติโบราณคือสมัยพุทธกาลผ้าหายากภิกษุต้องแสวงหาผ้าที่เขาทิ้งไว้ตามป่าช้าบ้างตามทางเดินในป่าบ้างมาทำจีวรนุ่งห่มคนใจบุญสมัยนั้นจึงนำผ้าไปแขวนไว้ตามต้นไม้ข้างทางที่พระเดินผ่านทำนองว่าทิ้งแล้วพระไปพบเข้าจึงหยิบไปทำจีวรโดยถือว่าเป็นผ้าไม่มีเจ้าของผ้าชนิดนั้นเลยเรียกว่าผ้าป่าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,พศ๒๕๔๘ผ้าป่าผ้าป่าผ้าป่าผ้าป่าป่าช้า
สำหรับข้อห้ามที่ว่าผู้หญิงห้ามโดนตัวพระความจริงแล้วที่มาของคำสอนนี้มาจากบทบัญญัติวินัยของภิกษุหมวดอาบัติสังฆาทิเสสข้อ๒ที่ว่าภิกษุมีความกำหนัดอยู่จับต้องกายหญิงต้องสังฆาทิเสสหมายความว่าหากภิกษุมีความรู้สึกพึงพอใจหรือมีอารมณ์ทางเพศกับสุภาพสตรีแล้วเอามือไปสัมผัสถูกกายสุภาพสตรีหรือภิกษุเอาร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่งของภิกษุไปสัมผัสเข้ากับกายของสตรีภิกษุนั้นต้องอาบัติสังฆาทิเสสซึ่งคำว่าอาบัตินี้คือการปรับความผิดกับพระสงฆ์เท่านั้นไม่ได้ปรับความผิดแก่ฆราวาสดังนั้นความจริงแล้วก็คือห้ามพระถูกต้องกายหญิงไม่ได้ห้ามไม่ให้ผู้หญิงถูกต้องกายพระแต่อย่างใดค่ะ
แต่ด้วยธรรมเนียมการปฏิบัติตนต่อพระพุทธศาสนาในประเทศไทยนั้นคนส่วนใหญ่จะคำนึงถึงเรื่องภาพลักษณ์ที่ดีของทั้งพระและโยมดังนั้นการที่ผู้หญิงควรที่จะระมัดระวังตัวไม่ให้ไปสัมผัสกับพระสงฆ์นั้นก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังอยู่เสมอเพราะจะทำให้ถูกมองไม่ดีได้ค่ะ
ทําไมผู้หญิงห้ามโดนตัวพระข้อปฏิบัติตนที่ผู้หญิงควรรู้
โพธิสัตว์ชาวพุทธ
ห้ามผู้หญิงโดนตัวพระ
หญิง
ผู้หญิง
ภาพลักษณ์ดี
ก็เป็นธรรมชาตินะคะว่าแต่ถ้าขณะที่ฝันเปียกมีสติรู้ตัวว่ากำลังทำไม่ดีแล้วก็พยายามไม่ทำสิ่งนั้นอันนี้สุดยอดค่ะเรียกมีสติแม้แต่ในความฝันฝันเปียก
คำเรียกของหลวงพ่อธัมมะน่ะค่ะท่านใช้เรียกในการปฏิบัติเพื่อไปดูบุพกรรมกรรมชาตินี้ชีวิตหลังความตายให้กับญาติโยมเพื่อสอนเรื่องชีวิตหลังความตายค่ะฝันในฝันฝันในฝันฝันในฝันดูบุพกรรม
อืมมมก็ไม่สามารถซะด้วยสิะแต่เท่าที่ทราบต้องปฏิบัติเรื่องจิตได้ดีระดับนึงเลยหล่ะค่ะฝันในฝันฝันในฝันฝันในฝันปฏิบัติเรื่องจิต
การจัดลำดับชั้นของพระอารามหลวงเริ่มมีขึ้นในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อพศ๒๔๕๘ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดระเบียบแบ่งชั้นพระอารามหลวงออกเป็นสามชั้นแต่ละชั้นยังแยกระดับออกไปอีกหลายระดับโดยมีสร้อยต่อท้ายชื่อวัดตามฐานะดังนี้พระอารามหลวงชั้นเอกได้แก่วัดที่มีเจดียสถานบรรจุพระบรมอัฐิหรือเป็นวัดที่มีเกียรติสูงมี๓ระดับคือชั้นเอกพิเศษชนิดราชวรมหาวิหารชนิดราชวรวิหารชนิดวรมหาวิหารพระอารามหลวงชั้นโทได้แก่วัดที่มีเจดียสถานสำคัญมี๔ระดับคือชนิดราชวรมหาวิหารชนิดราชวรวิหารชนิดวรมหาวิหารชนิดวรวิหารพระอารามหลวงชั้นตรีได้แก่วัดประจำหัวเมืองหรือวัดที่มีความสำคัญชั้นรองมี๓ระดับคือชนิดราชวรวิหารชนิดวรวิหารและชนิดสามัญซึ่งจะไม่มีสร้อยนามต่อท้ายพระอารามหลวงพระอารามหลวง
การประกาศตนเป็นพุทธมามกะนั้นอาจจัดทำเป็นพิธีเหมือนการประกาศตนเป็นอุบาสกอุบาสิกาในสมัยพุทธกาลเรียกว่าพิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะนิยมทำกันในวาระดังนี้เมื่อเด็กมีอายุประมาณ๑๒ถึง๑๕ปีเมื่อจะส่งบุตรหลานไปศึกษาต่อยังต่างประเทศหรือไปในถิ่นที่ไม่มีพระพุทธศาสนาโรงเรียนจัดทำพิธีแก่นักเรียนที่เข้ามาศึกษาใหม่ในแต่ละปีเมื่อมีคนต่างศาสนาต้องการจะนับถือพระพุทธศาสนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะผู้ถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นของเรา
ก็อย่างปฐมพุทธอุทานเป็นพระพุทธอุทานที่ทรงเปล่งออกเป็นคำประพันธ์ที่โคนต้นโพธิ์เป็นที่ตรัสรู้หลังการตรัสรู้ได้๗วัน"ยทาหเวปาตุภวนฺติธมฺมาอาตาปิโนฌายโตพฺราหฺมณสฺสอถสฺสกงฺขาวปยนฺติสพฺพายโตปชานาติสเหตุธมฺมํ"ซึ่งแปลว่า"ในกาลใดแลธรรมทั้งหลายมาปรากฏแก่พราหมณ์ผู้มีเพียรเพ่งอยู่ในกาลนั้นความสงสัยทั้งปวงของพราหมณ์นั้นย่อมสิ้นไปเพราะมารู้แจ้งธรรมพร้อมด้วยเหตุฯ"หมายความว่าบุคคลจะหลุดพ้นความสงสัยทั้งปวงได้เพราะรู้ที่มาของสาเหตุของปัญหานั่นก็คือทุกข์และสมุทัยหรือบุคคลจะหลุดพ้นได้เพราะมองทุกสิ่งโดยความเป็นจริงคือเพ่งพินิจอารมณ์ภายในจิตใจด้วยความเป็นจริงซึ่งจะทำให้ผู้เพ่งพินิจเข้าใจได้เองโดยธรรมชาติของจิตว่าความคิดทั้งปวงตกอยู่ในสามัญญลักษณะคือมีการแปรเปลี่ยนไปตลอดเมื่อรู้ได้เช่นนี้แล้วผู้เพ่งพินิจจะได้เข้าใจและไม่ยึดติดกับจิตใจอันหวั่นไหวต่อกิเลสและสามารถหลุดพ้นจากความต้องการอันเป็นสาเหตุแห่งทุกข์ทั้งปวงได้พระพุทธอุทานพระพุทธอุทานพระพุทธอุทานพระพุทธอุทานปฐมพุทธอุทาน
คันธกุฎีหรือพระมูลคันธกุฎีแปลว่ากุฎีที่มีกลิ่นหอมพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พระคันธกุฎีพระมูลคันธกุฎีพระคันธกุฎีพระมูลคันธกุฎีกุฎีที่มีกลิ่นหอม
คำว่าพุทธชยันตีมาจากศัพท์พุทธบวกชยันตีที่แปลว่าวันครบรอบในภาษาสันสกฤตพุทธชยันตีจึงแปลว่าการครบรอบวันเกิดของพระพุทธศาสนาหรือวันครบรอบชัยชนะของพระพุทธเจ้าก็ได้ค่ะพุทธชยันตีพุทธชยันตีพุทธชยันตีพุทธชยันตีวันเกิดพุทธ
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ