ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
พาราณสีเป็นเมืองหลวงของแคว้นกาสีในสมัยพุทธกาลปัจจุบันตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดียห่างจากลัคเนาซึ่งเป็นเมืองหลวงของอุตตรประเทศเป็นระยะทาง๓๒๐กิโลเมตรพาราณสีมีแม่น้ำคงคาไหลผ่านเป็นเมืองที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาในหลายด้านโดยมีอาณาเขตครอบคลุมถึงป่าอิสิปตนมฤคทายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่พระปัญจวัคคีย์ซึ่งปัจจุบันเรียกว่าสารนาถอันเป็นสังเวชนียสถานแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ชานเมืองพาราณสีพาราณสียังเป็นเมืองที่ศักดิสิทธิ์ที่สุดหนึ่งในเจ็ดเมืองศักดิสิทธิ์ในความเชื่อของศาสนาฮินดูและศาสนาเชนมีประวัติความเป็นมายาวนานกว่า๔,๐๐๐ปีเป็นเมืองที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศอินเดียและยังจัดเป็นเมืองที่มีผู้อยู่อาศัยต่อเนื่องยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์โลกด้วยถือว่าเป็นสุทธาวาสที่สถิตแห่งศิวเทพถือว่าเป็นเมืองอมตะของอินเดียและเป็นที่แสวงบุญทั้งของชาวฮินดูและชาวพุทธทั่วโลกครั้งสมัยอาณานิคมเมืองนี้มีชื่อว่าเบนาเรสพาราณสีพาราณสีพาราณสีพาราณสีปฐมเทศนา
พาหุสัจจะหมายถึงการได้ศึกษาเล่าเรียนมากการมีความรู้ประสบการณ์มากเรียกบุคคลผู้มีภาวะอย่างนั้นว่าพหูสูตคือผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนมากมากผู้มีความรู้มากผู้คงแก่เรียนนักปราชญ์หนังสือบางฉบับเรียกว่าหัวใจนักปราชญ์พาหุสัจจะเกิดจากการศึกษาและการศึกษาที่ดีเกิดจากการศึกษา๔แบบคือศึกษาด้วยการฟังด้วยการคิดด้วยการสอบถามและด้วยการจดจำบันทึกมีคาถาบทหนึ่งที่ถือว่าเป็นหัวใจนักปราชญ์คือสุจิปุลิวินิมุตโตกถังโสปณฺฑิโตภเวแปลว่าผู้ปราศจากสุจิปุลิจะเป็นบัณฑิตได้อย่างไรสุย่อมาจากสุตะแปลว่าฟังจิย่อมาจากจินตะแปลว่าคิดปุย่อมาจากปุจฉาแปลว่าถามลิย่อมาจากลิขิตแปลว่าจดพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พาหุสัจจะพาหุสัจจะพาหุสัจจะพาหุสัจจะเรียนมามาก
พาหุสัจจะแปลว่าความเป็นผู้ได้สดับมากพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พาหุสัจจะพาหุสัจจะพาหุสัจจะพาหุสัจจะฟังมามาก
พีชนิยามคือกฎธรรมชาติที่ครอบคลุมความเป็นไปในพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดข้อมูลของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชสัตว์เชื้อไวรัสและจิตกฎธรรมชาติที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ์โดยเฉพาะกฎข้อนี้จึงหมายรวมในเรื่องของร่างกายและกระบวนการทำงานของสิ่งมีชีวิตต่างๆที่เกิดจากการถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมด้วยสิ่งที่เรียกว่ากฎพีชนิยามนี้ทำให้เมื่อเรานำเมล็ดข้าวเปลือกไปเพาะต้นที่งอกออกมาจะต้องเป็นต้นข้าวเสมอหรือช้างเมื่อออกลูกมาแล้วย่อมเป็นลูกช้างเสมอหว่านพืชเช่นไรย่อมได้ผลเช่นนั้นความเป็นระเบียบนี้พระพุทธศาสนาค้นพบว่าเป็นผลมาจากการควบคุมของธัมมตาทั้ง๓คือสมตาการปรับสมดุลวัฏฏะการหมุนวนเวียนและชีวิตการมีหน้าที่ต่อกันนั่นเองพีชนิยามเป็นกฎธรรมชาติในฝ่ายที่เป็นระเบียบตรงกันข้ามกับธรรมนิยามซึ่งเป็นกฎธรรมชาติในฝ่ายที่ไม่มีระเบียบพีชนิยามพีชนิยามพีชนิยามกฎธรรมชาติ
พุทธชยันตีหรือสัมพุทธชยันตีเป็นเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวันวิสาขบูชาโดยคำนี้ใช้เรียกการจัดกิจกรรมในปีที่ครบรอบวาระสำคัญของพระพุทธเจ้าเช่นครบรอบ๒๕๐๐ปีแห่งปรินิพพานหรือ๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้โดยอาจใช้ชื่อต่างกันไปบ้างในแต่ละประเทศเช่นศรีสัมพุทธชันตีสัมพุทธชยันตีแต่ทั้งหมดก็คือการจัดกิจกรรมพุทธชยันตีเพื่อมุ่งหมายการถวายเป็นพุทธบูชาในปีที่ครบรอบวาระสำคัญของพระพุทธเจ้านั่นเองพุทธชยันตีพุทธชยันตีพุทธชยันตีพุทธชยันตีวันวิสาขบูชา
พุทธชยันตี๒๖๐๐ปีหรือพุทธชยันตี๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้เป็นเทศกาลสำคัญทางพระพุทธศาสนาเถรวาทที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวันวิสาขบูชาเพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสครบรอบ๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าในวันวิสาขบูชาพศ๒๕๕๕การฉลองพุทธชยันตี๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้จัดขึ้นพร้อมกันในหลายประเทศเช่นอินเดียศรีลังกาพม่าและประเทศไทยโดยวัตถุประสงค์ของพุทธชยันตีในประเทศต่างๆมุ่งการจัดกิจกรรมเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาเป็นวาระพิเศษตลอดทั้งปีเช่นการจัดกิจกรรมพุทธบูชาการปฏิบัติธรรมและการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมเพื่อเฉลิมฉลองรำลึกในโอกาสครบรอบ๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าในวันวิสาขบูชาเมื่อ๔๕ปีก่อนพุทธศักราชหรือก่อนพุทธปรินิพพานในประเทศไทยมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่างานฉลองสัมพุทธชยันตี๒,๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้าระยะเวลาจัดงานตั้งแต่เทศกาลวิสาขบูชาวันที่๒๙พฤษภาคมพศ๒๕๕๕เป็นต้นไปจนถึงสิ้นปีพศ๒๕๕๕พุทธชยันตี__ปี_แห่งการตรัสรู้พุทธชยันตี๒๖๐๐ปีแห่งการตรัสรู้พุทธชยันตีพุทธชยันตี๒๕๕๕
พุทธบริษัทคือหมู่ชนที่นับถือพระพุทธศาสนามี๔จำพวกคือภิกษุภิกษุณีอุบาสกและอุบาสิกาค่ะพุทธบริษัทพุทธบริษัทพุทธบริษัทพุทธบริษัทภิกษุภิกษุณีอุบาสกอุบาสิกา
พุทธบัญญัติคือบัญญัติของพระพุทธเจ้าข้อบัญญัติที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ได้แก่วินัยของภิกษุและภิกษุณีพุทธบัญญัติหมายถึงกฎระเบียบข้อบังคับที่พระพุทธเจ้าตั้งไว้เป็นพุทธอาณาคือระเบียบการปกครองภิกษุและภิกษุณีที่เรียกโดยทั่วไปว่าพระวินัยพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธบัญญัติพุทธบัญญัติพุทธบัญญัติพุทธบัญญัติบัญญัติพระพุทธเจ้า
พุทธบัญญัติเกิดขึ้นจากการที่มีภิกษุหรือภิกษุณีประพฤติไม่ถูกต้องไม่เหมาะสมหรือประพฤติเสียหายขึ้นจนชาวบ้านพากันตำหนิโพนทะนาทรงรับทราบแล้วจึงให้ประชุมสงฆ์ไต่สวนได้ความจริงแล้วจึงทรงบัญญัติเป็นข้อห้ามไว้การบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้ามีลักษณะเช่นนี้ทั้งหมดพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธบัญญัติพุทธบัญญัติพุทธบัญญัติพุทธบัญญัติชาวบ้านตำหนิ
พุทธพจน์หมายถึงถ้อยคำสำนวนที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นส่วนของธรรมหรือวินัยซึ่งเรียกว่านวังคสัตถุศาสน์บ้างปาพจน์บ้างล้วนเป็นพุทธพจน์จัดเป็นหลักแห่งพระพุทธศาสนาเป็นเครื่องอ้างอิงเทียบเคียงว่าคำสอนใดเป็นสัทธรรมแท้พุทธพจน์หรือเป็นสัทธรรมเทียมสัทธรรมปฏิรูปเพราะคำสอนที่เป็นสัทธรรมแท้นั้นต้องเป็นไปเพื่อคลายกำหนัดเพื่อกำจัดทุกข์เพื่อไม่สั่งสมกิเลสเพื่อมักน้อยเพื่อสันโดษเพื่อสงัดจากหมู่เพื่อความเพียรและเพื่อเลี้ยงง่ายถ้าตรงกันข้ามพึงรู้ว่าเป็นสัทธรรมเทียมพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธพจน์พุทธพจน์พุทธพจน์พุทธพจน์ถ้อยคำสำนวนที่พระพุทธเจ้าตรัส
พุทธพจน์แปลว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้าคำพูดของพระพุทธเจ้าพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธพจน์พุทธพจน์พุทธพจน์พุทธพจน์พระดำรัสของพระพุทธเจ้า
พุทธมามกะแปลว่าผู้ถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นของเราพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะผู้ถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นของเรา
พุทธศาสนิกชนหมายถึงคนที่ตกลงใจน้อมรับนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำตัวประจำชีวิตยินดีที่จะปฏิบัติตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาเต็มใจที่จะปฏิบัติตามหลักธรรมคือเว้นจากการทำความชั่วทำแต่ความดีและทำจิตใจให้หมดจดจากกิเลสด้วยการบำเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนาเช่นให้ทานรักษาศีลและเจริญภาวนาเพื่อขัดเกลาอบรมบ่มเพาะกายวาจาใจให้งดงามเรียบร้อยให้สงบนิ่งและให้พ้นจากความเศร้าหมองต่างๆพุทธศาสนิกชนที่พึงประสงค์คือผู้ปฏิบัติตนให้เป็นผู้รู้ผู้ฉลาดตื่นตัวอยู่เสมอไม่งมงายไม่ประมาทมัวเมาไม่หลงไปตามกระแสกิเลสพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนนับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำตัวประจำชีวิต
พุทธศาสนิกชนแปลว่าคนที่นับถือพระพุทธศาสนาค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนพุทธศาสนิกชนคนที่นับถือพระพุทธศาสนา
พุทธางกูรแปลว่าหน่อพระพุทธเจ้าหน่อเนื้อเชื้อไขพระพุทธเจ้าเรียกว่าหน่อพุทธางกูรหรือหน่อพุทธังกูรก็มีพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธางกูรพุทธางกูรพุทธางกูรพุทธางกูรหน่อพระพุทธเจ้า
พุทธางกูรได้แก่พระโพธิสัตว์นั่นเองหมายถึงผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าได้ในอนาคตภายภาคหน้าคือผู้ที่ปรารถนาพุทธภูมิและได้ระบพุทธพยากรณ์ไว้ว่าจะได้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคตซึ่งกำลังเวียนว่ายตายเกิดบำเพ็ญบารมีอยู่เช่นสุเมธดาบสได้รับพุทธพยากรณ์จากพระทีปังกรพระพุทธเจ้าว่าจะด้ไปเป็นพระพุทธเจ้าพระนามว่าสิทธัตถะต่อมาอีกหลายชาติได้อุบัติมาเป็นพระเวสสันดรแล้วเป็นเจ้าชายสิทธัตถะแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในที่สุดเรียกพระโพธิสัตว์ในทุกๆชาตินั้นว่าหน่อพุทธางกูรพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธางกูรพุทธางกูรพุทธางกูรพุทธางกูรผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า
ฤดูฝนค่ะวันเข้าพรรษาพรรษา
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร ภาค๑ มหานิกาย ราชวรมหาวิหารวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ภาค๑ มหานิกาย ราชวรมหาวิหารวัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร ภาค๑ มหานิกาย ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร ภาค๑ มหานิกาย ราชวรมหาวิหารวัดพระพุทธบาท สระบุรี ภาค๒ มหานิกาย ราชวรมหาวิหารวัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม ภาค๑๔ มหานิกาย ราชวรมหาวิหารวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร ภาค๑ ธรรมยุต ราชวรวิหารวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร ภาค๑ ธรรมยุต ราชวรวิหารวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร ภาค๑ ธรรมยุต ราชวรวิหารวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพมหานคร ภาค๑ มหานิกาย ราชวรวิหารวัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร ภาค๑ มหานิกาย ราชวรวิหารวัดเสนาสนาราม พระนครศรีอยุธยา ภาค๒ ธรรมยุต ราชวรวิหารวัดสุวรรณดาราราม พระนครศรีอยุธยา ภาค๒ มหานิกาย ราชวรวิหารวัดนิเวศธรรมประวัติ พระนครศรีอยุธยา ภาค๒ ธรรมยุต ราชวรวิหารวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุโขทัย ภาค๕ มหานิกาย ราชวรวิหารวัดพระบรมธาตุไชยา สุราษฎร์ธานี ภาค๑๖ มหานิกาย ราชวรวิหารวัดพระศรีมหาธาตุ กรุงเทพมหานคร ภาค๑ ธรรมยุต วรมหาวิหารวัดญาณสังวราราม ชลบุรี ภาค๑๓ ธรรมยุต วรมหาวิหารวัดพระธาตุพนม นครพนม ภาค๑๐ มหานิกาย วรมหาวิหารวัดพระสิงห์ เชียงใหม่ ภาค๗ มหานิกาย วรมหาวิหารวัดพระธาตุหริภุญชัย ลำพูน ภาค๗ มหานิกาย วรมหาวิหารวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก ภาค๕ มหานิกาย วรมหาวิหารวัดพระมหาธาตุ นครศรีธรรมราช ภาค๑๖ ธรรมยุต วรมหาวิหารพระอารามหลวงพระอารามหลวงชั้นเอก
วินยาธิการอ่านว่าวินะยาทิกานมากจากคำว่าวินยบวกอธิบวกการแปลว่าเจ้าการพระวินัยหรือภาษาปากว่าตำรวจพระหมายถึงพระภิกษุชาวไทยผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการตามพระวินัยเรียกเต็มว่าพระวินยาธิการพระวินยาธิการพระวินยาธิการแปลว่าอะไรพระวินยาธิการพระวินยาธิการตำรวจพระ
สำหรับพระอภิธรรมปิฎกนั้นแบ่งออกเป็นเจ็ดคัมภีร์ซึ่งเรียกย่อว่าสํวิธาปุกยและปตามลำดับประกอบไปด้วย๑สังคณีหรือธัมมสังคณีเรียกโดยย่อว่าสํ"รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท๒วิภังค์เรียกโดยย่อว่าวิยกหมวดธรรมขึ้นตั้งเป็นหัวข้อเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด๓ธาตุกถาเรียกโดยย่อว่าธาสังเคราะห์หรือจัดประเภทข้อธรรมต่างๆเข้าเป็นหมวดเป็นหมู่ดังต่อไปนี้คือขันธ์อายตนะและธาตุ๔ปุคคลบัญญัติเรียกโดยย่อว่าปุบัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่างๆตามคุณธรรมที่มีอยู่๕กถาวัตถุเรียกโดยย่อว่ากแถลงและวินิจฉัยทัศนะที่ขัดแย้งกันของนิกายต่างๆในสมัยสังคายนาครั้งที่๓โดยเน้นความถูกต้องของฝ่ายเถรวาทคัมภีร์นี้เป็นบทนิพนธ์ของพระโมคคลีบุตรติสสเถระ๖ยมกะเรียกโดยย่อว่ายยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบโดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ๆ๗ปัฏฐานหรือมหาปกรณ์เรียกโดยย่อว่าปอธิบายปัจจัย๒๔และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมทั้งหลายอย่างละเอียดพระอภิธรรมปิฎกพระอภิธรรมปิฎกพระอภิธรรมปิฎกพระอภิธรรมปิฎกเจ็ดคัมภีร์
สีมาหมายถึงเขตหรือแดนที่กำหนดไว้สำหรับทำสังฆกรรมของสงฆ์เป็นเขตชุมนุมสงฆ์โดยเฉพาะซึ่งพระสงฆ์กำหนดว่าผู้อยู่ในเขตนั้นจะต้องร่วมกันทำสังฆกรรมโดยความพร้อมเพรียงกันพัทธสีมาหมายถึงสีมาหรือเขตแดนที่พระสงฆ์ผูกไว้แล้วคือพระสงฆ์ร่วมกันกำหนดให้เป็นเขตทำสังฆกรรมตามพระวินัยเรียกพิธีกรรมที่กำหนดอย่างนั้นว่าผูกสีมาโดยทั่วไปเรียกพัทธสีมาว่าโบสถ์หรืออุโบสถเขตหรือแดนที่จะผูกเป็นพัทธสีมานั้นจะต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการก่อนเพราะต้องเป็นเขตแยกต่างหากจากเขตแดนบ้านซึ่งเรียกว่าวิสุงคามสีมาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พัทธสีมาพัทธสีมาพัทธสีมาพัทธสีมาโบสถ์อุโบสถ
หมายถึงผู้ประกาศตนว่าขอถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะหรือผู้ประกาศตนว่าเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะพุทธมามกะขอถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะ
เป็นชื่อเรียกสถานที่ประทับของพระพุทธเจ้าโดยเฉพาะเรียกเต็มว่าพระมูลคันธกุฎีในพุทธประวัติเล่าว่าสถานที่ประทับของพระพุทธเจ้าทุกแห่งจะมีผู้นำของหอมนานาชนิดไม่ว่าจะเป็นไม้หอมดอกไม้หอมเป็นต้นมาบูชาพระพุทธเจ้ามิได้ขาดโดยประดับไว้ภายในที่ประทับบ้างวางเรียงรายอยู่โดยรอบบ้างโดยมุ่งบูชาพระพุทธเจ้าด้วยกลิ่นหอมจึงปรากฏว่าหลังวัดที่ประทับจะมีดอกไม้ที่แห้งแล้วถูกนำไปทิ้งไว้เป็นกองใหญ่ด้วยมีจำนวนมากพระคันธกุฎีหรือสถานที่ประทับประจำของพระพุทธเจ้ามิใช่จะมีกลิ่นหอมเท่านั้นยังถูกสร้างขึ้นอย่างวิจิตรพิสดารเท่าที่มนุษย์จะทำกันได้ด้วยแรงศรัทธาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘พระคันธกุฎีพระคันธกุฎีพระคันธกุฎีพระมูลคันธกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจ้า
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ