ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
สัตว์ผู้มีขันธ์๕ขันธ์คือมีรูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณได้แก่มนุษย์สัตว์ค่ะอริยะบุญอริยะปุญโญ?ขันธ์ขันธ์ขันธ์พรหม
๑อดทนถอนตัวหรือหลีกเลี่ยงจากความชั่วให้ได้๒อดทนทำความดีต่อไป๓อดทนรักษาใจไว้ไม่ให้เศร้าหมองความอดทน
คณิตกรณ์คณิตคณิตกรณ์ภาษาอังกฤษคอมพิวเตอร์
ก็เกิดมาแล้วนี่เกิดมาแล้ว
คณปูรกะอ่านว่าค่ะนะปูระกะแปลว่าผู้ทำให้คณะเต็มจำนวนผู้ทำให้ครบองค์ประชุมคณปูรกะเป็นภาษาพระวินัยหมายถึงภิกษุผู้เข้าร่วมทำสังฆกรรมที่ทำให้ครบคณะพอดีกล่าวคือในการทำสังฆกรรมของสงฆ์มีข้อกำหนดไว้ชัดเจนว่าจะต้องมีภิกษุเข้าร่วมประชุมกี่รูปเช่น๔รูป๕รูป๒๐รูปแล้วแต่ชนิดของสังฆกรรมถ้ามีภิกษุขาดไปหนึ่งหรือสองรูปถือว่าไม่ครบองค์สงฆ์หรือองค์ประชุมทำสังฆกรรมนั้นไม่ได้ทำไปก็ไม่ขึ้นถือเป็นโมฆะต่อเมื่อมีภิกษุอื่นมาสมทบตามจำนวนที่ขาดจึงครบองค์สงฆ์พอดีแล้วทำสังฆกรรมนั้นได้เรียกภิกษุที่มาสมทบทำให้ครบองค์สงฆ์นั้นแหละว่าคณปูรกะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คณปูรกะ
คณปูรกะคณปูรกะคณปูรกะ
ครุกรรมอ่านว่าค่ะรุกำแปลว่ากรรมหนักคือกรรมที่มีผลมากมีโทษรุนแรงที่สุดเป็นชื่อกรรมอย่างหนึ่งเรียกตามการให้ผลหนักเบาครุกรรมจัดเป็นกรรมที่หนักที่สุดให้ผลเร็วและแรงมีทั้งฝ่ายที่เป็นกุศลคือฝ่ายดีและฝ่ายที่เป็นอกุศลคือฝ่ายไม่ดีครุกรรมที่เป็นกุศลได้แก่ฌานสมาบัติ๘ผู้ได้ฌานสมาบัติชื่อว่าได้ทำกรรมฝ่ายกุศลที่ดีที่สุดเมื่อสิ้นชีวิตแล้วย่อมได้เกิดในพรหมโลกทันทีส่วนครุกรรมที่เป็นอกุศลได้แก่อนันตริยกรรม๕มีฆ่าบิดาฆ่ามารดาเป็นผู้ทำอนันตริยกรรมชื่อว่าได้ทำกรรมฝ่ายอกุศลที่ร้ายแรงที่สุดเมื่อสิ้นชีวิตแล้วย่อมเกิดในนรกทันทีครุกรรมย่อมให้ผลก่อนกรรมอื่นเสมออุปมาเหมือนวัวแก่มีกำลังน้อยแต่ยืนอยู่ตรงปากประตูคอกพอดีย่อมจะออกจากคอกได้ก่อนวัวหนุ่มอื่นๆทั้งหลายฉะนั้น
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ครุกรรม
ครุกรรมครุกรรมครุกรรมกรรมหนัก
ครุกาบัติหมายถึงอาบัติหนักอาบัติที่มีโทษร้ายแรงค่ะอาบัติครุกาบัติครุกาบัติอาบัติหนัก
ครุธรรมอ่านว่าค่ะรุทำแปลว่าธรรมอันหนักหมายถึงข้อปฏิบัติสำหรับภิกษุณีอันเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นที่ทรงอนุญาตให้สตรีอุปสมบทได้โดยต้องปฏิบัติด้วยความเคารพตลอดชีวิตมี๘ประการโดยสรุปคือ๑แม้บวชมานานนับร้อยปีก็ต้องกราบไหว้ภิกษุแม้บวชในวันนั้น๒ต้องจำพรรษาอยู่ในวัดที่มีภิกษุ๓ต้องไปถามวันอุโบสถและรับฟังโอวาทจากภิกษุทุกกึ่งเดือน๔ต้องปวารณาในสงฆ์สองฝ่ายหลังจำพรรษาแล้ว๕ต้องประพฤติมานัตในสงฆ์สองฝ่ายเมื่อต้องอาบัติหนัก๖ต้องเป็นสิกขมานา๒ปีก่อนจึงขออุปสมบทในสงฆ์สองฝ่ายได้๗ต้องไม่บริภาษด่าว่าภิกษุไม่ว่ากรณีใดๆ๘จะว่ากล่าวตักเตือนภิกษุไม่ได้แต่ภิกษุว่ากล่าวตักเตือนได้
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ครุธรรม
ครุธรรม
คฤหัสถ์อ่านว่าค่ะรึหัดแปลว่าผู้มีเรือนผู้ครองเรือนผู้อยู่ในเรือนเรียกรวมทั้งชายและหญิงบางครั้งเรียกว่าคฤหัสถ์ชายหญิงหมายถึงชาวบ้านทั่วไปที่มิใช่นักบวชมีความหมายเดียวกับฆราวาสคำว่าคฤหัสถ์นิยมใช้คู่กับบรรพชิตที่แปลว่านักบวชเช่นทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิตผู้ประพฤติธรรมร่วมกันเป็นที่น่ารักน่าพอใจมีอยู่หรือขอให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ในพระนครนี้มาชุมนุมพร้อมกันเป็นต้น
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คฤหัสถ์
คฤหัสถ์
คอสองในคำวัดใช้เรียกภิกษุผู้อยู่ในอันดับที่สองถัดจากองค์ต้นที่เป็นประธานสงฆ์ในพิธีสวดมนต์ตามบ้านหรือในวัดโดยเป็นผู้ช่วยเหลือประธานสงฆ์ในการสวดมนต์มีหน้าที่รับบทสวดที่องค์ประธานขึ้นคล้ายกับเป็นลูกคู่ในวงเพลงที่ร้องแก้กันเมื่อคอสองรับแล้วรูปอื่นๆก็สวดรับต่อกันไปทำให้การสวดไม่ขาดตอนคอสองมีธรรมเนียมว่าจะต้องวางเสียงให้สูงต่ำพอดีกับเสียงของประธานสงฆ์ที่ขึ้นบทสวดหากรับสูงหรือต่ำเกินไปจะทำให้คอต่อๆไปรับได้ยากแลฟังไม่ไพเราะกล่าวคือในการสวดมนต์มีธรรมเนียมกำหนดไว้ว่ารูปหลังๆต้องฟังเสียงและจังหวะสวดของรูปต้นๆเป็นหลักไม่ใช่สวดไปตามใจชอบหรือตามเสียงสูงต่ำปกติของตน
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คอสอง
คอสอง
คันถธุระหมายถึงงานด้านคันถะงานด้านการเล่าเรียนงานเกี่ยวกับคัมภีร์หรือตำราโดยรวมคืองานเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียนพระพุทธพจน์อันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าโดยการเล่าเรียนพระพุทธพจน์บทใดบทหนึ่งหรือพระไตรปิฎกทั้งหมดตามความสามารถแห่งสติปัญญาของตนแล้วท่องบ่นทรงจำสอนกันบอกกันต่อๆไปเพื่อรักษาพระพุทธพจน์ไว้รวมถึงการแนะนำสั่งสอนเผยแพร่พระพุทธพจน์แก่บุคคลทั่วไปตลอดทั้งการจัดทำและการรักษาตำราและคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาไว้ด้วยคันถธุระเป็นงานที่พระพุทธเจ้าทรงกำหนดให้ภิกษุปฏิบัติอย่างหนึ่งใน๒อย่างคือคันถธุระและวิปัสสนาธุระ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันถธุระ
คันถธุระ
คันถรจนาจารย์อ่านว่าคันถะรดจะนาจานแปลว่าอาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์อาจารย์ผู้แต่งตำราคะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันถรจนาจารย์
คันถรจนาจารย์
คันถรจนาจารย์ใช้เรียกภิกษุที่เป็นนักปราชญ์ฉลาดรู้ในคัมภีร์รู้แจ้งคำสอนทางพระพุทธศาสนาและเชี่ยวชาญทางอักษรศาสตร์ได้แต่งตำราหรือหนังสือที่อธิบายขยายความที่ยากในพระไตรปิฎกให้เข้าใจง่ายขึ้นพร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นบ้างข้อวินิจฉัยบ้างไว้ส่วนหนึ่งเรียกว่าพระคันถรจนาจารย์คันถรจนาจารย์เรียกย่อยออกไปอีกเป็นพระอรรถกถาจารย์คือผู้แต่งคัมภีร์อรรถกถาบ้างพระฎีกาจารย์คือผู้แต่งคัมภีร์ฎีกาบ้าง
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันถรจนาจารย์
คันถรจนาจารย์
คันธมาทน์อ่านว่าคันทะมาดแปลว่าภูเขาเป็นที่ยังสัตว์ให้เมาด้วยกลิ่นหอมค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันธมาทน์
คันธมาทน์
คันธมาทน์เป็นชื่อภูเขาในป่าหิมพานต์คือภูเขาหอมค่ะนัยว่ามีกลิ่นหอมอบอวลอยู่ตลอดเวลาด้วยเป็นภูเขาที่สะพรั่งด้วยต้นไม้หอมนานาชนิดดารดาษไปด้วยต้นไม้สมุนไพรนับจำนวนมิได้เป็นที่อาศัยแห่งหมู่สัตว์ใหญ่น้อยมีถ้ำใหญ่อยู่๓ถ้ำคือถ้ำทองถ้ำแก้วและถ้ำเงินเป็นที่อยู่ของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายโดยรวมกันอยู่ที่เงื้อมชื่อนันทมูลกะในเรื่องมหาเวสสันดรชาดกกล่าวว่าพระเวสสันดรพร้อมทั้งพระมเหสีและพระโอรสพระธิดาได้เสด็จผนวชในป่าเชิงเขานี้ค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คันธมาทน์
คันธมาทน์
คามวาสีอ่านว่าคามะวาสีแปลว่าผู้อยู่ในหมู่บ้านผู้ประจำอยู่ในหมู่บ้านหมายถึงภิกษุที่พำนักอยู่ตามวัดในหมู่บ้านหรือในตัวเมืองมีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทางคันถธุระคือศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมมีภารกิจคือการบริหารปกครองการเผยแผ่ธรรมและการก่อสร้างปฏิสังขรณ์วัดวาอารามเป็นหลักเรียกกันทั่วไปว่าพระบ้านพระเมืองซึ่งเป็นคู่กับคำว่าอรัญวาสีคือพระป่าคามวาสีถูกนำมาใช้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไปเพื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระบ้าน
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คามวาสี
คามวาสี
คำว่าครูบาครูคือผู้สั่งสอนวิชาความรู้อบรมจรรยามารยาทให้แก่ศิษย์ส่วนบาเป็นภาษาถิ่นทางเหนือหมายถึงพระภิกษุสงฆ์ที่มีพรรษามากเป็นที่เคารพเลื่อมใสของพุทธศาสนิกชนทั่วไปค่ะ
คำว่าครูบาครูคือผู้สั่งสอนวิชาความรู้อบรมจรรยามารยาทให้แก่ศิษย์บาเป็นภาษาถ
ครูบาอาจารย์ครูบาครูบาอาจารย์พระภิกษุสงฆ์
คิลานภัตคืออาหารที่จัดถวายภิกษุไข้โดยเฉพาะคิลานเภสัชคือยาสำหรับภิกษุไข้ยารักษาโรคคิลานศาลาคือเรือนพักภิกษุไข้ที่พยาบาลภิกษุไข้โรงพยาบาลคิลานุปฐากคือผู้ปฏิบัติดูแลภิกษุไข้คิลานุปัฏฐากภัตคืออาหารที่จัดถวายภิกษุสามเณรผู้ปฏิบัติดูแลภิกษุไข้โดยเฉพาะคิลาน
คืบพระสุคตเป็นภาษาพระวินัยเป็นชื่อมาตราวัดมีปรากฏหลายแห่งในพระวินัยเช่นความสูงของพระพุทธเจ้าความสูงของเตียงขนาดจีวรเป็นต้นสันนิษฐานว่าเดิมคงทรงกำหนดด้วยนิ้วพระหัตถ์ของพระองค์โดยประมาณและเทียบกับนิ้วช่างไม้ในสมัยนั้นจึงมีข้อสันนิษฐานกันมากมายเช่น๑คืบพระสุคตเท่ากับ๓คืบของคนปานกลางสมัยนั้นหรือเท่ากับ๑ศอกคืบช่างไม้ดูจะสูงและยาวเกินความจริงจึงไม่เป็นที่ยอมรับในปัจจุบันได้ข้อยุติว่าให้ถือตามมาตราวัดเป็นเมตรคือ๑คืบพระสุคตเท่ากับ๒๕เซนติเมตร๒คืบพระสุคตเท่ากับ๕๐เซนติเมตรหรือ๑ศอกช่างไม้ดังนั้น๑เมตรจึงเท่ากับ๔คืบพระสุคตหรือ๒ศอกช่างไม้มตินี้เป็นที่ยอมรับกัน
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘คืบพระสุคต
หน่วยวัดในสมัยพุทธกาล
มี๒อย่างคืออาบัติปาราชิกและอาบัติสังฆาทิเสสค่ะอาบัติ
ราชอาณาจักรมคธถือเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในชมพูทวีปปกครองด้วยระบอบสมบูรณายาสิทธิราชย์ถือกำเนิดขึ้นไล่เลี่ยกับการกำเนิดของมหาชนบท๑๖แคว้นมีเมืองหลวงครั้งแรกชื่อราชคฤห์ต่อมาพระเจ้าอชาตศัตรูจึงย้ายเมืองหลวงไปยังปาฏลีบุตรหรือปัฏนะริมฝั่งแม่น้ำคงคามคธได้ผ่านการรัฐประหารเปลี่ยนแปลงขั้วอำนาจมาหลายครั้งไม่ว่าจะมาจากอำมาตย์สุสุนาคมหาโจรนันทะจันทรคุปต์พราหมณ์ปุษยมิตรฯลฯแคว้นมคธได้สิ้นสุดลงในปีพศ๕๑๖กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอันธระต่อมาประมาณปลายพุทธศตวรรษที่๙ราชอาณาจักรมคธก็ฟื้นคืนชีพอีกครั้งในนามของราชวงศ์คุปตะอันเป็นยุคคลาสสิกของอินเดียราชอาณาจักรมคธในยุคนี้ก็อยู่สืบต่อมาแต่มิใช่ศูนย์อำนาจอีกหลังคุปตะล่มสลายจนกองทัพมุสลิมเติร์กเข้ายึดอินเดียเหนือได้ทั้งหมดจึงเป็นจุดสิ้นสุดที่แท้จริงของราชอาณาจักรมคธ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดกรุงเทพฯวัดราชโอรสาราม,๒๕๔๘แคว้นมคธ
แคว้นมคธ
สามารถเรียกได้ว่าเป็นการปกครองแบบประชาธิปไตยระบบหนึ่งคือไม่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขทรงอำนาจสิทธิ์ขาดมีแต่ผู้เป็นประมุขแห่งรัฐซึ่งบริหารงานโดยความเห็นชอบจากรัฐสภาซึ่งจะประกอบไปด้วยเหล่าสมาชิกจากเจ้าวงศ์ต่างๆวึ่งรวมเป็นคณะผู้ครองแคว้นคณาธิปไตยคณาธิปไตยคณาธิปไตย
เกิดแก่เจ็บตายเกิดแก่เจ็บตายเกิดแก่เจ็บตายเกิดไม่รู้จบสิ้นนี่แหละค่ะคุกคุกคุกคุกแก่เจ็บตายเกิด
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ