ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
เยอะอะค่ะรายชื่อพระอารามหลวงในประเทศไทยพระอารามหลวง
แต่เดิมนั้นยังไม่มีการจัดแบ่งพระอารามหลวงอย่างเป็นทางการเพียงแต่มีการจัดแบ่งพระอารามหลวงออกเป็นหลายชั้นตามความรู้สึกหรืออาศัยการคาดเดาตามสถานการณ์เช่นดูจากการพระราชทานเทียนพรรษาขี้ผึ้งหรือไม้เล่มเดียวหรือมากกว่านั้นหรือดูจากการบรรดาศักดิ์ที่พระราชทานแก่เจ้าพนักงานผู้คุมเลขค่าพระเป็นต้นหลังจากนั้นกระทรวงธรรมการร่วมกับกระทรวงพระคลังมหาสมบัติได้จัดระเบียบพระอารามหลวงเพื่อประมาณค่าบำรุงวัดหลักจากเลิกเลขวัดแต่ไม่ได้นำมาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดระเบียบพระอารามหลวงดังนั้นในปีพศ๒๔๕๘พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มีการจัดระเบียบพระอารามหลวงขึ้นอย่างเป็นระบบตั้งแต่นั้นมาโดยในครั้งนั้นวัดที่จัดว่าเป็นพระอารามหลวงนั้นคือวัดอันสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินสมเด็จพระราชินีสมเด็จพระยุพราชทรงสร้างทรงปฏิสังขรณ์เป็นส่วนพระองค์หรือทรงในนามท่านผู้อื่นและอารามอันพระบรมวงศ์และข้าทูลละอองธุลีพระบาทผู้ใหญ่สร้างปฏิสังขรณ์ทรงรับไว้ในความบำรุงของแผ่นดินภายหลังจึงหมายรวมถึงวัดราษฎร์ที่ที่ประชาชนสร้างหรือปฏิสังขรณ์แล้วทรงพิจารณาเห็นสมควรยกย่องเป็นพิเศษก็ทรงรับไว้เป็นพระอารามหลวงพระอารามหลวงพระอารามหลวง
๑ทำบุญทำทานด้วยจิตใจงดงาม๒เป็นเจ้าในงานทอดกฐินหรือเป็นเจ้าภาพในการสร้างวัดพระอุโบสถพระวิหารพระพุทธรูปฯลฯ๓เป็นประธานในการเทศนาธรรมการสังคายนาพระไตรปิฏกฯลฯ๔บูชาเจดีย์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิพระเจ้าจักรพรรดิเจ้าภาพในการสร้างวัด
วีอาฟันฟันฟันทุกวันเพลง
ภพสามก็สวรรค์โลกนรกค่ะภพสามภพสามภพสามสวรรค์โลกนรก
ภวตัณหาแปลว่าความอยากในภพภวตัณหาทั่วไปหมายถึงความอยากมีอยากเป็นคืออยากมีอย่างนั้นอย่างนี้อยากเป็นนั่นเป็นนี่พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหาความอยาก
ภวตัณหาใจความสูงสุดหมายถึงความกำหนัดยินดีในรูปภพและอรูปภพคือความพอใจติดใจในฌานด้วยความปรารถนาภพอันเป็นความยินดีที่ประกอบด้วยสัสสตทิฐิคือความเห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างเช่นเบญจขันธ์เป็นของเที่ยงแท้ยั่งยืนมีติดต่อกันไปไม่เปลี่ยนแปลงกล่าวคืออยากเกิดอยากเป็นเช่นที่เป็นอยู่ตลอดไปพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหาภวตัณหายินดีในรูป
ภวังคจลนะคือเป็นภวังคจิตที่ไหวตัวเพราะเหตุที่มีอารมณ์ใหม่มากระทบจึงน้อมไปในอารมณ์ใหม่คือสร้างและถ่ายทอดข้อมูลสู่จิตดวงใหม่ภวังคจิตภวังคจลนะภวังคจลนะภวังคจลนะอารมณ์ใหม่
ภวังคจิตคือจิตใต้สำนึกในทางศาสนาพุทธหมายถึงเป็นกระบวนการทำงานแบบอัตโนมัติของจิตจิตใต้สำนึกในความหมายของภวังคจิตนี้จึงอาจแตกต่างจากทางจิตวิทยานะคะภวังคจิตภวังคจิตภวังคจิตภวังคจิตอัตโนมัติของจิต
ภวังคจิตภวังคะหรือภะวังคะภว+องฺคะแปลตามพยัญชนะว่าองค์ของภพมักใช้รวมกับจิตเป็นภวังคจิตในทางพระพุทธศาสนาถือว่าจิตมีลักษณะเกิดดับอยู่ตลอดเวลาซึ่งการสืบต่อสันตติของจิตย่อมอาศัยการถ่ายทอดข้อมูลจากภวังคจิตจิตดวงเดิมไปสู่จิตดวงใหม่ด้วยกระบวนการของการทำงานของภวังคจิตเพราะเหตุว่าภวังคจิตเป็นเหตุให้สร้างจิตดวงใหม่ตลอดเวลาก่อนจิตดวงเก่าจะดับไปจึงชื่อว่าเป็นเหตุแห่งภพหรือเป็นเหตุสร้างภพจิตในทางศาสนาพุทธแบ่งออกเป็นสองส่วนคือ๑วิถีจิตจิตสำนึก๒ภวังคจิตจิตใต้สำนึกภวังคจิตภวังคจิตภวังคจิตภวังคจิตยินดีในรูป
ภวังคบาทคือภวังคจิตที่ทรงอารมณ์เก่าอันเป็นอารมณ์ที่ได้มาจากภพหรือจิตดวงก่อนและกำลังกระทบอารมณ์ใหม่ภวังคบาทภวังคบาทภวังคบาทอารมณ์เก่า
ภวังคปัจเฉทะคือเป็นภวังคจิตที่ตัดกระแสภวังคคือปล่อยอารมณ์เก่าวางอารมณ์เก่าเพื่อรับอยู่กับอารมณ์ใหม่หรือจิตดวงใหม่ภวังคจิตภวังคปัจเฉทะภวังคปัจเฉทะภวังคปัจเฉทะปล่อยเก่าใหม่
ภิกษุหรือพระภิกษุเป็นคำใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะคู่กับภิกษุณีนักบวชหญิงคำว่าภิกษุเป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนาเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชชายในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะไม่สาธารณะทั่วไปสำหรับทุกศาสนามีความหมายว่าผู้ขออย่างขออาหารเป็นต้นและสามารถแปลว่าผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสารก็ได้ดังรูปวิเคราะห์ว่าวฏฺฏสํสาเรภยํอิกฺขตีติภิกฺขุในประเทศไทยและประเทศลาวมีคำเรียกภิกษุเถรวาทว่าพระแปลว่าผู้ประเสริฐเป็นคำที่เรียกกันมาแต่โบราณเพื่อเป็นการยกย่องนักบวชในพระพุทธศาสนาภิกษุภิกษุภิกษุภิกษุนักบวชชาย
ภิกษุณีเป็นคำใช้เรียกนักบวชหญิงในพระพุทธศาสนาคู่กับภิกษุที่หมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนาคำว่าภิกษุณีเป็นศัพท์ที่มีเฉพาะในพระพุทธศาสนาโดยเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชหญิงในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะไม่ใช้เรียกนักบวชในศาสนาอื่นภิกษุณีภิกษุณีภิกษุณีภิกษุณีนักบวชหญิง
ภิกษุณีสายเถรวาทซึ่งสืบวงศ์มาแต่สมัยพุทธกาลด้วยการบวชถูกต้องตามพระวินัยปิฎกเถรวาทที่ต้องบวชในสงฆ์สองฝ่ายคือทั้งภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ได้ขาดสูญวงศ์ไม่มีผู้สืบต่อมานานแล้วค่ะคงเหลือแต่ภิกษุณีฝ่ายมหายานหรืออาจริยวาทที่ยังสืบทอดการบวชภิกษุณีแบบมหายานคือบวชในสงฆ์ฝ่ายเดียวมาจนปัจจุบันซึ่งจะพบได้ในจีนเกาหลีใต้ญี่ปุ่นและศรีลังกาค่ะภิกษุณีภิกษุณีภิกษุณีภิกษุณีมหายาน
มโนหมายถึงสภาวะของจิตที่น้อมจิตไปกำหนดสนใจตามเจตสิกที่เข้ามาปรุงแต่งให้จิตเพ่งความสนใจในอายตนะต่างๆโดยเฉพาะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโน
จินตนาการคิดไปเองคิดเอาเองไรเงี้ยค่ะ
มโน
การประพฤติชั่วด้วยใจเป็นการกระทำความชั่วทำความผิดทางใจคือด้วยการคิดจัดเป็นบาปมิใช่บุญก่อทุกข์โทษให้ทั้งในปัจจุบันและภพชาติต่อไป
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนทุจริต
มโนทุจริต
กำจัดได้ด้วยปัญญาคือใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นประจักษ์ในสิ่งนั้นๆค่ะ
โมหะ
โมหะ
ก็ต้องมงคลชีวิต๓๘ประการสิค่ะมีอยู่เป็นมงคลแน่นอนค่ามงคลชีวิต
มงคลชีวิต
มงคลชีวิต
มงคล๓๘ประการ
คราวหนึ่งในพระวิหารบุพพารามกรุงสาวัตถีพระพุทธเจ้าประทับอยู่กับภิกษุสงฆ์๕๐๐รูปล้วนเป็นพระอรหันต์ในวันอุโบสถขึ้น๑๕ค่ำเพื่อจะทรงทำปวารณาพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแก่เหล่าภิกษุนั้นว่าจะติเตียนการกระทำทางกายทางวาจาของพระองค์บ้างหรือไม่พระสารีบุตรตอบปฏิเสธเพราะพระองค์ยังทางที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้นจากนั้นพระสารีบุตรก็กล่าวปวารณาให้พระพุทธเจ้าติเตียนท่านพระผู้มีพระภาคเจ้ากล่าวปฏิเสธเพราะพระสารีบุตรเป็นบัณฑิตเป็นผู้มีปัญญามากพระสารีบุตรทูลถามอีกว่าพระองค์จะไม่กล่าวติเตียนการกระทำทางกายทางวาจาของเหล่าภิกษุบ้างหรือพระองค์กล่าวปฏิเสธเพราะเหล่าภิกษุได้บรรลุวิชชา๓อภิญญา๖ได้อุภโตภาควิมุตติและได้ปัญญาวิมุติเป็นพระอรหันต์
มหาปวารณา
มหาปวารณา
ความดำริผิดหมายถึงวิตกเจตสิกที่เกิดกับอกุศลจิตเป็นปัจจัยให้คิดเป็นไปในกามคิดเป็นไปในความพยาบาทคิดเป็นไปในความเบียดเบียนหรือคิดผิดไปจากเหตุผลตามความเป็นจริงทำให้มีการปฏิบัติที่ผิดๆตามมาค่ะ
?
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
ความดำริผิด
ความดำริผิดค่ะ
สัมมาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
ความดำริผิด
คืออริยบุคคลผู้แทงตลอดในลำดับแห่งญาณ๑๖โดยสมบูรณ์ค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล
มหาโสดาบัน
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ