ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
คือผู้นำบุญผู้แนะนำทางบุญผู้ชี้ทางบุญใช้เรียกคฤหัสถ์ผู้ประสานติดต่อระหว่างวัดกับชาวบ้านในกิจการต่างๆของวัดหรือผู้เป็นหัวหน้าในพิธีทำบุญในวัดเช่นนำอาราธนาศีลอาราธนาพระปริตรนำถวายทานตลอดจนจัดแจงดูแลศาสนพิธีอื่นให้ถูกต้องเรียบร้อยอาจเป็นชายหรือหญิงก็ได้และแต่ละวัดอาจมีหลายคนก็ได้มัคนายกที่ดีและเก่งจะทำให้งานบุญต่างๆในวัดสำเร็จเรียบร้อยโดยเป็นระเบียบสวยงามและราบรื่นไม่ติดขัด
มัคนายก
มัคนายก
จะส่งผลให้บุคคลนั้นๆต้องไปเกิดยังนรกอเวจีเพื่อใช้กรรมที่ตนเองก่อไว้หลายร้อยชาติค่ะ
มิจฉาทิฐิ
มิจฉาทิฐิ
ดีแล้วหล่ะค่ะชีวิตนี้เกิดมาทั้งทีเรื่องอะไรจะมาทำให้มันติดลบซะล่ะคะอาชีพต้องห้าม
ตามเนื้อหาในพระสูตรมงคลของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไม่ยึดถือวัตถุแต่ยึดถือการปฏิบัติฝึกฝนตนเองซึ่งมีอยู่๓๘ประการทั้งหมดจำแนกอยู่ในเนื้อหาโดยแบ่งเป็น๑๐หมวดดังนี้หมวดที่๑ไม่คบคนพาลคบบัณฑิตบูชาคนที่ควรบูชาหมวดที่๒อยู่ในถิ่นที่เหมาะสมมีบุญวาสนามาก่อนตั้งตนชอบหมวดที่๓เป็นพหูสูตมีศิลปะมีวินัยมีวาจาสุภาษิตหมวดที่๔บำรุงมารดาบิดาเลี้ยงดูบุตรสงเคราะห์ภรรยา(สามี)ทำงานไม่คั่งค้างหมวดที่๕บำเพ็ญทานประพฤติธรรมสงเคราะห์ญาติทำงานไม่มีโทษหมวดที่๖งดเว้นจากบาปสำรวมจากการดื่มน้ำเมาไม่ประมาทในธรรมหมวดที่๗มีความเคารพมีความถ่อมตนมีความสันโดษมีความกตัญญูฟังธรรมตามกาลหมวดที่๘มีความอดทนเป็นผู้ว่าง่ายเห็นสมณะสนทนาธรรมตามกาลหมวดที่๙บำเพ็ญตบะประพฤติพรหมจรรย์เห็นอริยสัจจ์ทำพระนิพพานให้แจ้งหมวดที่๑๐จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรมจิตไม่โศกจิตปราศจากธุลีจิตเกษมอย่างไรก็ตามแม้พระพุทธองค์จะทรงแสดงธรรมไว้ชัดเจนดีแล้วก็มีผู้ที่เชื่อบ้างไม่เชื่อบ้างจึงได้ส่งผลมาถึงปัจจุบันนี้แนวทางการยึดถือความเป็นมงคลจึงมีอยู่๒แนวทางคือมงคลจากการมีสิ่งนั้นมีสิ่งนี้และมงคลจากการฝึกตัว
มงคลสูตร
มงคลสูตร
มงคลสูตร
มงคลสูตร
มี๓๘ประการ
ทานที่ให้ได้ยากมากๆแบ่งได้เป็น๓ระดับคือทานระดับบารมีให้กำลังสละแรงกายและเวลาของตนทานระดับอุปบารมี๓อย่างคือ๑ให้เลือดเนื้ออวัยวะในร่างกายตน๒ให้ภรรยาของตน๓ให้บุตรธิดาของตนทานระดับปรมัตถบารมีคือให้ชีวิตของตนมหาทาน
นางชีหรือแม่ชีเป็นนักพรตหญิงในศาสนาพุทธฝ่ายเถรวาทนุ่งขาวห่มขาวโกนศีรษะอาศัยในวัดเช่นเดียวกับภิกษุแต่มิได้อุปสมบทบางแห่งจึงถือว่าแม่ชีไม่ใช่นักบวชแต่เป็นอุบาสิกาในพุทธบริษัทสี่เท่านั้นอย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการก่อตั้งสำนักชีโดยเฉพาะเพื่อจะได้ไม่ปะปนกับพระภิกษุซึ่งเป็นเพศชาย
แม่ชี
แม่ชี
ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิมี๒อย่างได้แก่ปรโตโฆสะคือการโฆษณาแต่บุคคลอื่นเสียงจากผู้อื่นฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่นและอโยนิโสมนสิการคือการทำในใจโดยไม่แยบคายการไม่ใช้ปัญญาพิจารณาความไม่รู้จักคิดการปล่อยให้อวิชาครอบงำตรงกันข้ามกับคำว่าโยนิโสมนสิการ
มิจฉาทิฐิ
ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ
พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า"ดูก่อนภิกษุทั้งหลายสมณพราหมณ์บางพวกมีวาทะอย่างนี้มีทิฏฐิอย่างนี้ว่าทานที่ให้แล้วไม่มีผลการบูชาไม่มีผลการบวงสรวงไม่มีผลผลของกรรมดีกรรมชั่วไม่มีโลกนี้ไม่มีโลกอื่นไม่มีมารดาไม่มีบุญคุณบิดาไม่มีบุญคุณสัตว์ที่เป็นโอปปาติกะไม่มีสมณพราหมณ์ที่ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบทราบถึงโลกนี้และโลกอื่นด้วยปัญญาอันยิ่งเองและสามารถทำให้ผู้อื่นรู้ตามด้วยไม่มี"
มิจฉาทิฐิ
มิจฉาทิฐิ
มิจฉาทิฐิ
มิจฉาทิฐิ
มีทานที่ให้แล้วไม่มีผล
ภิกษุจำพรรษาในแคว้นโกศลตั้งกติกาไม่พูดกันใช้วิธีบอกใบ้หรือใช้มือแทนคำพูดเมื่อออกพรรษาแล้วไปเฝ้าพระพุทธเจ้าพระองค์ตรัสถามทรงติเตียนและทรงอนุญาตการปวารณาคือการอนุญาตให้ภิกษุอื่นว่ากล่าวตักเตือนกันได้ภิกษุจำพรรรษาแล้วปวารณาด้วยเหตุประการคือโดยได้เห็นโดยได้ยินได้ฟังและโดยสงสัยค่ะ
มหาปวารณา
มหาปวารณา
ภิกษุเถระพึงห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่านั่งกระโหย่งประคองอัญชลีแล้วกล่าวปวารณา๓ครั้งเพื่อให้ภิกษุนวกะกล่าวปรวารณาตอบภิกษุนวกะก็ห่มผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่านั่งกระโหย่งประคองอัญชลีแล้วกล่าวปวารณา๓ครั้งต่อมาพระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้นั่งกระโหย่งในระหว่างที่ยังปวารณาและทรงอนุญาตให้ภิกษุที่ปวารณาแล้วนั่งบนอาสนะเพราะเคยมีภิกษุชราภาพนั่งกระโหย่งคอยนานจนเป็นลมล้มลง
มหาปวารณา
มหาปวารณา
มงคลแปลว่าเหตุนำความสุขความเจริญมาให้คือสิ่งที่นำความโชคดีความสวัสดีและความสุขมาให้ตามที่ปรารถนามงคลมี๒อย่างคือมงคลทางโลกกับมงคลทางธรรมมงคลทางโลกคือสิ่งที่เป็นวัตถุซึ่งชาวโลกถือว่าเป็นมงคลได้แก่สิ่งของสัตว์และต้นไม้บางชนิดเช่นมงคลแฝดของขลังช้างเผือกใบเงินใบทองรวมถึงชื่ออักษรกาลเวลาหรือฤกษ์ยามเป็นต้นเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามงคลนอกมงคลทางธรรมคือมงคลที่เป็นข้อปฏิบัติต้องทำต้องปฏิบัติให้ได้จริงจึงจะเป็นมงคลมี๓๘ประการเช่นไม่คบคนพาลคบแต่บัณฑิตการให้ทานการประพฤติธรรมความกตัญญูเป็นต้นเรียกอีกอย่างว่ามงคลในหรือมงคล๓๘หรือมงคลชีวิตก็เรียก
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มงคล
มงคล
มหาชาติแปลว่าชาติที่ยิ่งใหญ่การเกิดครั้งยิ่งใหญ่
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มหาชาติ
มหาชาติ
มหาปวารณาเป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาตรงกับวันขึ้น๑๕ค่ำเดือน๑๑พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้พระภิกษุทำปวารณาคือยอมให้ว่ากล่าวตักเตือนซึ่งกันและกันหมายถึงยอมมอบตนให้สงฆ์กล่าวตักเตือนในข้อบกพร่องที่ภิกษุทั้งหลายได้เห็นได้ยินหรือมีข้อสงสัยด้วยจิตเมตตาเพื่อจักได้สำรวมระวังปรับปรุงแก้ไขตนเองเพื่อความเจริญของพระธรรมวินัยและความผาสุกในการอยู่ร่วมกันปัจจุบันวันที่พระสงฆ์ทำมหาปวารณารู้จักดีในชื่อวันออกพรรษา
มหาปวารณา
มหาปวารณา
มหาลดาปสาธน์มาจากคำว่ามหาเป็นคำวิเศษหมายความว่าใหญ่ยิ่งใหญ่มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาสลดาเป็นคำนามหมายความว่าเครือเถาเครือวัลย์สายประสาธน์ถ้าเป็นกรรมหมายความว่าทําให้สําเร็จแต่ถ้าเป็นคำนามจะหมายถึงเครื่องประดับค่ะ
มหาลดาปสาธน์
มหาลดาปสาธน์
มหาลดาปสาธน์
มหาลดาปสาธน์
เครื่องประดับ
มหาลดาปสาธน์เป็นเครื่องประดับชุดแต่งงานของสาวชาวอินเดียซึ่งสวมคู่กับส่าหรีโดยสวมตั้งแต่ศีรษะจรดเท้าตรงศีรษะก็ทำเป็นรูปนกยูงไว้ตัวนึงซึ่งส่วนประกอบก็เต็มไปด้วยของมีค่ามากมาย
มหาลดาปสาธน์
มหาลดาปสาธน์
มหาลดาปสาธน์
มหาลดาปสาธน์
เครื่องประดับชุดแต่งงาน
มหาลดาปสาธน์ของนางวิสาขานั้นธนญชัยเศรษฐีผู้ซึ่งเป็นบิดาสั่งให้ช่างทองและช่างออกแบบทำเครื่องประดับโดยใช้ทองคำ๑,๐๐๐แห่งเพชร๔ทะนานแก้วมุกดา๑๑ทะนานแก้วประพาฬ๒๐ทะนานแก้วมณี๓๓ทะนานและใช้เงินจำนวนหนึ่งมหาลดาปสาธน์สวมตั้งแต่ศีรษะจรดเท้าลูกดุมวงแหวนด้วยทองคำห่วงสำหรับลูกดุมทำด้วยเงินสวมที่กลางกระหม่อมหนึ่งวงที่หลังหู๒วงที่ข้างเอวสองข้างอีก๒วงที่ข้อศอกทั้งสองข้าง๒วงที่ขาสองข้าง๒วงที่เครื่องประดับยังทำเป็นนกยูงรำแพนตังหนึ่งขนปีกทำด้วยทองจะงอยปากทำด้วยแก้วประพาฬตาสองข้างทำด้วยแก้วมณีสร้อยคอและแววหางทำด้วยแก้วมณีก้านขนนกยูงทำด้วยเงินขาทำด้วยเงินซึ่งจะใกล้เคียงกับเครื่องประดับของพระนางคลีโอพัตราแต่ยิ่งใหญ่กว่าโดยนกยูงตั้งอยู่กลางกระหม่อมผู้สวมประหนึ่งว่ากำาลังรำแพนอยู่บนยอดเขาเมื่อขนปีกทั้งสองข้างกระทบกันจะมีเสียงไพเราะกังวานเหมือนกับเสียงทิพยดนตรี
มหาลดาปสาธน์
มหาลดาปสาธน์
มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิหมายถึงความหมดจดแห่งญาณเป็นเครื่องรู้เห็นว่าทางหรือมิใช่ทางจิตรับรู้ถึงกระแสแห่งไตรลักษณ์ได้มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ
มัคนายกในภาษาบาลีหรือมรรคนายกในภาษาสันสกฤตแปลว่าผู้นำทาง
มัคนายก
มัคนายก
มังสวณิชชาหมายถึงค้าขายสัตว์เป็นที่ยังมีชีวิตสำหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหารส่งเสริมทารุณกรรมและเป็นการส่งเสริมให้ทำผิดศีลข้อที่๑คือการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตมิจฉาวาณิชา
มัชชวณิชชาหมายถึงการค้าขายสุราและของมึนเมาโดยการกล่าวครอบคลุมหลักการถึงการไม่ให้ค้าขายสารเสพติดทุกๆชนิดมิจฉาวาณิชา
มัตตัญญุตาเป็นผู้รู้จักประมาณคือความพอดีเช่นภิกษุรู้จักประมาณในการรับและบริโภคปัจจัยสี่คฤหัสถ์รู้จักประมาณในการใช้จ่ายโภคทรัพย์พระมหากษัตริย์รู้จักประมาณในการลงทัณฑอาชญาและในการเก็บภาษีเป็นต้น"ก็ภิกษุเป็นมัตตัญญูอย่างไรภิกษุในธรรมวินัยนี้รู้จักประมาณในการรับจีวรบิณฑบาตเสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร"
ธัมมัญญูสูตรพระไตรปิฎกเล่มที่๒๓
สัปปุริสธรรม
มัตตัญญู
มาติกาอ่านว่ามาดติกาแปลว่าหัวข้อแม่บท
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มาติกา
มาติกา
มิจฉาทิฐิหรือมิจฉาทิฏฐิเรียกโดยย่อว่าทิฐิหมายถึงความเห็นผิดการเห็นกงจักรเป็นดอกบัว
มิจฉาทิฐิ
มิจฉาทิฐิ
มิจฉาทิฐิ
มิจฉาทิฐิ
ความเห็นผิด
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ