| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     มิจฉาวณิชชาคือการค้าขายที่ผิดหรือไม่ชอบธรรมหมายถึงบุคคลไม่ควรค้าขายสิ่งเหล่านี้ซึ่งถือว่าเป็นอันตรายต่อเพื่อนมนุษย์ต่อสัตว์และต่อสภาพแวดล้อม มิจฉาวาณิชา มิจฉาวาณิชา

     มี๓อย่างคือ๑กามสังกัปป์หรือกามวิตก๒พยาบาทสังกัปป์หรือพยาบาทวิตก๓วิหิงสาสังกัปป์หรือวิหิงสาวิตก สัมมาสังกัปปะ มิจฉาสังกัปปะ

     มุทิตาหมายถึงความพลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีคือเมื่อผู้อื่นได้รับความสำเร็จมีความสุขความเจริญก้าวหน้าก็พลอยชื่นชมยินดีในสิ่งที่เขาได้รับไม่มีความอิจฉาริษยาในความสำเร็จของเขาด้วยการพูดแสดงความยินดีบ้างส่งบัตรอวยพรไปแสดงความยินดีบ้างมอบของขวัญมอบกระเช้าดอกไม้แสดงความยินดีบ้างเป็นต้น พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มุทิตา มุทิตา มุทิตา มุทิตา นางวิสาขาพระนางมัลลิกาลูกเศรษฐีณพาราณาสี

     มุทิตาเป็นคุณธรรมของผู้ใหญ่และเป็นหลักที่ผู้ใหญ่พึงประพฤติเมื่อเกิดขึ้นแล้วก็จะกำจัดความไม่ยินดีความขึ้งเคียดความอิจฉาริษยาลงได้ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มุทิตา มุทิตา

     มุทิตาแปลว่าความยินดีความเป็นผู้มีความยินดี พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มุทิตา มุทิตา

     มูควัตรแปลว่าการปฏิบัติอย่างเป็นใบ้กล่าวคือการงดเปล่งวาจาซึ่งพุทธศาสนาถือว่าเป็นเดียรถียสมาทานหรือข้อวัตรสำหรับนักบวชนอกพุทธศาสนา มูควัตร มูควัตร

     มโนแปลว่าใจความคิดอยู่ในกลุ่มคำที่มีความหมายคล้ายกันคือจิตมนัสเป็นอายตนะภายในอย่างสุดท้ายใน๖อย่างคือตาหูจมูกลิ้นกายใจปกติใช้นำหน้าคำอื่นๆที่แสดงถึงความเกี่ยวเนื่องกับใจเช่นมโนกรรมการกระทำทางใจมโนทวารทวารคือใจมโนทุจริตการประพฤติชั่วด้วยใจมโนสุจริตการประพฤติชอบด้วยใจมโนวิญญาณความรู้ทางใจมโนสัมผัสสัมผัสทางใจมโนรมเป็นที่ชอบใจ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโน มโน

     มโนกรรมหมายถึงการกระทำทางใจคือทำกรรมด้วยการคิดไม่ว่าจะทำกรรมชั่วหรือกรรมดีจัดเป็นมโนกรรมเหมือนกัน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนกรรม มโนกรรม

     มโนกรรมทางชั่วมี๓อย่างคือโลภอยากได้ของเขาพยาบาทปองร้ายเขาเห็นผิดจากคลองธรรมเรียกอีกอย่างว่ามโนทุจริตที่แปลว่าประพฤติชั่วด้วยใจมโนกรรมทางดีมี๓อย่างคือไม่โลภอยากได้ของเขาไม่พยาบาทปองร้ายเขาเห็นชอบตามคลองธรรมเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ามโนสุจริตที่แปลว่าประพฤติชอบด้วยใจค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนกรรม มโนกรรม

     มโนทุจริตมี๓อย่างคืออภิชฌาคือเพ่งเล็งอยากได้จ้องที่จะเอาสิ่งของของผู้อื่นพยาบาทคือขัดเคืองคิดปองร้ายผู้อื่นมิจฉาทิฐิคือเห็นผิดจากคลองธรรมเห็นไม่ตรงตามจริง พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนทุจริต มโนทุจริต

     มโนทุจริตแปลว่าการประพฤติชั่วทางใจการประพฤติชั่วด้วยใจ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนทุจริต มโนทุจริต

     มโนวิญญาณความรู้อารมณ์ทางใจคือรู้ธรรมารมณ์ด้วยใจหรือการนึกคิดมโนวิญญาณ

     มโนสุจริตมี๓อย่างคืออนภิชฌาอพยาบาทและสัมมาทิฐิค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนสุจริต มโนสุจริต

     มโนสุจริตแปลว่าการประพฤติดีทางใจการประพฤติดีด้วยใจมโนสุจริต พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนสุจริต มโนสุจริต

     ลักษณะของผู้มีมุทิตาคือเป็นคนไม่ริษยายอมรับในความดีและความสำเร็จของคนอื่นแสดงความชื่นชมยินดีกับความสำเร็จของคนอื่นได้ด้วยความเต็มใจ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มุทิตา มุทิตา มุทิตา

     หมายถึงการเกิดของพระเวสสันดรโพธิสัตว์ซึ่งเป็นการเกิดเพื่อบำเพ็ญบารมีครั้งสุดท้ายก่อนที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในชาติต่อมามหาชาติที่ได้ชื่อเช่นนี้ก็เพราะการเกิดครั้งสุดท้ายนี้พระเวสสันดรได้บำเพ็ญบารมีสำคัญคือทานบารมีซึ่งเป็นการทำให้บารมีอื่นสมบูรณ์ไปด้วยเปรียบเหมือนการประทับตราในหนังสือสำคัญทำให้เกิดความสมบูรณ์ใช้บังคับตามกฎหมายได้และในชาติสุดท้ายนี้พระเวสสันดรได้บำเพ็ญบารมีอื่นๆครบทั้งสิบประการจึงถือได้ว่าเป็นการเกิดครั้งสำคัญยิ่งใหญ่กว่าทุกชาติที่ผ่านมามหาชาติได้รับการประพันธ์เป็นบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองแล้วนำไปเทศน์เป็นทำนองมาตั้งแต่สมัยโบราณเรียกการเทศน์เช่นนี้ว่าเทศน์มหาชาติเรียกเต็มว่าเทศน์มหาชาติเรื่องเวสสันดรชาดก พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มหาชาติ มหาชาติ

     หมายถึงพระบาลีที่เป็นหัวข้อเป็นแม่บทเรียกว่าบทมาติกาเรียกการที่พระสงฆ์สวดพระบาลีเฉพาะหัวข้อธรรมในพระอภิธรรมปิฎกซึ่งขึ้นต้นด้วยบทว่ากุสลาธัมมาอกุสลาธัมมาในงานที่เกี่ยวกับศพว่าสวดมาติกาและมาติกาคำนี้ในงานเผาศพจะใช้คู่กับคำว่าบังสุกุลเป็นมาติกาบังสุกุลกล่าวคือพระสงฆ์จะสวดมาติกาก่อนแล้วบังสุกุลต่อกันไปเช่นที่เขียนในบัตรเชิญงานศพว่า๑๔๐๐นพระสงฆ์มาติกาบังสุกุล พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มาติกา มาติกา

     อาชีพที่พระพุทธองค์ทรงตรัสห้ามไว้ไม่ให้ประกอบน่ะค่ะมิจฉาอาชีวะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาอาชีวะ พระพุทธเจ้าตรัสห้าม

     เป็นการกระทำความดีความงามทางใจคือด้วยการคิดจัดเป็นบุญก่อความสุขให้ทั้งในปัจจุบันและภพชาติต่อไป พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนสุจริต มโนสุจริต

     เป็นเรื่องสมัยหลังพุทธกาล๕๐๐ปีมีกษัตริย์ชาวกรีกนามว่าเมร์นันเดอร์หรือนามบาลีว่ามหาราชมิลินท์ได้ยกทัพมาที่แคว้นสาคละแห่งนี้และสามารถยึดครองเมืองได้และด้วยทิฐิมานะของพระเจ้ามิลินท์ว่าตนเชี่ยวชาญศาสนาและคัมภีร์จึงให้ทหารนำตัวนักบวชลัทธิต่างรวมถึงพระสงฆ์มาตอบคำถามธรรมของพระเจ้ามิลินท์แต่ถ้านักบวชท่านนั้นตอบไม่ได้ก็จะถูกจับประหารเหล่าพระสงฆ์พรามหณ์โยคีต่างพากันหนีตายไปแคว้นอื่นเมืองอื่นแต่มีพระภิกษุหนุ่มนามว่านาคเสนอยู่ที่เมืองคนเดียวพระเจ้ามิลินท์จึงให้ทหารนำตัวพระนาคเสนมาแต่พระนาคเสนสามารถปราบทิฐิมานะในตัวของพระเจ้ามิลินท์ได้และพระเจ้ามิลินท์ก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ค่ะ สาคละ สาคละ

     เพื่อขายเพื่อฆ่าหรือเปล่าคะอยากทำฟาร์ม สัตว์ ภาวนา เลี้ยงไม่ใช่เพื่อฆ่า ที่ว่าอยากเลี้ยงสัตว์นี่ไม่ได้เอาไปแกงใช่ไหม สถานะสงสัย

     เมตตาเป็นหนึ่งในพรหมวิหารธรรมในพระพุทธศาสนาหรือพรหมวิหารสี่ซึ่งประกอบไปด้วยเมตตากรุณามุทิตาและอุเบกขาโดยเป็นปัจจัยให้เกิดพรหมวิหารอื่นได้ในวิสุทธิมรรคสมาธินิทเทสพรหมวิหารนิเทสแสดงลักษณะของเมตตาพรหมวิหารไว้ว่าเมตตามีอาการประพฤติเกื้อกูลเป็นลักษณะมีการน้อมนำเข้าไปเกื้อกูลประโยชน์ในสัตว์เป็นรสมีการบำบัดความอาฆาตเป็นปัจจุปัฏฐานหรืออาการที่ปรากฏมีการเห็นสัตว์เป็นที่ชอบใจคือไม่โกรธเคืองไม่ขุ่นเคืองในขณะนั้นเป็นปทัฏฐานหรือเหตุใกล้มีการเข้าไปสงบความพยาบาทเป็นสมบัติมีความเสน่หาเป็นวิบัติตามอัฏสาลินีอรรถกถาพระธัมมสังคณีปกรณ์ทุกนิกเขปกถาเหตุโคจฉกะพระบาลีนิทเทอโทสะได้แสดงลักษณะของเมตตาไว้ว่าเมตตามีชื่อว่าไมตรีเนื่องจากเป็นกิริยาที่สนิทสนมเมตตามีชื่อว่าการเอ็นดูเพราะคอยปกป้องคุมครองเมตตามีชื่อว่าความแสวงหาผลประโยชน์เกื้อกูลเมตตามีชื่อว่าความสงสารเนื่องจากคอยหวั่นไหวตามไปด้วยดังนั้นการจะแสดงว่ามีเมตตาต่อบุคคลใดจึงต้องมีลักษณะดังกล่าวซึ่งหากว่าไม่ใช่อาการเหล่านี้จิตขณะนั้นอาจเป็นโลภะหรือโทสะซึ่งเป็นอกุศลจิตไม่ใช่เมตตา เมตตา เมตตา เมตตา เมตตา หนึ่งในพรหมวิหารธรรม

     โมจตุกะได้แก่โมหะอหิริกะอโนตตัปปะและอุทธัจจะ โมหะ โมจตุกะ



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ