| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     โมหะหมายถึงความไม่รู้ตามที่เป็นจริงเป็นอาการที่รู้ไม่เท่าทันถึงสภาวธรรมที่แท้จริงของอารมณ์ที่เข้ากระทบกับจิตทำให้เกิดความวิปริตเห็นผิดไปจากสภาวธรรมที่แท้จริงได้แก่ความไม่รู้ในทุกขสัจสมุทัยสัจนิโรธสัจมรรคสัจทั้งสี่และยังเป็นกิเลสอย่างหนึ่งในบรรดากิเลสใหญ่๓อย่างคือโลภะโทสะโมหะซึ่งก็คืออวิชชานั่นเองค่ะ โมหะ โมหะ โมหะ โมหะ ไม่รู้ตามที่เป็นจริง

     โมหะเกิดจากความคิดเห็นที่ผิดจากการไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้ประจักษ์ในเรื่องนั้นๆให้ถ่องแท้ถี่ถ้วนก่อนเมื่อเกิดขึ้นแล้วก็เป็นเหตุให้ไม่รู้บุญไม่รู้บาปไม่เชื่อบุญไม่เชื่อบาปชักนำให้ไปทำความชั่วความไม่ดีต่างๆเช่นประมาททะเลาะวิวาทแก่งแย่งชิงดีอวดดีเกียจคร้านบ้ากามอกตัญญูเชื่อง่ายหูเบา โมหะ โมหะ โมหะ โมหะ เกิดจากความคิดเห็นที่ผิด

     โมหะแปลว่าความหลงความเขลาความโง่ โมหะ โมหะ โมหะ โมหะ ความหลงเขลาโง่

     ในคัมภีร์ชั้นอรรถกถาอธิบายความโดยพิสดารถึงสาเหตุของการที่พระพุทธเจ้าตรัสมงคลสูตรไว้ว่าประมาณ๑๒ปีก่อนพุทธกาลประชาชนต่างตื่นตัวว่าอะไรคือเหตุที่ทำให้ชีวิตเป็นมงคลกล่าวว่าบ้างก็ว่าวัตถุสิ่งของเช่นต้นไม้สัตว์หรือว่ารูปเคารพต่างๆจะทำให้ชีวิตเป็นมงคลเรื่องราวการอภิปรายเรื่องมงคลก็ไปถึงภุมเทวาคือเทวดาในระดับพื้นดินเทวดาก็สนทนากันว่าอะไรคือมงคลประเด็นนี้ก็ลุกลามไปถึงอากาศเทวาไปถึงสวรรค์ชั้นต่างๆจนถึงพรหมโลกชั้นสุธาวาสซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของผู้ที่บรรลุธรรมเป็นพระอนาคามีแล้วมีความเข้าใจในเรื่องมงคลชีวิตเป็นอย่างดีแต่ไม่สามารถอธิบายได้จึงได้ประกาศให้เทวดาทราบว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะเสด็จลงมาตรัสรู้ธรรมในอีก๑๒ปีให้ไปถามพระพุทธองค์ในตอนนั้นเมื่อพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้วคืนหนึ่งขณะที่ประทับอยู่ณเชตวันมหาวิหารใกล้เมืองสาวัตถีท้าวสักกเทวราชได้นำหมู่เทวดาเข้าเฝ้าและบัญชาให้เทพบุตรองค์หนึ่งทูลถามพระองค์ว่าอะไรคือมงคลของชีวิตพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงแสดงหลักมงคลสูตรซึ่งมีทั้งหมด๑๐หมวดนับเป็นรายการได้๓๘ประการ มงคลสูตร มงคลสูตร มงคลสูตร มงคลสูตร เทวดาสนทนามงคล

     ในพุทธศาสนาโคตมพุทธะตรัสว่ามูควัตรเป็นการกระทำของโมฆบุรุษผู้ประมาทและเป็นการอยู่อย่างสัตว์ทั้งหลายที่ไม่มีการพูดจากันทรงห้ามการสมาทานมูควัตรภิกษุผู้ล่วงบัญญัตินี้จะถูกปรับอาบัติทุกกฎปัจจุบันสามารถพบมูควัตรได้ในศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนาบางลัทธิโดยในพุทธศาสานาบางลัทธิเช่นว่านี้แนะนำว่าเป็นการฝึกความอดทนไม่ให้ผู้ปฏิบัติธรรมได้พูดจาในสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์และเป็นการบำเพ็ญขันติ มูควัตร มูควัตร

     ในสมัยพุทธกาลมีผู้ครอบครองมหาลดาปสาธน์๓คนคือนางวิสาขาพระนางมัลลิกาและลูกเศรษฐีณพาราณาสี มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ มหาลดาปสาธน์ นางวิสาขาพระนางมัลลิกาลูกเศรษฐีณพาราณาสี

     ในอังคุตตรนิกายอัฏฐกนิบาตเมตตาวรรคที่๑เมตตาสูตรและในอังคุตรนิกายเอกาทสนิบาตเมตตาสูตรได้สรุปอานิสงส์ของเมตตาไว้ดังนี้ย่อมหลับเป็นสุขย่อมตื่นเป็นสุขย่อมไม่ฝันลามกคืออกุศลทั้งหลายย่อมเป็นที่รักแห่งมนุษย์ทั้งหลายย่อมเป็นที่รักแห่งอมนุษย์ทั้งหลายเทวดาย่อมรักษาไฟยาพิษหรือศาสตราย่อมไม่กล้ำกรายจิตย่อมตั้งมั่นโดยเร็วสีหน้าย่อมผ่องใสเป็นผู้ไม่หลงใหลทำกาละเมื่อไม่แทงตลอดคุณที่ยิ่งยอดหรือยังไม่บรรลุเป็นพระอรหันต์ย่อมเข้าถึงพรหมโลก เมตตา เมตตา เมตตา เมตตา ย่อมหลับเป็นสุข

     ๑ค้ามนุษย์๒ค้าชีวิตสัตว์๓ค้าอาวุธ๔ค้ายาพิษและ๕ค้าส่ิงเสพติดมึนเมาค่ะมิจฉาอาชีวะ มิจฉาอาชีวะ มิจฉาอาชีวะ พระพุทธเจ้าตรัสห้าม

     การใช้ความคิดถูกวิธีความรู้จักคิดคิดเป็นคือกระทำในใจโดยแยบคายมองสิ่งทั้งหลายด้วยความคิดพิจารณารู้จักสืบสาวหาเหตุผลแยกแยะสิ่งนั้นนั้นหรือปัญหานั้นนั้นออกให้เห็นตามสภาวะและตามความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยค่ะสัมมาทิฏฐิโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการคิดเป็น

     ก็มองยาวยาวมองไกลไกลให้ครอบคลุมไปถึงชาตินี้ชาติหน้าชาติต่อต่อไปจนถึงนิพพานไปเลยหน่ะค่ะ อะไรยาว ยาว มองยาวยาว ชาติต่อไป

     โยนิมี๔ประเภทคือชลาพุชะประเภทเกิดในครรภ์ได้แก่สัตว์ที่เกิดอยู่ในครรภ์ก่อนแล้วคลอดออกมาเป็นตัวเช่นมนุษย์สัตว์บางประเภทเป็นต้นว่าโคกระบือม้าเสือปลาวาฬปลาโลมาอัณฑชะประเภทเกิดในไข่ได้แก่สัตว์ดิรัจฉานบางประเภทที่เกิดในฟองไข่ก่อนแล้วฟักออกมาเป็นตัวเช่นไก่เป็ดนกมดเต่ากบเป็นต้นสังเสทชะประเภทเกิดในเถ้าไคลได้แก่สัตว์ที่เกิดในของสกปรกโสมมเช่นหนอนยุงแมลงบางชนิดโอปปาติกะประเภทผุดขึ้นได้แก่พวกที่เกิดเป็นตัวตนเลยคือเทวดาสัตว์นรกพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โยนิโยนิโยนิชลาพุชะอัณฑชะสังเสทชะโอปปาติกะ

     โยนิแปลว่ากำเนิดหมายถึงที่เกิดที่ให้กำเนิดสัตว์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โยนิโยนิโยนิที่เกิด

     โยนิโสมนสิการอ่านว่าโยนิโสมะนะสิกานหมายถึงการทำในใจให้แยบคายกล่าวคือการพิจารณาอย่างรอบคอบถี่ถ้วนทางพุทธศาสนาถือว่ามีคุณค่าเท่ากับความไม่ประมาทหรืออัปมาทซึ่งเป็นแหล่งรวมแห่งธรรมฝ่ายดีหรือกุศลธรรมทั้งปวงดังปรากฏในพระไตรปิฎกเล่ม๑๙สังยุตตนิกายมหาวารวรรคข้อ๔๖๔หน้า๑๒๙นอกจากนั้นยังจัดเป็นธรรมะข้อหนึ่งในกลุ่มธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญด้วยปัญญาและเป็นธรรมะมีอุปการะมากแก่มนุษย์ดังพรรณาในพระไตรปิฎกเล่ม๑๒อังคุตตรนิกายจตุกกนิบาตข้อ๒๖๘ขีด๙หน้า๓๓๒นะคะการใช้ความคิดถูกวิธีความรู้จักคิดคิดเป็นคือทำในใจโดยแยบคายการใช้ความคิดถูกวิธีคือการกระทำในใจโดยแยบคายมองสิ่งทั้งหลายด้วยความคิดพิจารณาสืบค้นถึงต้นเค้าสาวหาเหตุผลจนตลอดสายแยกแยะออกพิเคราะห์ดูด้วยปัญญาที่คิดเป็นระเบียบและโดยอุบายวิธีให้เห็นสิ่งนั้นนั้นหรือปัญหานั้นนั้นตามสภาวะและตามความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยเช่นคิดจากเหตุไปหาผลคิดจากผลไปหาเหตุคิดแบบเห็นความสัมพันธ์ต่อเนื่องเป็นลูกโซ่คิดเน้นเฉพาะจุดที่ทำให้เกิดคิดเห็นองค์ประกอบที่มาส่งเสริมให้เจริญคิดเห็นองค์ประกอบที่มาทำให้เสื่อมคิดเห็นสิ่งที่มาตัดขาดให้ดับคิดแบบแยกแยะองค์ประกอบคิดแบบมองเป็นองค์รวมคิดแบบอะไรเป็นไปได้หรึอเป็นไปไม่ได้โยนิโสมนสิการนั้นประกอบด้วยคำสองคำคือโยนิโสมาจากโยนิแปลว่าเหตุต้นเค้าแหล่งเกิดปัญญาอุบายวิธีทางมนสิการหมายถึงการทำในใจการคิดคำนึงนึกถึงใส่ใจพิจารณาดังนั้นโยนิโสมนสิการจึงหมายถึงการทำในใจให้แยบคายหรือการพิจารณาโดยแยบคายกล่าวคือความเป็นผู้ฉลาดในการคิดคิดอย่างถูกวิธีถูกระบบพิจารณาไตร่ตรองสาวไปจนถึงสาเหตุหรือต้นตอของเรื่องที่กำลังคิดคือคิดถึงรากถึงโคนนั่นเองแล้วประมวลความคิดรอบด้านจนกระทั่งสรุปออกมาได้ว่าสิ่งนั้นควรหรือไม่ควรดีหรือไม่ดีเป็นวิถีทางแห่งปัญญาเป็นธรรมสำหรับกลั่นกรองแยกแยะข้อมูลหรือแหล่งข่าวหรือที่เรียกปรโตโฆสะอีกชั้นหนึ่งกับทั้งเป็นบ่อเกิดแห่งความคิดชอบหรือสัมมาทิฐิทำให้มีเหตุผลและไม่งมงายค่ะโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการการทำในใจให้แยบคาย

     โยนิโสมนสิการนั้นทางพุทธศาสนาถือว่ามีคุณค่าเท่ากับความไม่ประมาทหรืออัปมาทซึ่งเป็นแหล่งรวมแห่งธรรมฝ่ายดีหรือกุศลธรรมทั้งปวงดังปรากฏในพระไตรปิฎกเล่ม๑๙สังยุตตนิกายมหาวารวรรคข้อ๔๖๔หน้า๑๒๙นอกจากนั้นยังจัดเป็นธรรมะข้อหนึ่งในกลุ่มธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญด้วยปัญญาและเป็นธรรมะมีอุปการะมากแก่มนุษย์ดังพรรณาในพระไตรปิฎกเล่ม๑๒อังคุตตรนิกายจตุกกนิบาตข้อ๒๖๘๙หน้า๓๓๒นอกจากนี้ยังมีคำพรรณนาคุณของโยนิโสมนสิการอีกมากเช่นเป็นส่วนหนึ่งที่ให้เกิดความเห็นที่ถูกต้องเป็นเครื่องขจัดความลังเลสงสัยเป็นองค์ประกอบของความเป็นพระอริยบุคคลชั้นแรกหรือโสตาปัตติยังค่ะอันแสดงให้เห็นว่าพุทธศาสนาส่งเสริมโยนิโสมนสิการว่าจำเป็นสำหรับทุกคนโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการโยนิโสมนสิการความไม่ประมาท

     ประมาณพระสูตรหนึ่งในพระไตรปิฎกภาษาบาลีน่ะค่ะวิสุทธิรถวินีตสูตรรถวินีตสูตรรถวินีตสูตรพระสูตร

     พระรัตนตรัยคือพระพุทธเจ้าพระธรรมและพระสงฆ์ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะธรรมรัตนะสังฆรัตนะซึ่งได้แก่พระพุทธคือท่านผู้ตรัสรู้ธรรมแล้วสอนให้ประชุมชนให้ประพฤติชอบด้วยกายวาจาใจตามพระวินัยที่เรียกว่าพระพุทธเจ้าพระธรรมคือพระธรรมวินัยอันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าพระสงฆ์คือหมู่ชนที่ฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัยรัตนตรัยรัตนตรัยพระรัตนตรัยรัตนตรัยพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์

     พระรัตนตรัยหรือพระไตรรัตน์แปลว่าแก้ว๓ดวงแก้ว๓อย่างที่เรียกว่ารัตนะเพราะว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐมีค่าสูงและหาได้ยากเทียบด้วยดวงแก้วมณีพระรัตนตรัยคือพระพุทธเจ้าพระธรรมและพระสงฆ์ซึ่งเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะธรรมรัตนะสังฆรัตนะซึ่งได้แก่พระพุทธคือท่านผู้ตรัสรู้ธรรมแล้วสอนให้ประชุมชนให้ประพฤติชอบด้วยกายวาจาใจตามพระวินัยที่เรียกว่าพระพุทธเจ้าพระธรรมคือพระธรรมวินัยอันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าพระสงฆ์คือหมู่ชนที่ฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัยรัตนตรัยรัตนตรัยรัตนตรัยรัตนตรัยแก้ว๓

     รัตนะแปลว่าแก้วหมายถึงอัญมณีหรื่อแร่ธาตุที่มีค่าคนสัตว์หรือสิ่งของที่ประเสริฐสุดมีค่าสูงสุดหาได้ยากเช่นเพชรพลอยมุกดามณีพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘รัตนะรัตนะรัตนะรัตนะแก้ว

     รัตนะในคำวัดหมายถึงพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์โดยเรียกเต็มว่าพระไตรรัตน์บ้างพระรัตนตรัยบ้างรัตนะนิยมนำมาใช้ประกอบกับคำอื่นเพื่อแสดงว่าคนนั้นสิ่งนั้นมีความสำคัญและมีค่ามากเช่นรัตนโกสินทร์รัตนบรรลังก์รัตนกวีนารีรัตน์บุรุษรัตน์หัตถีรัตน์เป็นต้นพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘รัตนะรัตนะรัตนะรัตนะพระรัตนตรัย

     ราคะหรือราคจริตหมายถึงพฤติกรรมของคนที่มีราคะเป็นปกติคือรักสวยรักงามมีกิริยาคือยืนเดินนั่งนอนเป็นต้นที่เรียบร้อยนิ่มนวลชอบสะอาดทำกิจต่างๆไม่รีบร้อนชอบกินของที่บรรจงจัดชอบของหวานมีอารมณ์สุนทรีย์ดูอะไรก็ดูนานละเอียดพิเคราะห์อุปนิสัยเป็นคนเจ้าเล่ห์ถือตัวแง่งอนชอบอวดชอบยออยากได้หน้าราคจิตแก้ได้ด้วยการพิจารณากายคตาสติหรืออสุภกรรมฐานพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ราคะราคะราคะราคะรักสวยรักงาม

     ราคะแปลว่าความกำหนัดยินดีความพอใจความติดใจจริตแปลว่าความประพฤติพฤติกรรมปกติหมายถึงความประพฤติที่ติดต่อสืบเนื่องมานานจนเป็นเรื่องปกติของผู้นั้นใช้ว่าจริยาก็ได้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ราคะราคะราคะราคะความกำหนัดยินดี

     ราชคฤห์เป็นชื่อเมืองหลวงของแคว้นมคธสมัยพุทธกาลเป็นเมืองในหุบเขามีภูเขาล้อมรอบ๕ลูกจึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเบญจคีรีนครราชคฤห์ยังเป็นเมืองตั้งหลักพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าโดยพระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดพระเจ้าพิมพิสารผู้ครองนครเป็นเมืองที่มีประวัติความเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนามากที่สุดสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าและพระสาวกยังปรากฏอยู่มากมายเช่นพระคันธกุฎีบนยอดเขาคิชฌกูฏวัดเวฬุวันซึ่งเป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนาถ้ำสุกรขาตาที่พระสารีบุตรได้บรรลุธรรมถ้ำสัตบรรณคูหาที่ทำสังคายนาครั้งแรกเป็นต้นสถานะเมืองหลวงของราชคฤห์ถูกเปลี่ยนโอนไปอยู่ที่ปาฏลีบุตรตั้งแต่สมัยพระเจ้าอชาตศัตรูส่งผลให้ราชคฤห์ในปัจจุบันเป็นเพียงเมืองเล็กๆในรัฐพิหารมีผู้อยู่อาศัยไม่มากมีสภาพเกือบเป็นป่าแต่เป็นสถานที่แสวงบุญของชาวพุทธทั่วโลกแห่งหนึ่งราชคฤห์ราชคฤห์ราชคฤห์ราชคฤห์แคว้นมคธ

     รูปในทางพุทธศาสนามีหลายความหมายดังนี้๑เป็นธรรมะคำหนึ่งอย่างเช่นในคำว่ารูปธรรมนามธรรมแปลว่าสิ่งชำรุดทรุดโทรมสิ่งที่แตกสลายสิ่งที่ผันแปรได้๒หมายถึงรูปร่างที่มองเห็นด้วยตาคือร่างกายหรือตัวตนของคนสัตว์สิ่งของอันเกิดขึ้นจากการรวมตัวของธาตุ๔คือดินน้ำไฟลมจัดเป็นขันธ์๕คือเกิดแก่เจ็บและตาย๓ใช้เป็นคำแสดงลักษณะหรือลักษณะนามของภิกษุสามเณรเช่นภิกษุ๓รูปสามเณร๕รูป๔ในสมัยก่อนใช้เป็นคำแทนตัวเองของภิกษุสามเณรที่พูดกับคฤหัสถ์เช่นเดียวกับคำว่าอาตมาฉันเช่นวันนี้รูปไปไม่ได้หรอกโยมรูปไม่ว่างหมายความว่าอาตมาไปไม่ได้ไม่ว่างนั่นเองรูป_(ศาสนาพุทธ)รูปรูปรูปขันธ์๕



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ