| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     การลาสิกขาของภิกษุเรียกว่าลาสิกขาไม่ใช่ลาสิกขาบทพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ลาสิกขาลาสิกขาลาสิกขาบท

     ก็ประมาณสอนให้ทำอย่างไรจึงจะมีความสุขทั้งในชาตินี้ชาติหน้าและชาติต่อต่อไปเมื่อยังตัวเขาตัวเราของเขาของเราอยู่หน่ะค่ะ โลกียะ โลกียะ โลกียะ ชาตินี้หน้า

     คำว่าลักษณะนี้ในพระไตรปิฎกและอรรถกถาใช้เรียกทั้งบัญญัติและปรมัตถ์โดยมีหลักการแบ่งเป็นหลักอยู่ดังนี้ก็จัดเข้าในลักษณะประเภทที่๒นี้ด้วยเพราะท่านระบุไว้ว่าเป็นบัญญัติ๑ถ้าเป็นปรมัตถธรรมมีสภาวะอยู่จริงเรียกว่าปัจจัตตลักษณะหรือวิเสสลักษณะเช่นการรับรู้เป็นลักษณะของจิตเพราะทำให้เราสามารถกำหนดเจาะจงลงไปได้ว่านี้เป็นจิตไม่ใช่ดินเป็นต้นจะสังเกตได้ว่าลักษณะแบบนี้ก็คือตัวสภาวะนั้นๆนั่นเองเพราะสามารถกำหนดหมายลงไปได้ด้วยตัวเองเช่นจิตก็คือการรับบรู้การรับรู้ก็คือจิตเป็นต้นฉะนั้นท่านจึงตั้งชื่อว่าปัจจัตตลักษณะปฏิบวกอัตตบวกลักขณะแปลว่าเอกลักษณ์เอกลักษณ์เฉพาะตัวสัญลักษณ์ส่วนตัวตราส่วนตัว๒ถ้าไม่ใช่ปรมัตถธรรมไม่มีสภาวะอยู่จริงเรียกว่าบัญญัติเช่นอนิจจลักษณะเป็นลักษณะของขันธ์๕เพราะทำให้เราสามารถกำหนดเจาะจงลงไปได้ว่าสิ่งนี้เป็นตัวอนิจจังหรือขันธ์ไม่ใช่นิพพานเช่นเดียวกันนิจจลักษณะก็เป็นลักษณะของนิพพานเพราะทำให้เราทราบได้ว่าสิ่งนี้เป็นนิพพานไม่ใช่ขันธ์คำว่าจักขุปสาทเป็นลักษณะของตัวจักขุปสาทเพราะทำให้เราระลึกถึงจักขุปสาทนั้นได้เป็นต้นจะสังเกตได้ว่าลักษณะแบบนี้เป็นสิ่งที่ทำให้ทราบถึงตัวสภาวะได้อย่างคำว่าจักขุปสาทหรือไม่ก็สามารถจะทำให้ทราบถึงบัญญัติที่มีความเกี่ยวเนื่องกับสภาวะได้เช่นอนิจจลักษณะเป็นต้นอนึ่งไตรลักษณ์ก็จัดเข้าในลักษณะประเภทที่๒นี้ด้วยเพราะท่านระบุไว้ว่าเป็นบัญญัติค่ะลักษณะ_(ศาสนาพุทธ)ลักษณะ

     คำสอนในระดับโลกียะเริ่มด้วยทานศีลและภาวนาเพื่อให้ผู้ปฏิบัติเข้าสู่กระแสแห่งธรรมเป็นลำดับจากต่ำไปหาสูงค่ะ คำสอนในระดับโลกียะนี้พระพุทธองค์มุ่งสอนให้ชาวโลกอยู่ดีกินดีและมีความสุขตามอัตภาพเริ่มด้วยการแสวงหาทรัพย์โดยชอบธรรมรักษาทรัพย์ที่หามาได้ไม่ให้สูญหายไปและใช้ทรัพย์ที่หามาได้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและสังคมรอบข้างเริ่มจากคนในครอบครัวไปจนถึงบุคคลที่ควรจะได้รับการสงเคราะห์จะเห็นได้จากคำสอนที่ว่าด้วยธรรมะของผู้ครองเรือนเช่นผู้ครองเรือนควรจะขยันหาทรัพย์จงดูตัวอย่างตัวผึ้งที่บินหาน้ำหวานจากเกสรดอกไม้แม้ทีละน้อยสะสมเป็นน้ำผึ้งเต็มรวงผึ้งได้และสอนให้ใช้จ่ายอย่างประหยัดโดยดูตัวอย่างจากการใช้ยาหยอดตาแม้ทีละหยดก็หมดขวดได้ทั้งยังสอนวิธีการใช้ทรัพย์ที่หามาได้ด้วยค่ะ โลกียะ โลกียะ โลกียะ ใช้เงินเก็บเงิน

     ง่ายง่ายก็โลกุตระนี่สำหรับสอนคนที่เข้าใจเรื่องโลกสมมุติเข้าใจเรื่องไม่มีอะไรที่เป็นของเราเลยแม้แต่ตัวเราแล้วหน่ะค่ะ โลกุตระ โลกุตระ โลกุตระ โลกสมมุติ

     มี๕อย่างคืออาบัติถุลลัจจัยอาบัติปาจิตตีย์อาบัติปาฏิเทสนียะอาบัติทุกกฎอาบัติทุพภาสิตค่ะอาบัติลหุกาบัติลหุกาบัติมี๕อย่าง

     ย่อมาจากคำว่าซึ่งหมายถึงโปรแกรมประสงค์ร้ายต่างต่างโดยจะทำงานในลักษณะที่เป็นการโจมตีระบบการทำให้ระบบเสียหายรวมไปถึงการโจรกรรมข้อมูลด้วยแหละค่ะมัลแวร์ละมุนภัณฑ์ละมุนละมุนภัณฑ์ที่น่ารัก

     ระดับโลกียะเป็นคำสอนที่ว่าด้วยสมบัติสัจจะคือการยอมรับความจริงตามที่ชาวโลกเรียกขานกันหรือตามโลกสมมติหรือโลกบัญญัติว่ามีบุคคลตัวตนเราเขาเพื่อให้ชาวโลกที่ยังยึดติดกับโลกสมบัติได้ศึกษาทำความเข้าใจและนำไปปฏิบัติโดยมุ่งแสวงหาความสุขอันเกิดวัตถุหรือที่เรียกว่าอามิสสุขคือความสุขที่ได้จากความมีและความเป็นในสิ่งที่ตนเองต้องการเช่นความสุขจากการมีเงินและความสุขอันเกิดจากการได้เป็นผู้มียศมีตำแหน่งเป็นต้นค่ะ สามารถมังสัง โลกียะ โลกียะ โลกียะ โลกสมมติ

     ระดับโลกุตระเป็นคำสอนที่ว่าด้วยปรมัตถสัจจะคือความจริงซึ่งหลุดพ้นหรืออยู่เหนือการสมมติเพื่อให้ชาวพุทธที่มุ่งแสวงหาความสุขอันเกิดจากความหลุดพ้นจากความยึดมั่นถือมั่นหรือความสุขที่ไม่อิงอาศัยวัตถุคือนิรามิสสุขซึ่งหลุดพ้นจากความมีและความเป็นอันได้แก่พระนิพพานนั่นเองค่ะ สามารถมังสัง โลกุตระ โลกุตระ โลกุตระ หลุดพ้น

     ลงโบสถ์หมายถึงการลงไปทำกิจวัตรประจำวันคือทำวัตรเช้าและทำวัตรเย็นพร้อมกันที่อุโบสถของภิกษุสามเณรเช่นใช้ว่าการลงโบสถ์ถือเป็นกิจประจำของพระสงฆ์เพราะเหมือนกับได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าอย่างที่เคยปฏิบัติมาในครั้งพุทธกาลลงโบสถ์ในสำนวนไทยยังถูกใช้ในความหมายทำนองว่าเข้ากันไม่ได้หรือไม่ลงรอยกันเช่นใช้ว่าตอนนี้พวกเขาไม่ลงโบสถ์กันเสียแล้วจะลงโบสถ์กันได้อย่างไรทะเลาะกันบ่อยออกปานนั้นพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ลงโบสถ์ลงโบสถ์

     ลหุกาบัติหมายถึงอาบัติเบาอาบัติที่ไม่มีโทษร้ายแรงเท่าครุกาบัติค่ะอาบัติลหุกาบัติลหุกาบัติไม่มีโทษร้ายแรงเท่าครุกาบัติ

     ลักขณวันตะคือสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีจุดสังเกตอยู่สิ่งที่มีลักขณะซึ่งสามารถสังเกตหรือพิจารณาได้ด้วยการคิดถึงลักขณะลักขณะลักขณวันตะคะ

     ลักขณะคือสิ่งที่ใช้เป็นจุดสังเกตเครื่องหมายที่ใช้กำหนดเพื่อดูลักขณวันตะลักขณะลักขณะ

     ลักษณะแปลว่าเครื่องทำสัญลักษณ์เครื่องกำหนดเครื่องบันทึกเครื่องทำจุดสังเกตตราประทับลักษณะ_(ศาสนาพุทธ)ลักษณะ

     ลาสิกขาหมายถึงการลาจากเพศสมณะของภิกษุใช้ว่าลาสึกก็มีที่เรียกว่าลาสิกขาเพราะภิกษุนั้นมีสิกขาหรือข้อที่พึงศึกษาอยู่คือศีลสมาธิปัญญาเมื่อต้องการจะบอกคืนหรือบอกลาข้อที่ศึกษานั้นโดยจะไม่ศึกษาต่อไปจึงเรียกว่าลาสิกขาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ลาสิกขาลาสิกขาลาสิกขาลหุกาบัติลาสึก

     ลาสิกขาบทหมายถึงการลาจากสิกขาบทคือศีลที่สมาทานเช่นแม่ชีหรือผู้ถือเพศนุ่งขาวห่มขาวไม่ปลงผมประพฤติพรหมจรรย์โดยถือสมาทานสิกขาบท๘ข้อไว้เป็นการชั่วคราวเมื่ออกจากการถือเพศนั้นโดยการบอกคืนสิกขาบทจึงเรียกว่าลาสิกขาบทหรือลาศีลพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ลาสิกขาลาสิกขาบทลาสิกขาบทลาสิกขาบทลาจากศีลที่สมาทาน

     แล้วแล้วแล้วแล้วเอ คือประมาณว่าคำสอนของพุทธศาสนาแบ่งออกเป็นระดับได้๒ระดับหน่ะค่ะคือโลกียะนี่กับโลกุตระค่ะ สามารถมังสัง โลกียะ โลกียะ โลกียะ โลโลกุตระ

     โลกียะเป็นคำใช้คู่กับโลกุตระซึ่งแปลว่าพ้นโลกเหนือโลกพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โลกีย์โลกียะโลกียะโลกียะคู่กับโลกุตระ

     โลกีย์หรือโลกียะแปลว่ายังเกี่ยวข้องกับโลกเรื่องทางโลกธรรมดาโลกใช้ว่าโลกีย์หรือโลกียะก็มีค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โลกีย์โลกียะโลกียะโลกียะเรื่องทางโลก

     โลกุตระอ่านว่าโลกุดตะระแปลว่าพ้นโลกอยู่เหนือวิสัยของโลกหรืออุตรภาพเป็นคำที่ใช้คู่กับโลกิยะซึ่งแปลว่ายังเกี่ยวข้องกับโลกเรื่องของโลกพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โลกุตระโลกุตระโลกุตระโลกุตระพ้นโลก

     ในธัมมสังคณีพระอภิธรรมปิฎกระบุว่าโลกุตรธรรมมี๙ได้แก่อริยมรรค๔อริยผล๔นิพพาน๑พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โลกุตระโลกุตระ

      วันมาฆบูชาได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางศานาพุทธเนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ๒,๕๐๐กว่าปีก่อนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนาโดยมีเหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน๔ประการคือพระสงฆ์สาวกที่มาประชุมพร้อมกันทั้ง๑,๒๕๐รูปนั้นได้มาประชุมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมายพระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทาหรือผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรงพระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา๖และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถีขึ้น๑๕ค่ำเดือน๓ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกคำหนึ่งว่าวันจาตุรงคสันนิบาตหรือวันที่มีการประชุมพร้อมด้วยองค์๔ วันมาฆบูชาเป็นวันที่ระลึกถึงวันที่พระพุทธเจ้าทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์แก่มหาสังฆสันนิบาตในมณฑลวัดเวฬุวันมหาวิหารซึ่งในวันนั้นมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้น๔ประการคือ๑พระสงฆ์๑,๒๕๐รูปที่พระพุทธองค์ได้ส่งไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาตามแว่นแคว้นต่างๆได้กลับมาเฝ้าพระพุทธเจ้าอย่างพร้อมเพรียงกันโดยมิได้นัดหมาย๒พระสงฆ์ทั้งหมดล้วนเป็นเอหิภิกขุที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ด้วยพระองค์เองทั้งสิ้นซึ่งเรียกว่าเอหิภิกขุอุปสัมปทา๓พระสงฆ์ทั้งหมดล้วนเป็นพระอรหันต์คือผู้ได้อภิญญา๖ข้อ๔วันที่พระสงฆ์ทั้งหมดมาชุมนุมกันนี้ตรงกับวันเพ็ญเดือนมาฆะคือวันขึ้น๑๕ค่ำเดือน๓ด้วยเหตุการณ์ประจวบกับ๔อย่างจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าจาตุรงคสันนิบาตโดยประชุมกันณวัดเวฬุวันมหาวิหารกรุงราชคฤห์แคว้นมคธหลังจากพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้ว๙เดือนหรือ๔๕ปีก่อนพุทธศักราช วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา แสดงโอวาทปาฏิโมกข์

     โดยทั่วไปวิภวตัณหาหมายถึงความไม่อยากมีไม่อยากเป็นคืออยากจะพ้นจากภาวะที่ตนไม่ต้องการไม่อยากได้เช่นอยากพ้นจากความยากจนจากความเจ็บไข้พ้นจากความยากจนหรือไม่อยากเจอหน้าคนที่เราไม่ชอบใจเป็นต้นวิภวตัณหาอีกความหมายหนึ่งหมายถึงความคิดที่ผิดหรืออุจเฉททิฐิคือเห็นว่าภพชาติไม่มีอันเป็นความความเห็นผิดที่ทำให้ไม่คำนึงถึงบาปบุญคุณโทษเพราะความเห็นชนิดนี้เชื่อว่าชาติหน้าไม่มีคนเราตายแล้วสูญจึงทำให้ปฏิบัติตนไปตามใจปรารถนาด้วยอำนาจของตัณหาโดยไม่กังวลถึงผลที่จะตามมาภายหลังไงคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิภวตัณหา วิภวตัณหา วิภวตัณหา วิภวตัณหา ความไม่อยากมี วิภวตัณหาคือความไม่อยากทางจิตความอยากดับสูญวิภวตัณหา



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ