| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     การงดเว้นจากการพูดเท็จงดเว้นจากการพูดส่อเสียดงดเว้นจากการพูดคำหยาบงดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ สัมมาวาจา วจีสุจริต วจีสุจริต วจีสุจริต งดเว้นการพูดเท็จ

     การเจริญวิปัสสนาตามแนวทางของสติปัฏฐานซึ่งเป็นแนวทางเดียวเท่านั้นที่สามารถจะชำระจิตของผู้ปฏิบัตืให้บริสุทธิ์หมดจดได้นำพาผู้ปฏิบัติให้พ้นทุกข์และบรรลุถึงพระนิพพานได้ผู้ปฏิบัติจะต้องชำระศีลของตนให้บริสุทธิ์เป็นเบื้องต้นด้วยการสมาทานและรักษาศีลตามความสามารถของตนเมื่อศีลบริสุทธิ์แล้วก็จะเกิดอารมณ์กรรมฐานได้ง่ายจิตเป็นสมาธิได้ง่ายซึ่งผลของการปฏิบัติมีดังนี้๑นามรูปปริจเฉทญาณ๒ปัจจัยปริคคหญาณ๓สัมมสญาณ๔อุทยัพพยญาณ๕ภังคญาณ๖ภยญาณ๗อาทีนวญาณ๘นิพพิทาญาณ๙มุญจิตุกัมยตาญาณ๑๐ปฏิสังขาญาณ๑๑สังขารุเปกขาญาณ๑๒อนุโลมญาณ๑๓โคตรภูญาณ๑๔มัคคญาณ๑๕ผลญาณ๑๖ปัจจเวกขณญาณ วิปัสสนา ผลของการปฏิบัติวิปัสสนา วิปัสสนา วิปัสสนา สติปัฏฐานชำระจิต

     การเรียนวิปัสสนากรรมฐานนั้นต้องเรียนศีลและสมาธิจนปฏิบัติได้มาก่อนหรืออาจเรียนไปพร้อมกันก็ได้ซึ่งอาจจัดช่วงของการเรียนตามมหาสติปัฏฐานสูตรอรรถกถาได้เป็น๒ช่วงใหญ่คือช่วงปริยัตติ๑อุคคหะคือการท่องเพื่อทำให้จำวิปัสสนาภูมิอันได้แก่ขันธ์อายตนะธาตุอินทรีย์อริยสัจปฏิจจสมุปบาทอาหารเป็นต้นได้โดยเลือกท่องเฉพาะส่วนที่สนใจก่อนก็ได้และต้องจำให้คล่องปากขึ้นใจพอที่จะคิดได้เองโดยไม่ต้องเปิดหนังสือ๒ปริปุจฉาคือการหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้ได้รายละเอียดของวิปัสสนาภูมินั้นๆเพิ่มซึ่งอาจจะสงสัยหรือติดขัดอยู่โดยอาจจะเปิดหนังสือค้นหรือไปสอบถามจากอาจารย์ผู้เชียวชาญชำนาญในสาขานั้นๆก็ได้๓สวนะคือการฟังหรืออ่านคำสอนของพระพุทธเจ้าในพระไตรปิฎกเพื่อทำความเข้าใจหลักธรรมะโดยรวมให้สามารถมองเห็นภาพรวมได้ชัดเจน๔ธารณะคือการจำธรรมะตามที่ได้อุคคหะปริปุจฉาสวนะมาได้เพื่อจะนำไปพิจารณาในช่วงปฏิบัติต่อไปช่วงปฏิบัติ๑สังวระคือการปฏิบัติศีล๒สมาปัตติคือการปฏิบัติสมาธิให้ได้อุปจาระหรืออัปปนา๓สัมมสนะคือการปฏิบัติวิปัสสนาคือพิจารณาปัจจัตตลักษณะและสามัญญลักษณะด้วยการคิดหน่วงเอาธรรมะที่ได้ปริยัตติมานั้นมาแยกแยะหาความสัมพันธ์กันด้วยปัจจัตลักษณะและเพ่งไตรลักษณ์ในธรรมะที่ได้ปริยัตติมานั้นอีกด้วยวิปัสสนาญาณซึ่งมีอีกชื่อหนึ่งว่าธัมมนิชฌานักขันติญาณในที่นี้เฉพาะสัมมสนะนี้เท่านั้นที่เป็นช่วงปฏิบัติวิปัสสนาสถานที่สำหรับเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามมหาสติปัฏฐานสูตรบรรยายไว้สามแห่งคือป่าโคนต้นไม้ที่ว่างเปล่าสุญญาคารหรือเรือนว่างแต่พึงทราบว่าตามกัมมัฏฐานคหณนิทเทสในวิสุทธิมรรคนั้นเนื่อจากท่านกล่าวอุปสรรคของวิปัสสนาให้มีแค่อย่างเดียวคือการฝึกทำฤทธิ์เดชมีการเหาะเหิรเดินอากาศเป็นต้นฉะนั้นวิปัสสนาจึงปฏิบัติได้ทุกที่แต่ที่ๆเหมาะสมที่สุดและควรจะหาให้ได้ก็คือป่าโคนไม้เรือนว่างห่างไกลคนโล่งๆนั่นเองเพราะจะทำให้ศีลและสมาธิดีกว่ามากมายยิ่งนักปัญญาก็จะกล้าขึ้นได้ไวไปด้วยเช่นกัน วิปัสสนากรรมฐาน การเรียนวิปัสสนากรรมฐาน วิปัสสนา

     การแต่งตั้งไวยาวัจกรเป็นอำนาจหน้าที่ของเจ้าอาวาสค่ะแต่วัดหนึ่งอาจมีไวยาวัจกรได้หลายคนนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ไวยาวัจกร ไวยาวัจกร

     ก็มาเป็นวันอาสาฬหบูชานี่ไงคะ วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันที่พระรัตนตรัยครบบริบูรณ์ วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา

     ความสำคัญและประโยชน์ของการเข้าพรรษา๑ช่วงเข้าพรรษานั้นเป็นช่วงเวลาที่ชาวบ้านประกอบอาชีพทำไร่นาดังนั้นการกำหนดให้ภิกษุสงฆ์หยุดการเดินทางจาริกไปในสถานที่ต่างๆก็จะช่วยให้พันธุ์พืชของต้นกล้าหรือสัตว์เล็กสัตว์น้อยไม่ได้รับความเสียหายจากการเดินธุดงค์๒หลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา๘ถึง๙เดือนช่วงเข้าพรรษาเป็นช่วงที่ให้พระภิกษุสงฆ์ได้หยุดพักผ่อน๓เป็นเวลาที่พระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเองและศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา๔เพื่อจะได้มีโอกาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวชอันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป๕เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษเช่นการทำบุญตักบาตรหล่อเทียนพรรษาถวายผ้าอาบน้ำฝนรักษาศีลเจริญภาวนาถวายจตุปัจจัยไทยธรรมงดเว้นอบายมุขและมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา ประเพณีเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา มีโอกาสทำบุญพิเศษ

     ความเป็นไวยาวัจกรสิ้นสุดลงเมื่อเจ้าอาวาสผู้แต่งตั้งให้ออกหรือเจ้าอาวาสผู้แต่งตั้งพ้นจากความเป็นเจ้าอาวาสเช่นลาออกลาสิกขามรณภาพค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ไวยาวัจกร ไวยาวัจกร

     คัมภีร์วิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆสะและคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธาจารย์กล่าวว่าวิญญาณมีหน้าที่๑๔อย่างคือ๑ปฏิสนธิสืบต่อภพใหม่๒ภวังค่ะเป็นองค์ประกอบของภพ๓อาวัชชนะคำนึงถึงอารมณ์ใหม่๔ทัสสนะเห็นรูปตรงกับจักขุวิญญาณ๕สวนะได้ยินเสียงตรงกับโสตวิญญาณ๖ฆายนะได้กลิ่นตรงกับฆานวิญญาณ๗สายนะรู้รสตรงกับชิวหาวิญญาณ๘ผุสนะถูกต้องโผฏฐัพพะตรงกับกายวิญญาณ๙สัมปฏิจฉนะรับอารมณ์๑๐สันตีรณะพิจารณาอารมณ์๑๑โวฏฐัพพนะตัดสินอารมณ์๑๒ชวนะเสพอารมณ์๑๓ตทาลัมพณะรับอารมณ์ต่อจากชวนะก่อนจะกลับสู่ภวังค์และ๑๔จุติเคลื่อนจากภพปัจจุบันเพื่อจะไปสู่ภพหน้าค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิญญาณ_(ศาสนาพุทธ) วิญญาณ

     คือที่ดินที่แยกต่างหากจากที่ดินของบ้านเมืองเป็นเขตที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานแก่พระสงฆ์เป็นการเฉพาะเพื่อใช้สร้างอุโบสถโดยประกาศเป็นพระบรมราชโองการโดยที่ที่พระราชทานแล้วจะมีเครื่องหมายเป็นเครื่องบอกเขตเครื่องหมายนี้เรียกว่านิมิตและภายในวิสุงคามสีมาจะนิยมสร้างโรงอุโบสถไว้เพื่อทำสังฆกรรมการที่จะได้เป็นอุโบสถถูกต้องตามพระวินัยนั้นจะต้องได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาก่อนแล้วพระสงฆ์ประชุมพร้อมกันสวดถอนพื้นที่ทั้งหมดในเขตสีมานั้นเพื่อให้แน่ใจว่าจะไม่เป็นสีมาเก่าเรียกว่าถอนสีมาหลังจากนั้นจึงสวดประกาศให้เป็นพื้นที่นั้นเป็นสีมาเรียกว่าผูกสีมาทำดังนี้จึงจะเป็นสีมาหรือเป็นอุโบสถถูกต้องตามพระวินัย พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิสุงคามสีมา วิสุงคามสีมา

     คุกดีๆนี่เองแหละค่ะนักโทษก็คนทั่วไปนี่แหละส่วนใหญ่ไม่รู้ตัวด้วยสิว่าติดคุกอยู่นั่นก็คือภพภูมิที่คนทุกคนต้องตายแล้วก็เกิดเกิดแล้วก็ตายตายแล้วก็เกิดวนไปวนมาอยู่อย่างนี้ได้ไปอยู่คุกชั้นดีบ้างชั้นไม่ดีบ้างขึ้นอยู่ที่การปฏิบัติตัวของคนคะแถมมีให้เลือกอยู่ตั้ง๓๑ภูมิแน่ะชั้นดีหน่อยก็อย่างเช่นชั้นที่คนเรียกว่าสวรรค์ชั้นแย่หน่อยก็นรกไงหล่ะค่ะวัฏสงสาร วัฏสงสาร วัฏสงสาร ภพสามคุก

     ตามพระวินัยพระสงฆ์รูปใดไม่เข้าจำพรรษาอยู่ณที่แห่งใดแห่งหนึ่งพระพุทธองค์ทรงปรับอาบัติแก่พระสงฆ์รูปนั้นด้วยอาบัติทุกกฎและพระสงฆ์ที่อธิษฐานรับคำเข้าจำพรรษาแล้วจะไปค้างแรมที่อื่นไม่ได้แต่ถ้าหากเดินทางออกไปแล้วและไม่สามารถกลับมาในเวลาที่กำหนดคือก่อนรุ่งสว่างก็จะถือว่าพระภิกษุรูปนั้นขาดพรรษาและต้องอาบัติทุกกฎเพราะรับคำนั้นรวมทั้งพระสงฆ์รูปนั้นจะไม่ได้รับอานิสงส์พรรษาไม่ได้อานิสงส์กฐินตามพระวินัยและทั้งยังห้ามไม่ให้นับพรรษาที่ขาดนั้นอีกด้วย วันเข้าพรรษา ประเพณีเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา อาบัติทุกกฎ

     ตามหลักการที่พระพุทธเจ้าและพระอรรถกถาจารย์ได้วางไว้เราสามารถทราบอารมณ์ของวิปัสสนาได้ด้วยการไล่ตามวิถีจิตไปตามกฎเกณฑ์และตามหลักฐานซึ่งจะพบว่ามีทั้งปรมัตถ์และบัญญัตติเป็นอารมณ์กล่าวคือเมื่อคิดถึงวิปัสสนาภูมิเช่นธรรมะ๒๐๑เป็นต้นตอนที่ทำวิปัสสนาอยู่ก็มีปรมัตถ์เป็นอารมณ์แต่เมื่อนึกถึงพระพุทธพจน์เช่นชื่อของธรรมะ๒๐๑หรืออาการของขันธ์เช่นไตรลักษณ์หรืออิริยาบถต่างๆเป็นต้นเป็นเครื่องกำหนดวิปัสสนาก็จะมีบัญญัติเป็นอารมณ์วิปัสสนาภูมิตามที่แสดงไว้ในวิสุทธิมรรคนั้นได้แก่ธรรมะ๒๐๑เป็นต้นเช่นขันธ์๕อายตนะ๑๒ธาตุ๑๘อินทรีย์๒๒อริยสัจ๔ปฏิจจสมุปบาท๑๒วิปัสสนาภูมิที่ยกมานี้ท่านเอามาจากพระไตรปิกเช่นจากสติปัฏฐานสูตรสังยุตตนิกายวิภังคปกรณ์เป็นต้นที่ทราบได้ว่าวิสุทธิมรรคยกมาพอเป็นตัวอย่างเพราะท้ายของวิปัสสนาภูมิทั้ง๖นี้มีอาทิศัพท์อยู่ด้วยฉะนั้นในปรมัตถมัญชุสาวิสุทธิมรรคมหาฎีกาจึงอธิบายอาทิศัพท์ว่าหมายถึงอาหาร๔เป็นต้นด้วยและกล่าวต่อไปอีกว่าให้ท่านผู้อ่านเทียบเคียงธรรมะหมวดอื่นๆตามนัยนี้ได้อีกในพระไตรปิฎกอรรถกถาและฎีกานั้นจะไม่มีการจำกัดให้วิปัสสนามีแต่ปรมัตถ์เป็นอารมณ์เพราะในคัมภีร์ชั้นอรรถกถาก็มีทั้งจุดที่ท่านแสดงให้วิปัสสนามีอารมณ์เป็นปรมัตถ์และเป็นบัญญัติก็มีส่วนมติว่าวิปัสสนามีอารมณ์เป็นปรมัตถ์เท่านั้นเป็นมติของอาจารย์ชาวพม่ารุ่นหลังซึ่งเชิญเข้ามาในสมัยของพระอาจารย์อาจอาสภมหาเถระมีอาจารย์เตชินและอาจารย์สัทธัมมโชติกะเป็นต้นในฝ่ายไทยเมื่อตรวจสอบตามสายวัดป่าก็พบว่าไม่มีข้อบัญญัติว่าวิปัสสนามีอารมณ์เป็นปรมัตถ์เท่านั้นมาแต่เดิมค่ะ วิปัสสนากรรมฐาน อารมณ์ของวิปัสสนา วิปัสสนา วิปัสสนา ปฏิบัติธรรมที่ใช้สติ

     ปัจจุบันยังคงอยู่เป็นซากโบราณสถานในสวนไผ่ที่ร่มรื่นมีสระน้ำขนาดใหญ่ภายในมีรั้วรอบด้านอยู่ในความดูแลของทางราชการอินเดีย วัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดเวฬุวันมหาวิหาร

     ปัจจุบันวัดเชตวันมหาวิหารเหลือเพียงซากโบราณสถานได้รับการบูรณะจากทางราชการอินเดียเป็นอย่างดีตั้งอยู่ทางใต้ของแม่น้ำราปติหรือแม่น้ำอจิรวดีในสมัยพุทธกาลนอกกำแพงเมืองสาวัตถีไปทางทิศใต้ประมาณ๑กิโลเมตรที่ตำบลสะเหตรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดีย วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร

     ปัจจุบันวันมาฆบูชาได้รับการประกาศให้เป็นวันหยุดราชการในประเทศไทยโดยพุทธศาสนิกชนทั้งพระบรมวงศานุวงศ์พระสงฆ์และประชาชนจะมีการประกอบพิธีต่างๆเช่นการตักบาตรการฟังพระธรรมเทศนาการเวียนเทียนเป็นต้นเพื่อเป็นการบูชารำลึกถึงพระรัตนตรัยและเหตุการณ์สำคัญดังกล่าวที่ถือได้ว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงประทานโอวาทปาฏิโมกข์ซึ่งกล่าวถึงหลักคำสอนอันเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนาได้แก่การไม่ทำความชั่วทั้งปวงการบำเพ็ญความดีให้ถึงพร้อมและการทำจิตของตนให้ผ่องใสเพื่อเป็นหลักปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนทั้งมวล วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา

     ปัจจุบันเมืองเวสาลีเป็นซากโบราณสถานอยู่ที่ตำบลบสาร์ทหรือเบสาร์ทในจังหวัดไวศาลีที่เขตติดต่อของอำเภอสดาร์กับซึ่งเป็นที่ตั้งที่ทำการจังหวัดเมืองเวสาลีห่างจากหซิปูร์๓๕กิโลเมตรห่างจากมุซัฟฟาร์ปูร์๓๗กิโลเมตรโดยอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของมุซัฟฟาร์ปูร์ เวสาลี เวสาลี เวสาลี เวสาลี ตำบลบสาร์ท

     พระพุทธองค์ตรัสว่า"เราตถาคตเป็นอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบพวกเธอจงเงี่ยโสตสดับเราได้บรรลุอมฤตธรรมแล้วเราจะสั่งสอนจะแสดงธรรมพวกเธอปฏิบัติอยู่ตามที่เราสั่งสอนแล้วไม่ช้าสักเท่าไรจักทำให้เข้าใจแจ้งซึ่งคุณอันยอดเยี่ยมอันเป็นที่สุดแห่งพรหมจรรย์ที่คนทั้งหลายผู้พากันออกบวชจากเรือนต้องการด้วยปัญญาอันยิ่งด้วยตนเอง"แรกทีเดียวพระปัญจวัคคีย์ยังไม่เชื่อว่าพระพุทธองค์ทรงเป็นอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบจึงค้านถึงสามครั้งว่าแม้ด้วยจริยานั้นแม้ด้วยปฏิปทานั้นแม้ด้วยทุกกรกิริยานั้นพระองค์ก็ยังไม่ได้บรรลุอุตตริมนุสสธรรมอันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐอย่างสามารถก็บัดนี้พระองค์เป็นผู้มักมากคลายความเพียรเวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมากไฉนจักบรรลุอุตตริมนุสสธรรมอันเป็นความรู้ความเห็นพิเศษอย่างประเสริฐอย่างสามารถได้เล่าพระพุทธองค์ตรัสว่า"พวกเธอยังจำได้หรือว่าเราได้เคยพูดถ้อยคำเช่นนี้มาก่อน"และตรัสว่า"ดูก่อนภิกษุทั้งหลายตถาคตเป็นพระอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบท่านทั้งหลายจงเงี่ยโสตลงเถิดเราจะสั่งสอนอมตธรรมที่เราบรรลุแล้วเราจะแสดงธรรมเมื่อท่านทั้งหลายปฏิบัติตามที่เราสั่งสอนอยู่ไม่ช้าเท่าไรก็จักทำให้แจ้งซึ่งที่สุดพรหมจรรย์อันไม่มีธรรมอื่นยิ่งไปกว่าที่กุลบุตรทั้งหลายออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตโดยชอบต้องการด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันแล้วเข้าถึงอยู่"ด้วยพระดำรัสดังกล่าวพระปัญจวัคคีย์จึงได้ยอมเชื่อฟังพระพุทธองค์เงี่ยโสตสดับตั้งจิตเพื่อรู้ยิ่ง วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา ปัญจวัคคีย์เราตถาคตเป็นอรหันต์

     พระพุทธองค์ใช้กว่า๑๑วันเป็นระยะทางกว่า๒๖๐กิโลเมตรเพื่อเสด็จจากตำบลอุรุเวลาตำบลที่ตรัสรู้ไปยังที่พักของเหล่าปัญจวัคคีย์เมื่อพระองค์เสด็จไปถึงที่อยู่ของเหล่าปัญจวัคคีย์ในวันเพ็ญเดือน๘ขณะที่พระองค์กำลังเสด็จเข้าไปที่พักของเหล่าปัญจวัคคีย์ปัญจวัคคีย์ได้เห็นพระพุทธเจ้ามาแต่ไกลด้วยเหตุที่ปัญจวัคคีย์รังเกียจว่าเจ้าชายสิทธัตถะผู้ได้เลิกการบำเพ็ญทุกขกิริยาหันมาเสวยอาหารเป็นผู้หมดโอกาสบรรลุธรรมได้เสด็จมาจึงได้นัดหมายกันและกันว่าพวกเราไม่พึงอภิวาทไม่พึงลุกขึ้นต้อนรับพระองค์ไม่พึงรับบาตรจีวรของพระองค์แต่พึงวางอาสนะไว้ถ้าพระองค์ปรารถนาจะนั่งก็จักประทับนั่งเองครั้นพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าไปถึงกลุ่มพระปัญจวัคคีย์พระปัญจวัคคีย์นั้นกลับลืมข้อตกลงที่ตั้งกันไว้แต่แรกเสียสิ้นต่างลุกขึ้นมาต้อนรับพระพุทธเจ้ารูปหนึ่งรับบาตรจีวรของพระผู้มีพระภาครูปหนึ่งปูอาสนะรูปหนึ่งจัดหาน้ำล้างพระบาทรูปหนึ่งจัดตั้งตั่งรองพระบาทรูปหนึ่งนำกระเบื้องเช็ดพระบาทเข้าไปถวายพระพุทธเจ้าจึงประทับนั่งบนอาสนะที่พระปัญจวัคคีย์จัดถวายไว้ วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา ที่อยู่ของเหล่าปัญจวัคคีย์

     พระวินัยปิฎกถือเป็นส่วนหนึ่งของพระไตรปิฎกเป็นประมวลกฎข้อบังคับเกี่ยวกับความประพฤติของเหล่าพระสงฆ์ทั้งภิกษุและภิกษุณีทว่าพระวินัยปิฎกนั้นมิได้มีแต่กฎข้อบังคับเท่านั้นหากยังมีเนื้อหาสะท้อนประวัติศาสตร์ของอินเดียในสมัยพุทธกาลด้วยรวมทั้งขนบธรรมเนียมประเพณีและประวัติของบุคคลสำคัญบางคนในยุคนั้นเช่นชีวกโกมารภัจจ์ พระวินัยปิฎก พระวินัยปิฎก

     มีความหมายอย่างเดียวกับนิโรธ๕อะค่ะ วิเวก วิเวก

     มีความหมายเดียวกับนิโรธ๕ค่ะ วิมุตติ วิมุตติ๒

     มีค่ะประเพณีเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา มีไม่ต้องจำพรรษา

     วจีทุจริตมี๔อย่างคือ๑พูดเท็จคือพูดไม่จริงพูดตรงกันข้ามกับความจริงเพื่อให้เข้าใจผิด๒พูดคำหยาบคือพูดคำระคายหูคำหยาบโลนไม่น่าฟังไม่เป็นคำผู้ดี๓พูดส่อเสียดคือพูดยุยงให้คนอื่นแตกกันทะเลาะกันพูดให้เขาเจ็บใจ๔พูดเพ้อเจ้อคือพูดพล่ามพูดเหลวไหลไม่มีสาระวกวนไม่รู้จบทำให้เสียเวลาและประโยชน์ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วจีทุจริต วจีทุจริต



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ