| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     วจีทุจริตเป็นการทำความชั่วความผิดทางวาจาคือด้วยปากด้วยการพูดจัดเป็นบาปมิใช่บุญก่อทุกข์โทษให้ทั้งในปัจจุบันและภพชาติต่อไป พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วจีทุจริต วจีทุจริต วจีทุจริต วจีทุจริต ทำชั่วด้วยวาจา

     วจีทุจริตแปลว่าการประพฤติชั่วทางวาจาการประพฤติชั่วด้วยวาจา พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วจีทุจริต วจีทุจริต วจีทุจริต วจีทุจริต ทำชั่วด้วยวาจา

     วัชรยานเป็นนิกายหนึ่งในพุทธศาสนาซึ่งเป็นระบบที่ซับซ้อนในหลายมิติในการคิดและการปฏิบัติที่ได้มีวิวัฒนาการในหลายๆร้อยปีและนอกจากเรียกว่าวัชรยานแล้วยังมีชื่ออื่นๆอีกเช่นพระพุทธศาสนาลัทธิตันตระตันตรยานมันตรยานคุยหยานเป็นต้นค่ะ วัชรยาน วัชรยาน

     วัดบุพพารามมหาวิหารเป็นพระวิหารที่อยู่ใกล้เคียงกับมหาวิหารเชตวันทางใต้ของนครสาวัตถีเมืองหลวงของแคว้นโกศลนางวิสาขามหาอุบาสิกาผู้เป็นเอตทัคคะในบรรดาทายิกาทั้งปวงเป็นผู้สร้างถวายโดยขายเครื่องประดับประจำตัวตั้งแต่แต่งงานเรียกชื่อว่ามหาลดาปสาธน์เป็นเครื่องอาภรณ์งามวิจิตประกอบด้วยรัตนะ๗ประการมีค่ามากถึง๙๐ล้านกหาปนะและได้รับยกย่องว่าเป็นของสำหรับผู้มีบุญในสมัยพุทธกาลที่มีเพียง๓เท่านั้นคือของนางวิสาขา๑ของเศรษฐีธิดาภรรยาท่านเทวทานิยสาระ๑และของนางวิสาขานำมาสร้างวัดถวายพระพุทธเจ้าและพระภิกษุสงฆ์คือมิคารมาตุปราสาทวัดบุพพารามณพระนครสาวัตถีโดยมีพระมหาโมคคัลลานะอัครสาวกเบื้องซ้ายเป็นนวกัมมาธฏฐายีพระพุทธองค์เสด็จมาจำพรรษาที่วัดบุพพารามเป็นเวลา๖พรรษา วัดบุพพาราม วัดบุพพาราม วัดบุพพาราม วัดบุพพาราม

     วัดเชตวันมหาวิหารหรือวัดพระเชตวันอารามของบิณฑิกเศรษฐีเป็นอารามที่สร้างโดยท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐีมหาเศรษฐีแห่งเมืองสาวัตถีบนที่ตั้งของเชตวันหรือสวนเจ้าเชตนอกเมืองสาวัตถีซึ่งอนาถบิณฑิกเศรษฐีซื้อมาด้วยเงินมากถึง๑๘โกฏิตามการนับค่าเงินในสมัยนั้นวัดแห่งนี้นับว่าเป็นวัดและที่มั่นสำคัญในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาลและเป็นวัดที่พระพุทธเจ้าประทับจำพรรษามากที่สุดถึง๑๙พรรษาวัดเชตวันมหาวิหารเป็นสถานที่เกิดเรื่องราวต่างๆในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนามากมาย วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร วัดเชตวันมหาวิหาร

     วัดเวฬุวันมหาวิหารหรือพระวิหารเวฬุวันกลันทกนิวาปสถานเป็นอารามแห่งแรกในพระพุทธศาสนาตั้งอยู่ใกล้เชิงเขาเวภารบรรพตบนริมฝั่งแม่น้ำสรัสวดีซึ่งมีตโปธารามบ่อน้ำร้อนโบราณน่ะค่ะคั่นอยู่ระหว่างกลางนอกเขตกำแพงเมืองเก่าราชคฤห์อันเป็นอดีตเมืองหลวงของแคว้นมคธรัฐพิหารประเทศอินเดียในปัจจุบันหรือแคว้นมคธชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลนั่นเองค่ะเดิมอารามแห่งนี้เป็นพระราชอุทยานของพระเจ้าพิมพิสารกษัตริย์แคว้นมคธตั้งอยู่นอกเมืองราชคฤห์เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วได้เสด็จไปยังเมืองราชคฤห์พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยข้าราชบริพารเข้าไปเฝ้าหลังจากทรงสดับธรรมแล้วทรงเลื่อมใสจึงถวายสวนเวฬุวันเป็นพุทธบูชาด้วยทรงเห็นว่าเป็นที่สงบร่มรื่นเหมาะสำหรับอยู่บำเพ็ญธรรมของพระสงฆ์ถือกันต่อมาว่าสถานที่นี้เป็นวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนาเรียกว่าวัดเวฬุวันมหาวิหารนอกจากนี้วัดนี้ยังเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าแสดงโอวาทปาติโมกข์แก่พระสาวกจำนวน๑,๒๕๐รูปแล้วส่งไปเป็นพระธรรมทูตประกาศพระศาสนาอันเป็นที่มาของวันมาฆบูชาวัดเวฬุวันมหาวิหารปัจจุบันยังคงอยู่เป็นซากโบราณสถานในสวนไผ่ที่ร่มรื่นมีสระน้ำขนาดใหญ่ภายในมีรั้วรอบด้านอยู่ในความดูแลของทางราชการอินเดีย วัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดเวฬุวันมหาวิหาร อารามแห่งแรกในพระพุทธศาสนา

     วัตถุอันเป็นอารมณ์ให้เกิดการปรารภความเพียรเช่นการงานการเดินทางสุขภาพหรืออาหารไรเงี้ยค่ะ วิริยะ วิริยารัมภวัตถุ

     วัตรหมายถึงกิจพึงกระทำหน้าที่ขนบธรรมเนียมประเพณีการประพฤติการปฏิบัติเป็นธรรมเนียมที่พระสงฆ์ปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกันและสม่ำเสมอแสดงถึงฐานะและความเป็นเอกภาพอันนำมาซึ่งความเลื่อมใสแก่ผู้พบเห็น พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วัตร วัตร

     วันมาฆบูชาพุทธศาสนิกชนชาวไทยนิยมทำบุญตักบาตรในตอนเช้าและตลอดวันจะมีการบำเพ็ญบุญกุศลความดีอื่นๆเช่นไปวัดรับศีลงดเว้นการทำบาปทั้งปวงถวายสังฆทานให้อิสระทานหรือปล่อยนกปล่อยปลาฟังพระธรรมเทศนาและไปเวียนเทียนรอบโบสถ์ในเวลาเย็นโดยก่อนทำการเวียนเทียนพุทธศาสนิกชนควรร่วมกันกล่าวคำสวดมนต์และคำบูชาในวันมาฆบูชาโดยปกติตามวัดต่างๆจะจัดให้มีการทำวัตรสวดมนต์ก่อนทำการเวียนเทียนซึ่งส่วนใหญ่นิยมทำการเวียนเทียนอย่างเป็นทางการโดยมีพระภิกษุสงฆ์นำเวียนเทียนในเวลาประมาณ๒ทุ่มค่ะโดยบทสวดมนต์ที่พระสงฆ์นิยมสวดในวันมาฆบูชาก่อนทำการเวียนเทียนนิยมสวดทั้งบาลีและคำแปลตามลำดับดังนี้๑บทบูชาพระรัตนตรัยบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยอรหังสัมมา๒บทนมัสการนอบน้อมบูชาพระพุทธเจ้านะโม๓จบ๓บทสรรเสริญพระพุทธคุณบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยอิติปิโส๔บทสรรเสริญพระพุทธคุณสวดทำนองสรภัญญะบทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วยองค์ใดพระสัมพุทธ๕บทสรรเสริญพระธรรมคุณบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยสวากขาโต๖บทสรรเสริญพระธรรมคุณสวดทำนองสรภัญญะบทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วยธรรมมะคือคุณากร๗บทสรรเสริญพระสังฆคุณบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยสุปฏิปันโน๘บทสรรเสริญพระสังฆคุณสวดทำนองสรภัญญะบทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วยสงฆ์ใดสาวกศาสดา๙บทสวดบูชาเนื่องในวันมาฆบูชาบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยอัชชายังจากนั้นจุดธูปเทียนและถือดอกไม้เป็นเครื่องสักการบูชาในมือแล้วเดินเวียนรอบปูชนียสถาน๓รอบโดยขณะที่เดินนั้นพึงตั้งจิตให้สงบพร้อมสวดระลึกถึงพระพุทธคุณด้วยการสวดบทอิติปิโสในรอบที่หนึ่งระลึกถึงพระธรรมคุณด้วยการสวดสวากขาโตในรอบที่สองและระลึกถึงพระสังฆคุณด้วยการสวดสุปะฏิปันโนในรอบที่สามจนกว่าจะเวียนจบ๓รอบจากนั้นนำธูปเทียนดอกไม้ไปบูชาตามปูชนียสถานจึงเป็นอันเสร็จพิธี วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา

     วันมาฆบูชาเป็นวันสำคัญของชาวพุทธเถรวาทและวันหยุดราชการในประเทศไทยมาฆบูชาย่อมาจากมาฆปูรณมีบูชาหมายถึงการบูชาในวันเพ็ญกลางเดือนมาฆะตามปฏิทินของอินเดียหรือเดือน๓ตามปฏิทินจันทรคติของไทยตกช่วงเดือนกุมภาพันธ์หรือมีนาคมถ้าในปีใดมีเดือนอธิกมาสคือมีเดือน๘สองหนหรือปีอธิกมาสก็เลื่อนไปทำในวันเพ็ญเดือน๓หลังหรือวันเพ็ญเดือน๔ วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา วันมาฆบูชา วันเพ็ญกลางเดือนมาฆะ

     วันอัฏฐมีบูชาคือวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหลังเสด็จดับขันธปรินิพพานได้๘วันถือเป็นวันสำคัญในพระพุทธศาสนาวันหนึ่งตรงกับวันแรม๘ค่ำเดือนวิสาขะเดือน๖ของไทยค่ะนอกจากนั้นวันนี้ยังเป็นวันคล้ายวันที่พระนางสิริมหามายาองค์พระพุทธมารดาสิ้นพระชนม์หลังประสูติและก็ยังเป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธองค์เสวยวิมุตติสุขตลอด๗วันหลังตรัสรู้อีกด้วยค่ะวันอัฏฐมีอันนี้แถมให้ค่ะวันอัฏฐมีวัน๘ค่ำยังใช้เรียกทั้งข้างขึ้นและข้างแรมเรียกเต็มว่าอัฏฐมีดิถีปกติใช้ในการประกาศองค์อุโบสถในวันพระซึ่งหัวหน้าอุบาสกหรืออุบาสิกาจะประกาศก่อนที่จะรับศีลอุโบสถจากพระว่าขอประกาศเริ่มเรื่องความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถอันพร้อมไปด้วยองค์แปดประการให้สาธุชนที่ได้ตั้งจิตสมาทานทราบทั่วกันก่อนแต่สมาทานณบัดนี้ด้วยวันนี้เป็นอัฏฐมีดิถีที่สิบสี่แห่งกาฬปักษ์มาถึงแล้วก็แหละวันเช่นนี้เป็นกาลที่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแต่งตั้งไว้ให้ประชุมกันฟังธรรมและเป็นกาลที่จะรักษาอุโบสถของอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายค่ะแต่ถ้าเป็นวัน๑๔ค่ำใช้ว่าวันจาตุทสีวัน๑๕ค่ำใช้ว่าวันปัณณรสีนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วันอัฏฐมีบูชา วันอัฏฐมีบูชา พระพุทธเจ้า วันอัฏฐมีบูชา ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ

     วันอาสาฬหบูชาพุทธศาสนิกชนชาวไทยนิยมทำบุญตักบาตรในตอนเช้าและตลอดวันจะมีการบำเพ็ญบุญกุศลความดีอื่นๆเช่นไปวัดรับศีลงดเว้นการทำบาปทั้งปวงถวายสังฆทานให้อิสระทานปล่อยนกปล่อยปลาฟังพระธรรมเทศนาและไปเวียนเทียนรอบโบสถ์ในเวลาเย็นโดยก่อนทำการเวียนเทียนพุทธศาสนิกชนควรร่วมกันกล่าวคำสวดมนต์และคำบูชาในวันอาสาฬหบูชาโดยปกติตามวัดต่างๆจะจัดให้มีการทำวัตรสวดมนต์ก่อนทำการเวียนเทียนซึ่งส่วนใหญ่นิยมทำการเวียนเทียนอย่างเป็นทางการโดยมีพระภิกษุสงฆ์นำเวียนเทียนในเวลาประมาณ๒๐นาฬิกาโดยบทสวดมนต์ที่พระสงฆ์นิยมสวดในวันอาสาฬหบูชาก่อนทำการเวียนเทียนนิยมสวดทั้งบาลีและคำแปลตามลำดับดังนี้๑บทบูชาพระรัตนตรัยบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยอรหังสัมมา๒บทนมัสการนอบน้อมบูชาพระพุทธเจ้านะโม๓จบ๓บทสรรเสริญพระพุทธคุณบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยอิติปิโส๔บทสรรเสริญพระพุทธคุณสวดทำนองสรภัญญะบทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วยองค์ใดพระสัมพุทธ๕บทสรรเสริญพระธรรมคุณบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยสวากขาโต๖บทสรรเสริญพระธรรมคุณสวดทำนองสรภัญญะบทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วยธรรมมะคือคุณากร๗บทสรรเสริญพระสังฆคุณบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยสุปฏิปันโน๘บทสรรเสริญพระสังฆคุณสวดทำนองสรภัญญะบทสวดสรภัญญะที่ขึ้นต้นด้วยสงฆ์ใดสาวกศาสดา๙บทสวดพระธรรมจักกัปปวัตตนสูตรบาลีบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยเอวัมเมสุตังเอกัง๑๐บทสวดบูชาเนื่องในวันอาสาฬหบูชาบทสวดบาลีที่ขึ้นต้นด้วยยะมัมหะโขมะยังจากนั้นจุดธูปเทียนและถือดอกไม้เป็นเครื่องสักการบูชาในมือแล้วเดินเวียนรอบปูชนียสถาน๓รอบโดยขณะที่เดินนั้นพึงตั้งจิตให้สงบพร้อมสวดระลึกถึงพระพุทธคุณด้วยการสวดบทอิติปิโสในรอบที่หนึ่งระลึกถึงพระธรรมคุณด้วยการสวดสวากขาโตในรอบที่สองและระลึกถึงพระสังฆคุณด้วยการสวดสุปะฏิปันโนในรอบที่สามจนกว่าจะเวียนจบ๓รอบจากนั้นนำธูปเทียนดอกไม้ไปบูชาตามปูชนียสถานจึงเป็นอันเสร็จพิธีค่ะ วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา

     วันอาสาฬหบูชาได้รับการกำหนดให้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของประเทศไทยในปีพศ๒๕๐๑โดยคณะสังฆมนตรีหรือมหาเถรสมาคมในสมัยนั้นได้มีมติให้เพิ่มวันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาในประเทศไทยตามคำแนะนำของพระธรรมโกศาจารย์โดยคณะสังฆมนตรีได้ออกเป็นประกาศสำนักสังฆนายกกำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาพร้อมทั้งกำหนดพิธีอาสาฬหบูชาขึ้นเมื่อวันที่๑๔กรกฎาคมพศ๒๕๐๑ไม่ปรากฏหลักฐานในประเทศไทยว่าในสมัยก่อนพศ๒๕๐๑เคยมีการประกอบพิธีอาสาฬหบูชามาก่อนทำให้การกำหนดให้วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของสำนักสังฆนายกในครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่มีการกำหนดแบบแผนการประกอบพิธีนี้อย่างเป็นทางการโดยหลังจากปีพศ๒๕๐๑ซึ่งเป็นปีแรกที่เริ่มมีการรณรงค์ให้มีการประกอบพิธีอาสาฬหบูชาพุทธศาสนิกชนชาวไทยได้ร่วมใจกันประกอบพิธีนี้กันอย่างกว้างขวางและแพร่หลายไปทุกจังหวัดจนกลายเป็นพิธีสำคัญของพุทธศาสนิกชนไทยตั้งแต่นั้นมาดังนั้นในวันที่๖มิถุนายนพศ๒๕๐๕คณะรัฐมนตรีนำโดยจอมพลสฤษดิ์ธนะรัชต์นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นจึงได้ลงมติให้ประกาศกำหนดเพิ่มให้วันอาสาฬหบูชาหรือวันขึ้น๑๕ค่ำเดือน๘สำหรับปีไม่มีอธิกมาสและวันขึ้น๑๕ค่ำเดือน๘หลังในปีที่มีอธิกมาสเป็นวันหยุดราชการประจำปีอีก๑วันเพื่อเป็นการให้ความสำคัญกับวันสำคัญยิ่งของชาวพุทธนี้และเพื่ออำนวยความสะดวกแก่พุทธศาสนิกชนที่จะไปประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาด้วยอีกประการหนึ่ง วันอาสาฬหบูชา วันอาสาฬหบูชา

     วันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่งที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ณที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา๓เดือนตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นหรือที่เรียกติดปากกันโดยทั่วไปว่าจำพรรษาพิธีเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรงละเว้นไม่ได้ไม่ว่ากรณีใดๆก็ตามการเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม๑ค่ำเดือน๘ของทุกปีหรือเดือน๘หลังถ้ามีเดือน๘สองหนและสิ้นสุดลงในวันขึ้น๑๕ค่ำเดือน๑๑หรือวันออกพรรษาวันเข้าพรรษาวันแรม๑ค่ำเดือน๘หรือเทศกาลเข้าพรรษาวันแรม๑ค่ำเดือน๘ถึงวันขึ้น๑๕ค่ำเดือน๑๑ วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษา ตลอดระยะเวลาฤดูฝน

     วาจาประกอบด้วยองค์๕ประการเป็นวาจาสุภาษิตไม่เป็นทุพภาษิตและเป็นวาจาไม่มีโทษวิญญูชนไม่ติเตียนคือ๑วาจานั้นย่อมเป็นวาจาที่กล่าวถูกกาล๒เป็นวาจาที่กล่าวเป็นสัจ๓เป็นวาจาที่กล่าวอ่อนหวาน๔เป็นวาจาที่กล่าวประกอบด้วยประโยชน์๕เป็นวาจาที่กล่าวด้วยเมตตาจิตอีกนัยหนึ่งวาจาอันประกอบด้วยองค์๔เป็นวาจาสุภาษิตไม่เป็นทุพภาษิตเป็นวาจาไม่มีโทษและวิญญูชนไม่พึงติเตียน๑ย่อมกล่าวแต่คำที่เป็นสุภาษิตไม่กล่าวคำที่เป็นทุพภาษิต๒ย่อมกล่าวคำที่เป็นธรรมไม่กล่าวคำที่ไม่เป็นธรรม๓ย่อมกล่าวแต่คำอันเป็นที่รักไม่กล่าวคำอันไม่เป็นที่รัก๔ย่อมกล่าวแต่คำสัตย์ไม่กล่าวคำเหลาะแหละสัมมาวาจา สัมมาวาจา

     วิกขัมภนวิมุตติคือความดับแห่งตัวกูซึ่งเป็นไปด้วยอำนาจของการประพฤติหรือการกระทำทางจิตหมายถึงขณะนั้นมีการกระทำจิตให้ติดอยู่กับอารมณ์ของสมาธิอย่างใดอย่างหนึ่งตามแบบของการทำสมาธิ

     วิจารณญาณอ่านว่าวิจาระนะยานหมายถึงปัญญาที่สามารถรู้หรือให้เหตุผลที่ถูกต้องปัญญาสามารถในการพิจารณาจัดแจงวางแผนสืบสวนแสวงหาไตร่ตรองเหตุผลเรียกว่าวิจารณปัญญาก็มีค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิจารณญาณวิจารณญาณ

     วิจารณญาณเป็นเครื่องมือในการสังเกตคิดค้นและตัดสินวินิจฉัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นเครื่องมือของโยนิโสมนสิการมีลักษณะเฟ้นหาไตร่ตรองข้อเท็จจริงด้วยเหตุผลรอบคอบและรอบด้านทำให้ฉุกคิดไม่ตัดสินใจโดยรีบด่วนจนเกิดความผิดพลาดเป็ตให้การสรุปผลหรือตัดสินเรื่องนั้นๆถูกต้องถ่องแท้หรือผิดพลาดน้อยที่สุดวิจารณญาณเป็นเรื่องของปัญญาเหตุผลและข้อเท็จจริงมิใช่เป็นเรื่องของทัศนะและการคาดเดาการศึกษาสมัยใหม่ในประเทศพัฒนาแล้วหลายประเทศได้นำกระบวนการคิดในลักษณะนี้มารวมไว้ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานเรียกว่าการคิดเชิงวิจารณ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิจารณญาณ วิจารณญาณ

     วิญญูชนแปลว่าผู้รู้แจ้งผู้รู้โดยแจ่มแจ้งชัดเจนค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิญญูชน_(ศาสนาพุทธ) วิญญูชน

     วิญญูชนใช้หมายถึงคนฉลาดนักปราชญ์ผู้รอบรู้ผู้มีปัญญาผู้รู้ผิดรู้ชอบคือผู้ประกอบด้วยหลักนักปราชญ์คือสุจิปุลิประกอบด้วยปัญญาพินิจมีหลักโยนิโสมนสิการคือเป็นผู้ฉลาดในการคิดคิดอย่างถูกวิธีถูกระบบพิจารณาไตร่ตรองรอบคอบแล้วสามารถแยกแยะผิดถูกชั่วดีควรไม่ควรเหมาะไม่เหมาะเป็นต้นได้อย่างถูกต้องแจ่มแจ้งเป็นผู้สามารถที่จะรู้ธรรมของพระพุทธเจ้าได้ดังบทบาลีว่าปจจตตเวทิตพโพวิญญูหิพระธรรมอันวิญญูชนจะพึงรู้ได้เฉพาะตน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิญญูชน_(ศาสนาพุทธ) วิญญูชน

     วิทยาทานคือการให้ความรู้ทางโลกวิทยาทาน

     วินัยมุขเป็นชื่อหนังสือที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสวัดบวรนิเวศวิหารทรงรจนาไว้เป็นหนังสือที่ว่าด้วยแนวทางแห่งการศึกษาและปฏิบัติพระวินัยให้สำเร็จประโยชน์คณะสงฆ์ใช้หนังสือวินัยมุขป็นหลักสูตรสำหรับศึกษาวิชาวินัยของภิกษุสามเณรตลอดมาจนถึงปัจจุบันแบ่งออกเป็น๓เล่มคือเล่ม๑เป็นหลักสูตรนักธรรมตรีว่าด้วยเรื่องสิกขาบทหรือศีล๒๒๗ข้อของภิกษุเล่ม๒เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้นโทว่าด้วยเรื่องกายบริหารบริขารนิสัยวัตรเป็นต้นและเล่ม๓เป็นหลักสูตรนักธรรมเอกว่าด้วยเรื่องสังฆกรรมสีมากฐินเป็นต้น พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วินัยมุข วินัยมุข

     วิบากแปลว่าผลผลผลิตผลที่เกิดขึ้นผลที่ติดตามมาจากเหตุ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิบาก วิบาก



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ