| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     วิบากในคำวัดหมายถึงผลกรรมผลที่เกิดจากกรรมที่ทำไว้ก่อนไม่ว่าจะเป็นกรรมดีหรือกรรมชั่วล้วนมีวิบากคือผลทั้งสิ้นโดยกรรมดีมีวิบากเป็นสุขกรรมชั่วมีวิบากเป็นทุกข์ใช้ซ้ำกันเป็นผลวิบากหรือวิบากผลก็มีแต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าหมายถึงผลทางชั่วคือทุกข์อย่างเดียวส่วนวิบากทางดีไม่นิยมใช้พูดกันเช่นพูดว่าวิบากกรรมตามทันแล้วจึงทำให้เขาตกยากลงอย่างทันตาหรือกรรมวิบากเป็นเหตุให้ต้องตกนรกในคำไทยใช้หมายความว่าลำบากทุรกันดารเช่นหนทางวิบากประสบความวิบากไรเงี้ยค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิบาก วิบาก

     วิปจิตัญญูพวกที่มีสติปัญญาปานกลางเป็นสัมมาทิฏฐิเมื่อได้ฟังธรรมแล้วพิจารณาตามและได้รับการอบรมฝึกฝนเพิ่มเติมจะสามารถรู้และเข้าใจได้ในเวลาอันไม่ช้าเปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่ปริ่มน้ำซึ่งจะบานในวันถัดไปวิปจิตัญญู

     วิปัสสนาแปลว่าตามศัพท์ว่าการเห็นชัดเจนหรือการเห็นแจ้ง วิปัสสนา วิปัสสนา

     วิปัสสนาแปลว่าตามใจความว่าการคิดอย่างชาญฉลาดมีปัญญาเกี่ยวกับสังขารธรรมอย่างละเอียดโดยใช้ลักษณะต่างๆนานาเช่นเมื่อคิดทำความเข้าใจเรื่องรูปขันธ์จนแจ่มแจ้งชัดเจนด้วยญาตปริญญาแล้วก็คิดถึงรูปขันธ์โดยใช้ลักษณะที่ไม่เที่ยงของรูปขันธ์ว่ารูปขันธ์ไม่เที่ยงเพราะปกติแล้วรูปขันธ์ต้องสิ้นไปหมดไปทำลายไปก็ดูซิรูปขันธ์ในชาติที่แล้วก็หมดไปในชาติที่แล้วไม่มาถึงชาตินี้และในชาตินี้ก็จะไม่ไปถึงชาติหน้าทั้งหมดล้วนต้องหมดไปสิ้นไปแตกทำลายไปในชาตินั้นๆนั่นเองเป็นต้นต้องเปรียบเทียบเช่นนี้ต่อไปอีกเช่นจากแยกเป็นชาติก็แยกเป็น๓ช่วงอายุเป็น๑๐๒๐๒๕๕๐เรื่อยไปจนแยกเป็นชั่วเวลาที่ยกเท้าก้าวเท้าเบี่ยงเท้าเปลี่ยนทิศวางเท้าลงเท้าแตะถึงพื้นจนกดเท้านี้ลงให้มั่นเพื่อยกเท้าอีกข้างให้ก้าวต่อไปทั้งหมดก็จบลงไปในช่วงนั้นๆนั่นเองรูปขันธ์ตอนยกก็อย่างหนึ่งหมดไปแล้วรูปขันธ์ตอนก้าวเท้าจึงเกิดขึ้นใหม่แล้วก็ดับไปอีกเป็นต้นการใคร่ครวญอย่างนี้ยิ่งละเอียดขึ้นเท่าไหร่ยิ่งทำให้ปัญญาเจริญดีเท่านั้นอนึ่งลักษณะต่างๆนานาที่ว่านั้นท่านเรียกว่าไตรลักษณ์แปลว่าลักษณะ๓อย่างคือลักษณะที่ไม่เที่ยงลักษณะที่เป็นทุกข์และลักษณะที่เป็นอนัตตาในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาท่านระบุไว้ว่าขึ้นชื่อว่าลักษณะมีคติเป็นบัญญัติเป็นนวัตตัพพธรรมในพระไตรปิฎกหลายที่ก็กล่าวไตรลักษณ์ไว้หลายชื่อเช่นไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาเป็นโรคเป็นหัวฝีเป็นลูกศรเป็นจัญไรเป็นต้นและในคัมภีร์๒แห่งก็ระบุให้ไตรลักษณ์เป็นตัชชาบัญญัติแต่ว่าโดยตรงแล้วไตรลักษณ์จะไม่ใช่คำพูดหรือศัพท์บัญญัติคงเป็นอาการของขันธ์นั่นเองที่ไม่ใช่ปรมัตถ์ก็เพราะไม่สามารถจัดเข้าในสภาวธรรม๗๒ข้อใดได้เลยเหมือนอิริยาบถมีการนั่งเดินยืนนอนและแลเหลียวเหยียดคู้เป็นต้นที่ไม่มีสภาวะเช่นกันฉะนั้นวิปัสสนาจึงเป็นการใช้ทั้งปรมัตถ์คือสิ่งที่มีอยู่จริงและบัญญัติคือสิ่งที่ไม่มีอยู่จริงทั้งที่เป็นอาการของปรมัตถ์และชื่อเรียกต่างๆมากำหนดขันธ์เป็นต้นปรมัตถ์ที่ใช้กำหนดวิปัสสนานั้นท่านเรียกว่าปัจจัตตลักษณะหรือเรียกว่าวิเสสลักษณะลักขณาทิจตุกกะก็ได้เช่นลักษณะที่มาประจัญหน้ากันของอารมณ์วัตถุและวิญญาณซึ่งเป็นลักษณะคือเป็นเครื่องหมายบ่งให้สังเกตรู้ได้ว่าเป็นปรมัตถ์แต่ละอย่างไม่ปะปนกันสามารถกำหนดได้ว่าสิ่งนี้คือผัสสะเป็นต้นอย่างนี้คัมภีร์ทางศาสนามักจัดว่าเป็นญาตปริญญาและแม้โดยทั่วไปท่านจะยังไม่จัดว่าเป็นวิปัสสนาโดยตรงแต่หากจะอนุโลมเอาก็ไม่ผิดอะไรเพราะก็เป็นพื้นฐานที่สำคัญมากของการทำวิปัสสนาส่วนการใช้สามัญญลักษณะหรือเรียกว่าไตรลักษณ์เช่นลักษณะที่ไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตาเป็นเหมือนโรคเป็นเหมือนหัวฝีเป็นเหมือนลูกศรเป็นต้นมากำหนดปรมัตถ์เช่นรูปขันธ์เป็นต้นอย่างนี้คัมภีร์ทางศาสนามักจัดว่าเป็นตีรณปริญญาและปหานปริญญาและทั่วไปท่านจะจัดว่าเป็นวิปัสสนาโดยตรงเพราะมุ่งเน้นให้ผู้ปฏิบัติตามเบื่อหน่ายคลายกำหนัดในโลกิยขันธ์ให้ได้การปฏิบัติทั้งหมดในคัมภีร์ท่านมักเน้นย้ำว่าจะต้องมีพื้นฐานเหล่านี้คือ๑อุคคหะการเรียนพระธรรม๒ปริปุจฉาการสอบสวนทวนถามทำความเข้าใจในอรรถะของพระธรรมให้ชัดเจน๓ธาตาการทรงจำพระธรรมได้๔วจสาปริจิตาสวดท่องจนมีความคล่องแคล่วชำนาญคล่องปาก๕มนสานุเปกขิตาใคร่ครวญค้นคิดตรวจสอบจนขึ้นใจเข้าใจ๖ปฏิปัตติหมั่นเอาพระธรรมมาใช้ในชีวิตจนสามารถจะเห็นอะไรๆเป็นพระธรรมได้โดยเฉพาะการปฏิบัติศีลและสมาธิที่ต้องใช้จนระงับกิเลสได้ถึงระดับหนึ่งจึงจะทำวิปัสสนาได้พื้นฐานเหล่านี้ในพระไตรปิฎกบางแห่งพระพุทธองค์ถึงกับกล่าวให้คนที่ไม่ทำตามลำดับตามขั้นตอนพื้นฐานให้เป็นโมฆบุรุษเลยทีเดียวซึ่งคำนี้ถือว่าเป็นคำตำหนิที่รุนแรงมากในสมัยนั้น วิปัสสนา วิปัสสนา วิปัสสนา วิปัสสนา คิดอย่างชาญฉลาด

     วิปัสสนากรรมฐานคือกรรมฐานเป็นอุบายเรื่องปัญญากรรมฐานทำให้เกิดการรู้แจ้งเห็นจริงหมายถึงการปฏิบัติธรรมที่ใช้สติเป็นหลักวิปัสสนากรรมฐานบำเพ็ญได้โดยการพิจารณาสภาวธรรมหรือนามรูปคือขันธ์ธาตุอายตนะอินทรีย์ให้เห็นตามความเป็นจริงคือเห็นด้วยปัญญาว่าสภาวธรรมเหล่านี้ตกอยู่ในสามัญลักษณะหรือไตรลักษณ์คืออนิจจังทุกขังอนัตตาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวของธาตุ๔คือดินน้ำไฟลมเท่านั้นเป็นสิ่งที่ไม่ควรยึดมั่นถือมั่นวิปัสสนากรรมฐานเป็นกรรมฐานที่มุ่งอบรมปัญญาเป็นหลักคู่กับสมถกรรมฐานซึ่งมุ่งบริหารจิตเป็นหลักในคัมภีร์ทางพระศาสนาทั้งพระไตรปิฎกและอรรถกถาทั่วๆไปมักจัดเอาวิปัสสนาเป็นแค่สุตมยปัญญาและจินตามยปัญญาเพราะในวิภังคปกรณ์พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้อย่างนั้นทั้งนี้ก็ยังพอจะอนุโลมเอาวิปัสสนาว่าเป็นภาวนามยปัญญาได้อีกด้วยเพราะในฎีกาหลายที่ท่านก็อนุญาตไว้ให้ซึ่งท่านคงอนุโลมเอาตามนัยยะพระสูตรอีกทีหนึ่งและในอรรถกถาปฏิสัมภิทามรรคท่านก็อนุโลมให้เพราะจัดเข้าได้ในภาวนามัยบุญกิริยาวัตถุข้อ๑๐รายละเอียดวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานหรือการเจริญปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานได้แก่การปฏิบัติตามสติปัฏฐาน๔ดังบรรยายไว้โดยละเอียดในมหาสติปัฏฐานสูตรในพระไตรปิฎกระหว่างปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเมื่อผู้ปฏิบัติกำลังมนสิการขันธ์๕อย่างหนึ่งอย่างใดอยู่โดยไตรลักษณ์ผู้ปฏิบัติอาจเกิดวิปัสสนูปกิเลสหรืออุปกิเลสแห่งวิปัสสนา๑๐อย่างชวนผู้ปฏิบัติให้เข้าใจผิดคิดว่าตนได้มรรคผลแล้วคลาดออกนอกวิปัสสนาวิถีได้ วิปัสสนากรรมฐาน วิปัสสนากรรมฐาน วิปัสสนา วิปัสสนา ปฏิบัติธรรมที่ใช้สติ

     วิปัสสนาธุระคืองานที่มุ่งอบรมปัญญาให้เกิดโดยการปล่อยวางภาระทั้งปวงทำกายใจให้เบายินดีในเสนาสนะที่เงียบสงบพิจารณาถึงความเสื่อมไปสิ้นไปในสังขารร่างกายจนเห็นสามัญลักษณะคืออนิจจังทุกขังอนัตตาได้ชัดเจนเจริญอบรมวิปัสสนาต่อเนื่องไปไม่ขาดสายจนถึงหลักชัยคือคว้าอรหัตผลได้วิปัสสนาธุระเป็นงานที่พระพุทธเจ้าทรงกำหนดให้ภิกษุปฏิบัติอย่างหนึ่งใน๒อย่างคือคันถธุระและวิปัสสนาธุระ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิปัสสนาธุระ วิปัสสนาธุระ วิปัสสนา

     วิปัสสนาธุระหมายถึงงานด้านวิปัสสนางานด้านบำเพ็ญวิปัสสนกรรมฐาน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิปัสสนาธุระ วิปัสสนาธุระ

     วิปัสสนูปกิเลส๑๐หมายถึงอุปกิเลสแห่งวิปัสสนาเป็นธรรมารมณ์ที่เกิดแก่ผู้ได้วิปัสสนาอ่อนๆหรือตรุณวิปัสสนาสภาพน่าชื่นชมแต่ที่แท้เป็นโทษเครื่องเศร้าหมองแห่งวิปัสสนาทำให้เข้าใจผิดว่าตนบรรลุมรรคผลแล้วเป็นเหตุขัดขวางไม่ให้ก้าวหน้าต่อไปในวิปัสสนาญาณมี๑๐อย่างคือโอภาสหมายถึงแสงสว่างที่ปรากฏเป็นธรรมารมณ์ในใจญาณหมายถึงความหยั่งรู้ปีติหมายถึงความอิ่มใจปัสสัทธิหมายถึงความสงบเย็นสุขหมายถึงความสุขสบายใจอธิโมกข์หมายถึงความน้อมใจเชื่อศรัทธาแก่กล้าความปลงใจปัคคาหะหมายถึงความเพียรที่พอดีอุปัฏฐานหมายถึงสติแก่กล้าสติชัดอุเบกขาหมายถึงความมีจิตเป็นกลางนิกันติหมายถึงความพอใจติดใจเมื่อผู้ปฏิบัติวิปัสสนาสามารถยกเอารูปธรรมและนามธรรมทั้งหลายขึ้นมาพิจารณาเป็นหมวดๆตามแนวไตรลักษณ์ที่ละอย่างๆจนเริ่มมองเห็นความเกิดขึ้นและความเสื่อมไปแห่งสังขารทั้งหลายเกิดเป็นวิปัสสนาญาณอ่อนๆหรือตรุณวิปัสสนาเช่นในช่วงอุทยัพพยานุปัสสนาญาณในช่วงนี้ก็จะเกิดวิปัสสนูปกิเลสขึ้นมาวิปัสสนูปกิเลสทั้งสิบนี้เป็นภาวะที่น่าชื่นชมอย่างยิ่งและไม่เคยเกิดมีไม่เคยประสบมาก่อนจึงชวนให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจผิดคิดว่าตนบรรลุมรรคผลแล้วหรือหลงยึดเอาคิดว่าวิปัสสนูปกิเลสนั้นเป็นทางที่ถูกถ้าหลงไปตามนั้นก็เป็นอันพลาดจากทางเป็นอันปฏิบัติผิดไปคือพลาดทางวิปัสสนาแล้วก็จะทิ้งกรรมฐานเดิมเสียนั่งชื่นชมอุปกิเลสของวิปัสสนาอยู่นั่นเองแต่ถ้ามีสติสัมปชัญญะแก้ไขได้ก็จะกำหนดได้ว่าวิปัสสนูปกิเลสนั้นไม่ใช่ทางรู้เท่าทันเมื่อมันเกิดขึ้นก็กำหนดพิจารณาด้วยปัญญาว่าโอภาสนี้ญาณนี้ไปจนนิกันตินี้เกิดขึ้นแล้วแก่เราแต่มันเป็นของไม่เที่ยงเกิดจากปัจจัยปรุงแต่งจะต้องเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรมดาแล้วกำหนดวิปัสสนาญาณที่ดำเนินถูกทางซึ่งจะพึงเดินต่อไป วิปัสสนูปกิเลส วิปัสสนูปกิเลส วิปัสสนูปกิเลส เหตุขัดขวางไม่ให้ก้าวหน้า

     วิปัสสนูปกิเลสจะไม่เกิดขึ้นแก่พระอริยสาวกผู้บรรลุปฏิเวธแล้วผู้ปฏิบัติผิดอย่างเริ่มต้นมาแต่ศีลวิบัติผู้ละทิ้งกรรมฐานบุคคลเกียจคร้านแม้ปฏิบัติถูกมาแต่เริ่มต้นแต่จะเกิดขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติโดยชอบประกอบความเพียรผู้เริ่มต้นบำเพ็ญวิปัสสนาแล้วเท่านั้นค่ะ วิปัสสนูปกิเลส วิปัสสนูปกิเลส วิปัสสนูปกิเลส

     วิปากสัทธาเชื่อวิบากเชื่อผลของกรรมเชื่อว่าผลของกรรมมีจริงคือเชื่อว่ากรรมที่ทำแล้วย่อมมีผลและผลต้องมีเหตุผลดีเกิดจากกรรมดีผลชั่วเกิดจากกรรมชั่ววิปากสัทธา

     วิภพหรือวิภวะเป็นศัพท์ที่ปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเป็นศัพท์ที่สื่อความหมายในทางปรมัตถ์บัญญัติคือความหลุดพ้นจากกิเลสโดยปกติมักใช้คู่กับวิภวตัณหาซึ่งเป็นศัพท์หมายความในทางสมมุติบัญญัติคือความไม่หลุดพ้นจากกิเลส วิภพ วิภพ

     วิภพเมื่ออยู่ศัพท์เดียวแปลตรงตัวว่าไม่มีภพหรือความไม่มีอะไรหรือไม่มีความอยากตรงข้ามกับภพซึ่งแปลว่าความมีความเป็นอย่างความมีกิเลสตัณหามีภพมีชาติซึ่งเป็นต้นเหตุของทุกข์ดังนั้นจึงมีผู้กล่าวว่าวิภพเป็นไวพจน์แห่งนิพพานคือเป็นสภาวะที่หลุดพ้นไม่มีความอยากหลุดพ้นเพราะไม่มีกิเลสตัณหานั่นเอง วิภพ วิภพ

     วิภวตัณหาแปลตรงตัวตามศัพท์บาลีว่าความไม่อยากมีค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิภวตัณหา วิภวตัณหา วิภวตัณหา วิภวตัณหา ความไม่อยากมี

     วิมุตติคือความหลุดพ้นเป็นวัตถุประสงค์มุ่งหมายของการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาดังพุทธภาษิตว่าพรหมจรรย์นี้มิได้มีลาภสักการะสรรเสริญเป็นอานิสงส์มิได้มีกามสุขในสวรรค์เป็นอานิสงส์มิได้มีการเข้าถึงความเป็นอันเดียวกับพรหมในพรหมโลกเป็นอานิสงส์แต่ว่ามีวิมุตติเป็นอานิสงส์ วิมุตติ วิมุตติ วิมุตติ วิมุตติ ความหลุดพ้น

     วิมุตติ๒คือความหลุดพ้นด้วยสมาธิและปัญญาได้แก่๑จโตวิมุตติหมายถึงความหลุดพ้นแห่งจิตความหลุดพ้นด้วยอำนาจการฝึกจิตความหลุดพ้นแห่งจิตจากราคะด้วยกำลังแห่งสมาธิ๒ปัญญาวิมุตติหมายถึงความหลุดพ้นด้วยปัญญาความหลุดพ้นด้วยอำนาจการเจริญปัญญาความหลุดพ้นแห่งจิตจากจากอวิชชาด้วยปัญญาที่รู้เห็นตามเป็นจริ วิมุตติ วิมุตติ๒

     วิริยะแปลว่าความเพียรความพยายามความกล้าที่จะลงมือทำภาวะของผู้กล้า วิริยะ วิริยะ

     วิริยะรวมอยู่ในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลายหมวดเช่นอิทธิบาท๔ฉันทะวิริยะจิตตะวิมังสาอันเป็นคุณธรรมที่นำไปสู่ความสำเร็จแห่งผลที่มุ่งหมายพละ๕ศรัทธาวิริยะสติสมาธิปัญญาคือธรรมอันเป็นกำลังอินทรีย์๕ศรัทธาวิริยะสติสมาธิปัญญาคือธรรมที่เป็นใหญ่ในกิจของตนโพชฌงค์๗สติธัมมวิจยะวิริยะปีติปัสสัทธิสมาธิอุเบกขาอันเป็นธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้บารมี๑๐ทานศีลเนกขัมมะปัญญาวิริยะขันติสัจจะอธิษฐานเมตตาอุเบกขาอันเป็นปฏิปทาอันยิ่งยวดคือความดีที่บำเพ็ญอย่างพิเศษเพื่อบรรลุซึ่งจุดหมายอันสูงสุด วิริยะ วิริยะในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

     วิริยารัมภกถาเป็นถ้อยคำที่ชักนำให้ปรารภความเพียรหรือก็คือข้อ๕ในกถาวัตถุ๑๐นั่นเองค่ะ วิริยะ วิริยะ

     วิริยารัมภะหมายถึงการปรารภความเพียรคือลงมือทำความเพียรอย่างเข้มแข็งเด็ดเดี่ยว วิริยะ วิริยะ

     วิสวณิชชาหมายถึงการค้าขายยาพิษซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้ใช้รวมทั้งสารเคมีที่อันตรายต่อชีวิตคนสัตว์มิจฉาวาณิชา

     วิสุทธิ๗เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ้นไปเพื่อบรรลุนิพพานเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาดังบรรยายในรถวินีตสูตรเปรียบวิสุทธิ๗ว่าเสมือนรถเจ็ดผลัดส่งต่อกันให้บุคคลถึงที่หมายสามารถเปรียบเทียบไตรสิกขาวิสุทธิ๗ญาณ๑๖ปาริสุทธิศีล๔และสมาธิได้ดังนี้อธิศีลสิกขาศีลวิสุทธิ๑ปาฏิโมกขสังวรศีล๒อินทรียสังวรศีล๓อาชีวปาริสุทธิศีล๔ปัจจัยสันนิสิตศีลอธิจิตตสิกขาจิตตวิสุทธิอุปจารสมาธิอัปปนาสมาธิในฌานสมาบัติอธิปัญญาสิกขาทิฏฐิวิสุทธิ๑นามรูปปริจเฉทญาณกังขาวิตรณวิสุทธิ๒นามรูปปัจจัยปริคคหญาณมัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ๓สัมมสนญาณ๔อุทยัพพยานุปัสสนาญาณที่ยังเป็นวิปัสสนาญาณอย่างอ่อน(ตรุณอุทยัพพยญาณ)ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ๔อุทยัพพยานุปัสสนาญาณที่เจริญขึ้น(พลวอุทยัพพยญาณ)๕ภังคานุปัสสนาญาณ๖ภยตูปัฏฐานญาณ๗อาทีนวานุปัสสนาญาณ๘นิพพิทานุปัสสนาญาณ๙มุจจิตุกัมยตาญาณ๑๐ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ๑๑สังขารุเบกขาญาณ๑๒สัจจานุโลมิกญาณญาณทัสสนวิสุทธิ๑๓โคตรภูญาณ๑๔มัคคญาณ๑๕ผลญาณ๑๖ปัจจเวกขณญาณ วิสุทธิ วิสุทธิ

     วิหารคืออาคารที่ประดิษฐานพระพุทธรูปคล้ายเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้าคู่กับอุโบสถแต่ไม่มีวิสุงคามเหมือนพระอุโบสถคำว่าวิหารแต่เดิมใช้ในความหมายว่าวัดเช่นเดียวกับคำว่าอารามอาวาสเช่นเวฬุวันวิหารเชตวันมหาวิหารวิหารมีหลายแบบเช่นวิหารคดคือวิหารที่มีลักษณะคดอยู่ตรงมุมกำแพงแก้วของอุโบสถอาจมีหลังเดียวก็ได้โดยมากจะมี๔มุมและประดิษฐานพระพุทธรูปไว้ภายในวิหารทิศคือวิหารที่สร้างออกทั้ง๔ด้านของพระสถูปเจดีย์อาจอยู่ตรงมุมหรือด้านข้างวิหารยอดคือวิหารที่มียอดเป็นรูปทรงต่างๆเช่นวิหารยอดเจดีย์อาจอยู่ตรงมุมหรือด้านข้างวิหารหลวงคือวิหารที่ด้านท้ายเชื่อมต่อกับพระสถูปเจดีย์หรือพระปรางค์คำว่าวิหารยังกำหนดใช้เป็นคำลงท้ายสร้อยนามพระอารามหลวงต่างๆเพื่อแสดงให้รู้ว่าวัดที่มีสร้อยนามอย่างนี้เป็นพระอารามหลวงสำคัญอีกด้วยค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิหาร วิหาร

     วิเวกในทางพระพุทธศาสนาหมายถึงความสงัดความปลีกออกเป็นความสงัดกายสงัดใจและสงบอุปธิทั้งปวง วิเวก วิเวก



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ