ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
เวทนา๕แบ่งการเสวยอารมณ์ออกเป็นห้าอย่างคือ๑สุขหมายถึงความสุขความสบายทางกาย๒ทุกข์หมายถึงความทุกข์ความไม่สบายความเจ็บปวดทางกาย๓โสมนัสหมายถึงความแช่มชื่นปลื้มใจสุขใจอันเกิดจากสุขจึงเกิดโสมนัส๔โทมนัสหมายถึงความเสียใจความเศร้าโศกเศร้าหมองทุกข์ใจอันเกิดจากทุกข์จึงเกิดโทรมนัส๕อุเบกขาหมายถึงความรู้สึกเฉยๆไม่สุขไม่ทุกข์
เวทนา
เวทนา
เวทนา
เวทนา
การเสวยอารมณ์เป็นห้า
เวทนา๖แบ่งการเสวยอารมณ์ออกเป็นหกอย่างคือ๑จักษุสัมผัสชาเวทนาหมายถึงเวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางตา๒โสตสัมผัสชาเวทนาหมายถึงเวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางหู๓ฆานสัมผัสชาเวทนาหมายถึงเวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางจมูก๔ชิวหาสัมผัสชาเวทนาหมายถึงเวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางลิ้น๕กายสัมผัสชาเวทนาหมายถึงเวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางกาย๖มโนสัมผัสชาเวทนาหมายถึงเวทนาอันเกิดจากสัมผัสทางใจ
เวทนา
เวทนา
เวทนา
เวทนา
การเสวยอารมณ์เป็นหก
เวสาลีหรือไวศาลีคือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาลมีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของคณะเจ้าลิจฉวีที่มีปกครองแคว้นวัชชีด้วยระบอบคณาธิปไตยแห่งแรกๆของโลกเมืองนี้เป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งในสมัยพุทธกาลเป็นเมืองที่มั่นแห่งสำคัญของพระพุทธศาสนาในสมัยนั้นโดยพระพุทธเจ้าเคยเสด็จเยี่ยมเมืองแห่งนี้ในปีที่๕หลังการตรัสรู้ตามการกราบบังคมทูลเชิญจากเจ้าผู้ครองแคว้นและในช่วงหลังพุทธกาลเมืองแห่งนี้ได้ตกเป็นของแคว้นมคธโดยการนำของพระเจ้าอชาตศัตรูพระราชาแห่งเมืองราชคฤห์และหลังการล่มสลายของราชวงศ์พิมพิสารในเมืองราชคฤห์พระราชาองค์ต่อมาจึงได้ย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธมายังเมืองเวสาลีทำให้เมืองแห่งนี้เจริญถึงขีดสุดและโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองนี้ได้เป็นสถานที่ทำทุติยสังคายนาของพระพุทธศาสนาก่อนที่จะเสื่อมความสำคัญและถูกทิ้งร้างลงเมื่อมีการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองปาฏลีบุตรหรือเมืองปัตนะอันเป็นเมืองหลวงของรัฐพิหารในปัจจุบัน
เวสาลี
เวสาลี
เวสาลี
เวสาลี
เมืองหลวงของคณะเจ้าลิจฉวี
เหอะไม่จริงหรอกค่ะเพราะพระศิวะเป็นเทพที่ชาวฮินดูเริ่มบูชากันในยุคหลังพุทธกาลคือตั้งแต่พศ๘๐๐เป็นต้นมาค่ะ
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆได้๓อย่างคือกิจวัตรคือหน้าที่ที่ควรทำเช่นหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อพระอุปัชฌาย์ต่ออาจารย์จริยาวัตรคือมารยาทที่พึงปฏิบัติเช่นมารยาทในการขอบฉันมารยาทในการจำวัดเป็นต้นวิธีวัตรคือแบบแผนที่พึงปฏิบัติให้ถูกต้องเช่นวิธีครองผ้าวิธีใช้และเก็บบาตรวิธีพับเก็บจีวรเป็นต้นวัตรเป็นธรรมเนียมที่พระสงฆ์ปฏิบัติให้เป็นแบบเดียวกันและสม่ำเสมอแสดงถึงฐานะและความเป็นเอกภาพอันนำมาซึ่งความเลื่อมใสแก่ผู้พบเห็น
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วัตร
วัตร
แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรงที่จะละเว้นไม่ได้ไม่ว่ากรณีใดๆก็ตามแต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้นอาจมีกรณีจำเป็นบางอย่างทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่นพระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณีๆไปตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎกซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดาแต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน๗วันการออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่าสัตตาหกรณียะซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่นการไปรักษาพยาบาลหาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วยเป็นต้นกรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก๕และมารดาบิดาการไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก๕การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์เช่นการไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุดหรือการไปทำสังฆกรรมเช่นสวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาสเป็นต้นหากทายกนิมนต์ไปทำบุญก็ไปให้ทายกได้ให้ทานรับศีลฟังเทสนาธรรมได้กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ก็จะไปค้างไม่ได้ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด๗วันตามพระวินัยก็ถือว่าขาดพรรษาและเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำหรือรับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้และในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้วไม่ถือว่าเป็นอาบัติและสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีกก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะแต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวันเพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้วค่ะ
วันเข้าพรรษา
ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์
ในช่วงไม่นานหลังพุทธปรินิพพานของพระพุทธเจ้าเมืองเวสาลีได้ตกไปอยู่ในอำนาจของแคว้นมคธโดยการนำของพระเจ้าอชาตศัตรูกษัตริย์แห่งราชคฤห์คัมภีร์พระพุทธศาสนากล่าวว่าสาเหตุของการเสียเมืองแก่แคว้นมคธเพราะความแตกสามัคคีของเจ้าวัชชีเพราะการยุยงของวัสสการพราหมณ์พราหมณ์ที่พระเจ้าอชาตศัตรูส่งเป็นไส้สึกเพื่อบ่อนทำลายภายในเมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูยกกองทัพมายึดเมืองจึงสามารถยึดได้โดยง่ายเพราะไม่มีเจ้าวัชชีองค์ใดต่อสู้เพราะขัดแย้งกันเองทำให้แคว้นวัชชีล่มสลายและเมืองเวสาลีหมดฐานะเมืองหลวงแห่งแคว้นและตกไปอยู่ในอำนาจของแคว้นมคธแต่จากเหตุการณ์ย้ายเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธหลายครั้งในช่วงพศ๗๐ที่เริ่มจากอำมาตย์และราษฎรพร้อมใจกันถอดกษัตริย์นาคทัสสก์แห่งราชวงศ์ของพระเจ้าพิมพิสารแห่งราชคฤห์ออกจากพระราชบัลลังก์และยกสุสูนาคอำมาตย์ซึ่งมีเชื้อสายเจ้าลิจฉวีในกรุงเวสาลีแห่งแคว้นวัชชีเก่าให้เป็นกษัตริย์ตั้งราชวงศ์ใหม่แล้วพระเจ้าสุสูนาคจึงได้ทำการย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธไปยังเมืองเวสาลีอันเป็นเมืองเดิมของตนทำให้เมืองเวสาลีมีความสำคัญในฐานะเมืองหลวงอีกครั้งแต่ทว่าก็เป็นเมืองหลวงได้ไม่นานเพราะกษัตริย์พระองค์ต่อมาคือพระเจ้ากาลาโศกราชผู้เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุสูนาคได้ย้ายเมืองหลวงของแคว้นมคธอีกจากเมืองเวสาลีไปยังเมืองปาตลีบุตรทำให้เมืองเวสาลีถูกลดความสำคัญลงและถูกทิ้งร้างซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เมืองแห่งนี้ถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิงในช่วงพันปีถัดมา
เวสาลี
เวสาลี
เวสาลี
เวสาลี
แตกสามัคคี
ในทางอภิธรรมมีการกล่าวถึงวิริยะในลักษณะของเจตสิกดังนั้นวิริยเจตสิกเป็นธรรมชาติที่อดทนต่อสู้กับความยากลำบากที่เกี่ยวกับการงานต่างๆทั้งฝ่ายดีและไม่ดีมีความอดทนต่อสู้กับความลำบากเป็นลักษณะมีความอุดหนุนธรรมที่เกิดพร้อมกับตนไม่ให้ถอยหลังเป็นกิจมีการไม่ท้อถอยเป็นผลปรากฏมีความสลดคือสังเวควัตถุ๘เป็นเหตุใกล้หรือมีวิริยารัมภวัตถุ๘เป็นเหตุใกล้จิตและเจตสิกที่เกิดพร้อมกับวิริยเจตสิกนี้ย่อมมีอุตสาหะพากเพียรไม่ท้อถอยเพราะอำนาจของวิริยะนั่นเองที่ช่วยอุดหนุนไว้ส่วนการที่วิริยะจะเกิดขึ้นได้นั้นย่อมเกิดขึ้นได้เพราะอาศัยเหตุที่มีสังเวควัตถุ๘ชาติทุกข์ชราทุกข์พยาธิทุกข์มรณทุกข์นิรยทุกข์เปตติทุกข์อสุรกายทุกข์ดิรัจฉานทุกข์หรือวิริยารัมภวัตถุ๘ค่ะ
วิริยะ
วิริยเจตสิก
ในวันเข้าพรรษาและช่วงฤดูพรรษากาลตลอดทั้ง๓เดือนพุทธศาสนิกชนชาวไทยถือเป็นโอกาสอันดีที่จะบำเพ็ญกุศลด้วยการเข้าวัดทำบุญใส่บาตรฟังพระธรรมเทศนาซึ่งสิ่งที่พิเศษจากวันสำคัญอื่นๆคือมีการถวายหลอดไฟหรือเทียนเข้าพรรษาและผ้าอาบน้ำฝนหรือผ้าวัสสิกสาฏกแก่พระสงฆ์ด้วยเพื่อสำหรับให้พระสงฆ์ได้ใช้สำหรับการอยู่จำพรรษาโดยในอดีตชายไทยที่เป็นพุทธศาสนิกชนเมื่ออายุครบบวชหรืออายุ๒๐ปีจะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดฤดูพรรษากาลทั้ง๓เดือนโดยพุทธศาสนิกชนไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่าบวชเอาพรรษาค่ะ
วันเข้าพรรษา
ประเพณีเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
ทำความดีตลอด
ในศาสนาพุทธคำว่าวิญญาณใช้หมายถึงพิชานคือความรู้แจ้งอารมณ์นอกจากนี้วิญญาณยังปรากฏในหลักธรรมอื่นๆด้วยเช่นวิญญาณขันธ์ในขันธ์๕วิญญาณในปฏิจจสมุปบาทคำว่าวิญญาณยังถือเป็นคำไวพจน์ของคำว่าจิตมีความหมายเหมือนกันใช้แทนกันได้ค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘วิญญาณ_(ศาสนาพุทธ)
วิญญาณ
ในสมัยพุทธกาลพระพุทธเจ้าเคยเสด็จมาที่เวสาลีหลายครั้งแต่ละครั้งจะทรงประทับที่กูฏาคารศาลาป่ามหาวันเป็นส่วนใหญ่พระสูตรหลายพระสูตรเกิดขึ้นที่เมืองแห่งนี้และที่กูฏาคารศาลานี่เองที่เป็นที่ๆพระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรีพระน้านางของพระพุทธองค์พร้อมกับบริวารสามารถอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้เป็นครั้งแรกในโลกและในการเสด็จครั้งสุดท้ายของพระพุทธองค์พระองค์ได้ทรงรับสวนมะม่วงของนางอัมพปาลีนางคณิกาประจำเมืองเวสาลีซึ่งนางได้อุทิศถวายเป็นอารามในพระพุทธศาสนาพระพุทธองค์ได้ทรงจำพรรษาสุดท้ายที่เวฬุวคามและได้ทรงปลงอายุสังขารที่ปาวาลเจดีย์และเมื่อหลังพุทธปรินิพพานแล้วได้๑๐๐ปีได้มีการทำสังคายาครั้งที่๒ณวาลิการามซึ่งทั้งหมดล้วนอยู่ในเมืองเวสาลี
เวสาลี
เวสาลี
เวสาลี
เวสาลี
อุปสมบทภิกษุณีครั้งแรก
ไวยาวัจกรอ่านว่าไวยาวัดจะกอนแปลว่าผู้ขวนขวายช่วยทำกิจของสงฆ์
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ไวยาวัจกร
ไวยาวัจกร
ไวยาวัจกร
ไวยาวัจกร
ผู้ช่วยทำกิจสงฆ์
ตามหลักพระพุทธศาสนาศรัทธาหรือสัทธาหมายถึงความเชื่อความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผลค่ะศรัทธาในศาสนาพุทธศรัทธาศรัทธาศรัทธาความเชื่อที่ประกอบด้วยเหตุผล
ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนามีสี่อย่างค่ะศรัทธาในศาสนาพุทธศรัทธาศรัทธาศรัทธามีสี่อย่าง
ศีลธรรมหมายถึงความประพฤติที่ดีที่ชอบทั้งศีลและธรรมในคำวัดหมายถึงเบญจศีลและเบญจธรรมคือศีล๕และธรรม๕ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์ของสังคมระดับต้นสำหรับให้สมาชิกสังคมประพฤติปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบสุขไม่สดุ้งกลัวไม่หวาดระแวงภัยเป็นหลักประกันสังคมที่สำคัญสังคมที่สงบสุขไว้วางใจกันได้เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันไม่เบียดเบียนไม่ทะเลาะไม่กดขี่ข่มเหงไม่เอารัดเอาเปรียบกันเป็นต้นก็เพราะสมาชิกของสังคมยึดมั่นอยู่ในหลักศีลธรรมนี้พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ศีลธรรมศีลธรรมศีลธรรมศีลธรรมชอบทั้งศีลและธรรม
ศีลวิสุทธิหรือความหมดจดแห่งศีลคือการถือศีลอย่างไม่งมงายละสีลัพพัตตปรามาสด้วยการมีศรัทธาพละสมดุลกับปัญญาพละไม่ศรัทธาจนถืออย่างไม่เข้าใจหรือมีปัญญามากเกิดความลังเลสงสัยได้แต่ถือแต่ใจกลับไม่มีศรัทธาศีลวิสุทธิศีลวิสุทธิศีลวิสุทธิศีลวิสุทธิความหมดจดแห่งศีล
เยอะอยู่ค่ะได้แก่พละ๕และอินทรีย์๕คือสัทธาวิริยะสติสมาธิปัญญาสมชีวิธรรม๔คือสมสัทธาสมสีลาสมจาคาสมปัญญาเวสารัชชกรณธรรม๕คือศรัทธาศีลพาหุสัจจะวิริยารัมภะปัญญาอริยวัฑฒิหรืออารยวัฑฒิ๕คือศรัทธาศีลสุตะจาคะปัญญาอริยทรัพย์๗คือศรัทธาศีลหิริโอตตัปปะพาหุสัจจะจาคะปัญญาสัปปุริสธรรมข้อแรกคือสัทธัมมสมันนาคโตประกอบด้วยธรรมเจ็ดประการอันได้แก่มีศรัทธามีหิริมีโอตตัปปะเป็นพหูสูตมีความเพียรอันปรารภแล้วมีสติมั่นคงมีปัญญาจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่จะขึ้นด้วยศรัทธาและมีปัญญากำกับอยู่ด้วยทั้งนั้นเลยทำไมกันน้าาศรัทธาในศาสนาพุทธธรรมะที่เกี่ยวข้องกับศรัทธา
ขออนุญาตยกพุทธพจน์นะคะ"ตถาคตย่อมรู้วาจาที่ไม่จริงไม่แท้ไม่ประกอบด้วยประโยชน์และวาจานั้นไม่เป็นที่รักไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่นตถาคตไม่กล่าววาจานั้นอนึ่งตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริงที่แท้แต่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์และวาจานั้นไม่เป็นที่รักไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่นตถาคตไม่กล่าววาจานั้นอนึ่งตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริงวาจาที่แท้และประกอบด้วยประโยชน์แต่วาจานั้นไม่เป็นที่รักไม่เป็นที่ชอบใจของผู้อื่นในข้อนั้นตถาคตย่อมรู้กาลที่จะพยากรณ์วาจานั้นตถาคตย่อมรู้วาจาที่ไม่จริงไม่แท้ไม่ประกอบด้วยประโยชน์แต่วาจานั้นเป็นที่รักเป็นที่ชอบใจของผู้อื่นตถาคตไม่กล่าววาจานั้นตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริงที่แท้ไม่ประกอบด้วยประโยชน์แต่วาจานั้นเป็นที่รักเป็นที่ชอบใจของผู้อื่นตถาคตไม่กล่าววาจานั้นอนึ่งตถาคตย่อมรู้วาจาที่จริงที่แท้และประกอบด้วยประโยชน์และวาจานั้นเป็นที่รักเป็นที่ชอบใจของผู้อื่นในข้อนั้นตถาคตย่อมรู้กาลที่จะพยากรณ์วาจานั้น"
จากอภัยราชกุมารสูตร(พระไตรปิฎกเล่มที่๑๓)
สัมมาวาจา
พระสังฆราชในประเทศไทยเรียกว่าสมเด็จพระสังฆราชคือประมุขแห่งคณะสงฆ์ซึ่งพระมหากษัตริย์ไทยทรงสถาปนาให้ดำรงตำแหน่งสกลมหาสังฆปริณายกค่ะ
สังฆราชหรือที่เรียกในสังฆมณฑลไทยว่าสมเด็จพระสังฆราชเป็นตำแหน่งที่มีมานานแล้วตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยดังมีหลักฐานจากศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชได้จารึกคำว่าสังฆราชไว้ด้วยสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายกเป็นตำแหน่งสมณะศักดิ์สูงสุดฝ่ายพุทธจักรของคณะสงฆ์ไทยทรงเป็นประธานการปกครองคณะสงฆ์ตำแหน่งนี้น่าจะมีที่มาจากคณะสงฆ์ไทยนำแบบอย่างมาจากลัทธิลังกาวงศ์ซึ่งพ่อขุนรามคำแหงมหาราชได้ทรงอัญเชิญพระเถระผู้ใหญ่ของลังกาที่เชี่ยวชาญในพระไตรปิฎกเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทในประเทศไทยค่ะ
สมเด็จพระสังฆราช
สมเด็จพระสังฆราช
สมเด็จพระสังฆราช
สมเด็จพระสังฆราช
ประมุขแห่งคณะสงฆ์ซึ่งพระมหากษัตริย์ไทยทรงสถาปนา
ภายในอาณาบริเวณสารนาถมีธรรมเมกขสถูปเป็นพุทธสถานขนาดใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดสันนิษฐานว่าบริเวณที่ตั้งของธรรมเมกขสถูปเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาประกาศพระสัจจธรรมเป็นครั้งแรกที่นี่ค่ะ
ภายในอาณาบริเวณสารนาถมีธรรมเมกขสถูปเป็นพุทธสถานขนาดใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดเนื่องจากสันนิษฐานว่าบริเวณที่ตั้งของธรรมเมกขสถูปเป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาประกาศพระสัจจธรรมเป็นครั้งแรกที่นี่ค่ะ
สารนาถ
สารนาถ
สารนาถ
สารนาถ
ธรรมเมกขสถูป
สังฆทานเป็นศัพท์ในพระสูตรเป็นชื่อเรียกการถวายทานแก่พระสงฆ์อย่างหนึ่งที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่ามีอานิสงส์มากดังที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ในทักขิณาวิภังคสูตรว่าการถวายสังฆทานแก่คณะพระสงฆ์มีอานิสงส์มากกว่าการถวายทานเฉพาะเจาะจงแก่พระพุทธเจ้าแม้ยังทรงพระชนม์อยู่การถวายสังฆทานนั้นเข้าใจกันโดยทั่วไปว่าคือการนำถังใส่จตุปัจจัยสีเหลืองไปถวายแก่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งหรือหลายรูปเท่านั้นแต่ความจริงแล้วสังฆทานอาจหมายถึงการถวายปัจจัยวัตถุใดๆก็ได้ที่เป็นประโยชน์แก่คณะสงฆ์โดยส่วนรวมเช่นการถวายกุฏิวิหารหนังสือปากกาจานหรือแม้กระทั่งไม้กวาดแม้จะกล่าวคำถวายหรือไม่กล่าวหรือกล่าวคำถวายเป็นอย่างอื่นแต่อาการแห่งการถวายเป็นการอุทิศให้แก่สงฆ์เพื่อประโยชน์แก่สงฆ์ก็จัดเป็นสังฆทานได้ค่ะทานพิธีที่มีชื่อเรียกอย่างอื่นที่เข้าลักษณะของสังฆทานก็จัดว่าเป็นสังฆทานได้เช่นการตักบาตรการถวายผ้ากฐินการถวายผ้าป่าเป็นต้น
การถวายสังฆทานหมายถึงการถวายสิ่งของจตุปัจจัยวัตถุแก่หมู่พระสงฆ์โดยไม่เลือกระบุถวายเฉพาะเจาะจงแก่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งกล่าวคือถวายเข้าเป็นสิทธิกองกลางแก่คณะสงฆ์ภายในวัดเพื่อคณะสงฆ์จะจัดแบ่งปันแก่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งที่ต้องการหรือเพียงแค่ถวายแก่พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งที่เป็นตัวแทนแห่งสงฆ์หรือถวายโดยมีเจตนาเพื่อบำรุงพระสงฆ์สามเณรโดยไม่เลือกผู้รับก็นับเป็นสังฆทานเช่นกัน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สัมมาทิฏฐิหมายถึงเห็นชอบได้แก่ความรู้อริยสัจ๔หรือเห็นไตรลักษณ์หรือรู้อกุศลและอกุศลมูลกับกุศลและกุศลมูลหรือเห็นปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมข้อแรกของมรรคมีองค์๘สัมมาทิฏฐิ
เห็นชอบคลองธรรมค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘มโนสุจริตสัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิหมายถึงเห็นชอบได้แก่ความรู้อริยสัจ๔หรือเห็นไตรลักษณ์หรือรู้อกุศลและอกุศลมูลกับกุศลและกุศลมูลหรือเห็นปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมข้อแรกของมรรคมีองค์๘ค่ะ
สัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิ
มีความเห็นชอบ
เมืองสวัตถีในสมัยพุทธกาลเป็นเมืองที่ใหญ่พอกับเมืองราชคฤห์และพาราณสีเป็นเมืองศูนย์กลางการค้าขายในสมัยพุทธกาลโดยในสมัยนั้นเมืองสาวัตถีมีพระเจ้าปเสนทิโกศลปกครองร่วมสมัยกับพระเจ้าพิมพิสารนอกจากนี้เมืองสาวัตถีนับว่าเป็นเมืองสำคัญในการเป็นฐานในการเผยแพร่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าที่สำคัญเพราะเป็นเมืองที่พระพุทธเจ้าประทับนานที่สุดถึง๒๕พรรษาเป็นที่ตรัสพระสูตรมากมายและเป็นเมืองที่พระพุทธศาสนามั่นคงที่สุดเพราะมีผู้อุปถัมภ์สำคัญเช่นพระเจ้าปเสนทิโกศลอนาถบิณฑิกเศรษฐีนางวิสาขาเป็นต้น
เมืองสาวัตถีมีความเจริญรุ่งเรืองในฐานะเมืองหลวงของแคว้นโกศลมาแต่ก่อนพุทธกาลในสมัยพุทธกาลเมืองสาวัตถีมีพระเจ้าปเสนทิโกศลปกครองเมืองสาวัตถีในการปกครองของพระเจ้าปเสนทิโกศลมีความสงบและรุ่งเรืองมากเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้พระพุทธเจ้าเสด็จมาประทับจำพรรษาที่เมืองแห่งนี้มากที่สุดกว่า๒๕พรรษาซึ่งต่อมาคัมภีร์พระพุทธศาสนากล่าวว่าพระเจ้าปเสนทิโกศลได้สดับพระธรรมเทศนาจนบรรลุเป็นพระโสดาบันและเป็นองค์อัครพุทธศาสนูปถัมภกที่สำคัญองค์หนึ่งโดยเป็นพระมหากษัตริย์ที่เป็นสหชาติและมีความรักเคารพและมีความสนิทสนมกับพระพุทธองค์มากΡŚŚโดยทรงสร้างมหาสังฆารามถวายคือราชการามมหาวิหารและถึงแม้พระเจ้าปเสนทิโกศลจะศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแรงกล้าแต่ทว่าพระองค์ไม่ได้กีดกั้นผู้นับถือศาสนาอื่นแต่อย่างใดและยังคงให้ความอุปถัมภ์บำรุงศาสนาอื่นเป็นอดีค่ะย่างคุ้นๆเหมือนในหลวงเราเลยเนอะและด้วยพระพุทธองค์ประทับที่เมืองสาวัตถีนานที่สุดนี่แหละค่ะจึงทำให้เป็นเมืองที่เกิดพระสูตรมากมายเช่นมงคลสูตรธรรมนิยามสูตรรวมไปถึงกาลามสูตรที่ตรัสแสดงณเกสปุตตนิคมก็อยู่ในอาณาเขตของแคว้นโกศลด้วย
สาวัตถี
สาวัตถี
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ