ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
เหตุที่ได้ชื่อว่าสารนาถเนื่องมาจากสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาเริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่มหาชนทั้งหลายและบ้างก็ว่ามาจากศัพท์ว่าสารงฺคบวกนารถเท่ากับที่อยู่ของสัตว์จำพวกกวางสารนาถยังรู้จักกันดีในชื่ออิสิปตนมฤคทายวันหรือฤๅษีปัตนมฤคทายวันแปลว่าป่าอันยกให้แก่หมู่กวางและเป็นที่ชุมนุมฤๅษีตามลำดับค่ะ
เหตุที่ได้ชื่อว่าสารนาถเนื่องมาจากสถานที่แห่งนี้เป็นสถานที่พระพุทธเจ้าทรงเริ่มต้นประกาศพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นที่พึ่งแก่มหาชนทั้งหลายบ้างก็ว่ามาจากศัพท์ว่าสารงฺคบวกนารถเท่ากับที่อยู่ของสัตว์จำพวกกวางค่ะ
สารนาถ
สารนาถ
สารนาถ
สารนาถ
ป่าอันยกให้แก่หมู่กวาง
๑สัตถวณิชชาคือการขายอาวุธได้แก่อาวุธปืนอาวุธเคมีระเบิดนิวเคลียร์อาวุธอื่นๆเป็นต้นอาวุธเหล่านี้หากมีเจตนาเพื่อทำร้ายกันจะก่อให้เกิดการทำลายล้างซึ่งกันและกันโลกจะไม่เกิดสันติสุข๒สัตตวณิชชาหมายถึงการค้าขายมนุษย์ได้แก่การค้าขายเด็กการค้าทาสตลอดจนการใช้แรงงานเด็กและสตรีอย่างทารุณรวมถึงการขายตัวหรือขายบริการทางเพศทั้งของตัวเองและผุ้อื่น๓มังสวณิชชาหมายถึงค้าขายสัตว์เป็นสำหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหารเป็นการส่งเสริมให้ทำผิดศีลข้อที่คือการฆ่าสัตว์ตัดชีวิต๔มัชชวณิชชาหมายถึงการค้าขายน้ำเมาตลอดจนการค้าสารเสพติดทุกชนิดรวมถึงการเสพเอง๕วิสวณิชชาหมายถึงการค้าขายยาพิษซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้ใช้รวมทั้งเป็นอันตรายต่อสัตว์
๑ค้าอาวุธ๒ค้ามนุษย์๓ค้าชีวิต๔ค้าสุรายาเสพติดของมึนเมา๕ค้ายาพิษ
สัมมาอาชีวะ
สัมมาอาชีวะ
การที่จะมองเห็นสิ่งทั้งหลายอย่างถูกต้องตามที่มันเป็นได้นั้นจะต้องใช้โยนิโสมนสิการคือขณะนั้นความนึกคิดดำริต่างๆจะต้องปลอดโปร่งมีอิสระไม่มีทั้งความชอบใจความยึดติดพัวพันและความไม่ชอบใจเป็นปฏิปักษ์ต่างๆด้วยนั่นคือจะต้องมีสัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะซึ่งองค์ประกอบทั้งสองอย่างนี้ส่งเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกันค่ะ
สัมมาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
โยนิโสมนสิการ
การที่จะเป็นสังฆทานหรือไม่นั้นมีหลักสำคัญอยู่ที่การถวายสิ่งของเพื่อบำรุงสังฆบริษัทหรือตัวแทนแห่งสังฆบริษัทเพื่อประโยชน์ในด้านการไม่เลือกปฏิบัติและความเท่าเทียมด้านปัจจัยสี่ของพระสงฆ์นั่นเองมีข้อควรพิจารณาประการหนึ่งว่าในพระวินัยถือว่าภิกษุสงฆ์๔รูปขึ้นไปนับเป็นองค์สงฆ์แต่เมื่อพิจารณาจากเจตนาของพระพุทธเจ้าในทักขิณาวิภังคสูตรแล้วหากแม้จะเป็นพระภิกษุถึง๔รูปแต่เป็นพระที่ผู้ถวายเจาะจงระบุตัวมาก็หานับว่าเป็นสังฆทานไม่ค่ะ
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
เพื่อบำรุงสังฆบริษัท
การสวดฉันท์ทำนองสรภัญญะมีมานานตั้งแต่สมัยรัชกาลที่๔ก่อนหน้านั้นนิยมสวดฉันท์ภาษาบาลีมีเนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและผู้สวดส่วนใหญ่เป็นพระสงฆ์ทำนองสรภัญญะไม่แพร่หลายนักต่อมาพระยาศรีสุนทรโวหารแปลบทสรรเสริญคุณต่างๆเป็นฉันท์ภาษาไทยเรียกคำนมัสการคุณานุคุณมี๕ตอนคือบทสรรเสริญพระพุทธคุณบทสรรเสริญพระธรรมคุณบทสรรเสริญพระสังฆคุณบทสรรเสริญมาตาปิตุคุณและบทสรรเสริญอาจาริยคุณตามลำดับบทประพันธ์นี้ได้รับความนิยมมากที่สุดในปัจจุบันใช้สวดกันโดยทั่วไปและเนื่องจากบาทแรกเริ่มว่าองค์ใดพระสัมพุทธจึงมักเรียว่าบทสวดองค์ใดพระสัมพุทธ
สรภัญญะ
สรภัญญะ
สรภัญญะ
สรภัญญะ
รัชกาลที่๔
การแบ่งเนื้อหาภายในคัมภีร์สุตตวิภังค์อาจแบ่งตามสิกขาบทของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ได้เป็นสองคือ๑มหาวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบทมาในพระปาติโมกข์ของพระภิกษุสงฆ์๒ภิกขุณีวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบทมาในพระปาติโมกข์ของพระภิกษุณีสงฆ์นอกจากนี้อาจแบ่งเนื้อหาในคัมภีร์สุตตวิภังค์ตามคัมภีร์วิชรสารัตถะสังคหะได้อีกแบบหนึ่งคือ๑อาทิกัมมิกะหรือปาราชิกว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับพระภิกษุสงฆ์ที่เป็นอาบัติหนักทั้งหมดตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต๒ปาจิตตีย์ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับพระภิกษุสงฆ์ที่เป็นอาบัติเบาตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยวัตรรวมถึงเนื้อหาอาบัติของพระภิกษุณีสงฆ์ในภิกขุณีวิภังค์ทั้งหมด
สุตตวิภังค์
สุตตวิภังค์
กิจกรรมหรืองานที่ต้องทำเป็นสังฆกรรมได้แก่การทำปาฏิโมกข์การปวารณาการสมมุติสีมาการให้ผ้ากฐินการอุปสมบทเป็นต้น
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆกรรม
สังฆกรรม
สังฆกรรม
สังฆกรรม
กิเลสที่ยังหลงเหลืออยู่ในจิตใจของพระอนาคามี
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล
สังโยชน์เบื้องสูง
สังโยชน์
สังโยชน์
เบื้องสูง
กุศลวิตก๓ประการของสัมมาสังกัปปะนี้ไม่กระทำความมืดมนกระทำปัญญาจักษุกระทำญาณยังปัญญาให้เจริญไม่เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความคับแค้นเป็นไปเพื่อนิพพานค่ะ
สัมมาสังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะ
เป็นไปเพื่อนิพพาน
ก็คือการประพฤติตนเป็นคนเที่ยงแท้มั่นคงต่อความดีไม่หันเหไปในทางชั่วไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานการณ์เช่นไรในทางปฏิบัติการจะมีสัจจะต่อความดีได้นั้นต้องคิดให้เห็นถึงคุณความดีได้อย่างแจ่มแจ้งและเห็นโทษของความชั่วได้ชัดเจนพยายามรักษาความดีในตนไว้ถ้าเป็นฆราวาสก็ต้องละกรรมกิเลส๔อคติ๔อบายมุข๖และต้องปรับความเห็นของตนให้ถูกให้เป็นสัมมาทิฏฐิให้ได้หากเป็นพระก็ต้องรักษาสิกขาวินัยสืบทอดพระพุทธศาสนาหากเป็นฆราวาสก็ต้องทำมาหากินตั้งตนให้ได้สร้างหลักฐานให้กับวงศ์ตระกูลใครจะอยู่ในหน้าที่อะไรก็ต้องพยายามหาดีของตนให้ได้หากหาดีนอกทางเสียแล้วก็จะเสียความจริงต่อความดี
สัจจะ
สัจจะ
สัจจะ
สัจจะ
ต่อความดี
ก็ต้องนี่เลยค่ะปรโตโมสะกับโยนิโสมนสิการ
สัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิ
สัมมาทิฏฐิ
ปรโตโมสะกับโยนิโสมนสิการ
ปรโตโมสะกับโยนิโสมนสิการ
ก็เพราะว่าการกล่าวสัมโมทนียกถานั้นเป็นเหตุให้ผู้ทำบุญนั้นเกิดความแช่มชื่นเบิกบานเกิดความอิ่มใจในผลบุญที่ตนทำและปรารถนาจะทำบุญเพิ่มพูนยิ่งๆขึ้นไปอีกน่ะค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัมโมทนียกถา
สัมโมทนียกถา
ก่อนที่ผู้หญิงจะบวชเป็นภิกษุณีได้นั้นต้องบวชเป็นสิกขมานาเสียก่อนสิกขมานาเป็นสามเณรีที่ต้องถือศีล๖ข้ออย่างเคร่งครัดเป็นเวลา๒ปีหากศีลขาดแม้แต่ข้อเดียวจะต้องเริ่มนับเวลาใหม่การบวชเป็นสิกขมานาจะบวชได้ต้องอายุครบ๑๘ปีเพราะว่าคนที่จะบวชเป็นภิกษุณีได้นั้นต้องอายุครบ๒๐แต่สำหรับหญิงที่แต่งงานแล้วพระพุทธองค์อนุญาตให้บวชเป็นสิกขมานาได้ตั้งแต่อายุ๑๒เพราะว่าคนที่แต่งงานจะได้เรียนรู้ความยากลำบากของชีวิตรู้จักสุขทุกข์เมื่อรู้จักทุกข์ก็จะรู้จักสมุทัยนิโรธมรรคได้จนนำไปสู่การบรรลุในที่สุดค่ะ
สิกขมานา
สิกขมานา
ก่อนอัญเชิญพระพุทธรูปไปประดิษฐานที่สรงน้ำชั่วคราวให้กล่าวขอขมาเพื่อไม่ให้เกิดโทษโดยการตั้งนะโม๓จบและตามด้วย"ระตะนัตตะเยปะมาเทนะทะวารัตตะเยนะกะตังสัพพังอะปะราธังขะมะตุโนภันเต"แล้วจึงอัญเชิญพระพุทธรูปไปยังที่ประดิษฐานชั่วคราวค่ะ
ก่อนเริ่มสรงน้ำพระพุทธรูปด้วยน้ำสะอาดที่ปรุงด้วยเครื่องหอมนั้นให้ตั้งนะโม๓จบและตามด้วย"อิมินาสิญฺจะเนเนวะโรโคโสโกอุปัททะโวนิพพันตุสัพพะโสเอเตสุขีโหนตุนิรันตะรัง"เพื่อกล่าวคำอธิษฐานแล้วค่อยตักน้ำสรงพระพุทธรูปต่อไปค่ะ
ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก
สรงน้ำพระ
สรงน้ำพระ
สรงน้ำพระ
นะโม๓จบ
ขั้นตอนการสรงน้ำพระที่บ้านถวายเครื่องเถราภิเษก
เริ่มจากอัญเชิญพระพุทธรูปขึ้นมาเช็ดทำความสะอาดเบื้องต้นด้วยผ้าผืนใหม่หรือฟองน้ำสะอาดทีละองค์ถ้าหากเป็นกรอบรูปก็ให้ใช้ฟองน้ำชุบน้ำบิดหมาดแล้วเช็ดให้เกลี้ยงเกลา
จากนั้นอัญเชิญพระพุทธรูปทั้งหมดไปประดิษฐานไว้ที่พานโดยมีถาดรองบนโต๊ะที่ประดิษฐานชั่วคราวพร้อมทั้งประดับประดาโต๊ะด้วยดอกไม้หอมกลีบดอกไม้และพวงมาลัยให้สวยงาม
ต่อมาก็เตรียมเครื่องหอมโดยการโรยดอกไม้หอมพวงมาลัยน้ำหอมน้ำอบหรือน้ำปรุงใส่ในขันน้ำสะอาดไว้สำหรับสรงน้ำพระ
หลังจากนั้นก็หันมาทำความสะอาดที่ประดิษฐานองค์พระประจำบ้านเช่นหิ้งพระโต๊ะหมู่บูชาและสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับที่ประดิษฐานองค์พระให้สะอาดสะอ้าน
ขั้นตอนสุดท้ายก็ถึงเวลาที่ทุกคนในบ้านต้องมาตั้งจิตอธิฐานและร่วมสรงน้ำพระไปพร้อมๆกันโดยการนำขันน้ำที่ใส่เครื่องหอมเตรียมไว้มาสรงที่พระพุทธรูปให้ครบทุกองค์พร้อมกับกล่าวขอขมาค่ะ
ขอบคุณข้อมูลดีๆจาก
สรงน้ำพระ
สรงน้ำพระ
สรงน้ำพระ
ขอขมา
คนทั่วไปนำเอาคำสังฆกรรมมาใช้ในความหมายว่าการร่วมกันกระทำกิจกรรมกล่าวเข้าใจง่ายๆก็คือการที่ไม่มีใครคบค้าสมาคมด้วยหรือไม่มีใครอยากร่วมสังสรรค์ด้วยเราเรียกว่าไม่ร่วมสังฆกรรมกันไงคะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆกรรม
สังฆกรรม
สังฆกรรม
สังฆกรรม
ความดำริหรือแนวความคิดแบบมิจฉาสังกัปปะนี้เป็นเรื่องปรกติของคนส่วนมากเพราะตามธรรมดานั้นเมื่อปุถุชนรับรู้อารมณ์ก็จะเกิดความรู้สึกหนึ่งในสองอย่างคือถูกใจซึ่งก็จะชอบติดใจหรือไม่ถูกใจก็จะไม่ชอบมีขัดเคืองตามมาจากนั้นความดำรินึกคิดต่างๆก็จะดำเนินไปตามแรงผลักดันของความชอบและไม่ชอบนั้นความดำริหรือความนึกคิดที่เอนเอียงเช่นนี้เกิดขึ้นเพราะมองสิ่งต่างๆอย่างผิวเผินรับรู้อารมณ์เข้ามาทั้งดุ้นโดยขาดสติสัมปชัญญะแล้วปล่อยความนึกคิดให้แล่นไปตามความรู้สึกหรือตามเหตุผลที่มีความชอบใจไม่ชอบใจเป็นตัวนำไม่ได้ใช้ความคิดแยกแยะส่วนประกอบและความคิดสืบสาวสอบค้นเหตุปัจจัยตามหลักโยนิโสมนสิการ
สัมมาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มิจฉาสังกัปปะ
มองอย่างผิวเผิน
ความยึดมั่นถือมั่นในศีลข้อสำรวมระวังไม่ล่วงละเมิดและพรตข้อที่พึงถือปฏิบัติแต่เป็นการยึดมั่นด้วยอำนาจกิเลสอย่างความเชื่อหรือการปฏิบัติที่ทำตามๆกันมาแต่ไม่ถูกต้องโดยงมงายด้วยอวิชชาเช่นการพ้นทุกข์ได้โดยถือศีลแต่ฝ่ายเดียวไม่ต้องปฏิบัติวิปัสสนาให้เกิดปัญญาการปฏิบัติแต่สมาธิแล้วจะบรรลุมรรคผลต่างๆจากสมาธิโดยตรงจึงขาดการวิปัสสนาการอ้อนวอนบนบานสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆนาๆการทรมานตนเพื่อบรรลุธรรมการคล้องพระเพื่อคงกระพันโชคลาภหรือย่างการทำบุญแต่ฝ่ายเดียวเพื่อหวังมรรคผลล้างบาปได้ค่ะ
สีลัพพตุปาทาน
ความสงบระงับสังขารทั้งปวงหมายถึงพระนิพพานสัพพสังขารสมถะ
ความเชื่อในทางพระพุทธศาสนาก็อาจถือว่าเป็นศีลพรตในสีลัพพตปรามาสได้กล่าวคือความยึดมั่นถือมั่นว่าการบำเพ็ญศีลในทางพระพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ์ของตนว่าเป็นสิ่งประเสริฐจนละเลยการปฏิบัติทางด้านจิตใจและความเชื่ออย่างยึดมั่นถือมั่นว่าการบำเพ็ญเพียงแต่ศีลในพระพุทธศาสนาตามที่ตนยึดถือเพียงอย่างเดียวจะช่วยให้เป็นผู้บริสุทธิ์ได้เช่นความเชื่อว่าการถือศีลจะช่วยให้คนบริสุทธิ์ซึ่งรวมไปถึงความเชื่อในการทานเจหรือการปิดวาจาหรือความเชื่อในอำนาจอิทธิฤทธิ์บันดาลของพระพุทธรูปหรือพระสงฆ์เป็นต้น
สีลัพพตปรามาส
สีลัพพตปรามาส
คัมภีร์สุตตวิภังค์มีคัมภีร์อรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกาอรรถกถาพระวินัยภาค๑ถึง๒และมีคัมภีร์ฎีกาขยายความอรรถกถาชื่อฎีกาสารัตถทีปนีฎีกาพระวินัยภาค๑ถึง๓
สุตตวิภังค์
สุตตวิภังค์
คัมภีร์สุตตวิภังค์หรือวิภังค์เป็นคัมภีร์หนึ่งในพระวินัยปิฎกเถรวาทมีเนื้อหาครอบคลุมพระไตรปิฎกเล่มที่๑ถึง๓ว่าด้วยสิกขาบทในพระปาติโมกข์ของพระภิกษุสงฆ์และพระภิกษุณีสงฆ์ซึ่งเป็นอาทิพรหมจาริยกาสิกขาการจัดแบ่งดังกล่าวเป็นการแบ่งของสมาคมบาลีปกรณ์ของอังกฤษซึ่งแบ่งพระวินัยปิฎกออกเป็นสามหมวดคือสุตตวิภังค์ขันธกะและปริวารค่ะ
สุตตวิภังค์
สุตตวิภังค์
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ