| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     สักกะเป็นชื่อของกษัตริย์ในราชวงศ์ศากยะหรือศากยวงศ์ซึ่งครอบครองเมืองกบิลพัสดุ์อันเป็นเมืองที่ประสูติของพระพุทธเจ้าสักกะศากยะสากิยะทั้งสามคำมีความหมายอย่างเดียวกันและใช้แทนกันได้ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สักกะ สักกะ ศากยวงศ์ สักกะ วงศ์

     สักกะแปลว่าผู้องอาจผู้สามารถค่ะ สักกะ สักกะ สักกะ สักกะ

     สักการะใช้หมายถึงการกระทำที่ดีการกระทำอย่างดีอย่างพร้อมูลคือการต้อนรับการให้เกียรติการแสดงความเคารพนับถือการบูชาด้วยสิ่งหรือเครื่องอันพึงบูชาเช่นดอกไม้อาหารเป็นต้นและยังหมายถึงสิ่งของหรือปัจจัย๔มีอาหารเป็นต้นที่ปรุงหรือจัดแต่งอย่างประณีตบรรจงสวยงามอันเป็นเครื่องบูชาชั้นดีซึ่งเรียกว่าเครื่องสักการะก็ได้เป็นการแสดงออกถึงความเคารพนับถืออย่างสูงต่อบุคคลหรือสิ่งที่ควรเคารพนับถือเป็นการกระทำที่ชอบและสิ่งที่เรียกว่าเครื่องสัการะนั้นนิยมจัดแต่งอย่างดีพร้อมบริบูรณ์อีกทั้งเป็นการบูชาและเป็นเครื่องบูชาอย่างหนึ่งจึงนิยมเรียกต่อกันว่าสักการบูชาและเครื่องสักการบูชาค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สักการะ สักการะ สักการะ สักการะ

     สังกัสสะคือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาลมีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองที่เสด็จลงจากดาวดึงส์เทวโลกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหลังจากที่พระองค์เสด็จไปทรงจำพรรษาที่๗หลังการตรัสรู้ณดาวดึงส์เพื่อทรงแสดงพระอภิธรรมปิฎกโปรดพระพุทธมารดาปัจจุบันสังกัสสะตั้งอยู่ที่หมู่บ้านสังกิสสะบะสันตะปุระในจังหวัดฟารุกาหบาทรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดียเมืองแห่งนี้ไม่ค่อยมีผู้แสวงบุญไปจาริกเท่าใดนักเนื่องจากการเดินทางไปยังหมู่บ้านแห่งนี้ในปัจจุบันเป็นไปด้วยความยากลำบาก สังกัสสะ สังกัสสะ สังกัสสะ สังกัสสะ เมืองโบราณในสมัยพุทธกาล

     สังขารขันธ์ในทางพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น๓๑กายสังขารการปรุงแต่งกายคือลมหายใจหมายเอาการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายในอิริยาบถต่างๆ๒วจีสังขารการปรุงแต่งวาจาคือวิตกการตรึกวิจารการตรองหมายถึงการคิดปรุงแต่งต่างๆ๓จิตสังขารการปรุงแต่งจิตคือเจตสิกได้แก่อารมณ์ต่างๆที่ปรุงแต่งจิตให้มีอาการเป็นไปต่างๆ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังขาร สังขาร สังขาร สังขาร แบ่งออกเป็น

     สังขารหมายถึงร่างกายตัวตนสสารสิ่งที่ประกอบกันขึ้นหรือถูกปรุงแต่งขึ้นจากธาตุ๔สังขารในความหมายนี้แบ่งเป็น๒คือสังขารมีใจครองหรืออุปาทินนกสังขารคือสิ่งมีชีวิตมีจิตวิญญาณสามารถเคลื่อนไหวรับจำคิดรู้อารมณ์ได้ได้แก่มนุษย์อมนุษย์สัตว์ดิรัจฉานและสังขารไม่มีใจครองหรืออนุปาทินนกสังขารคือสิ่งมีชีวิตไม่มีจิตวิญญาณจำได้แต่คิดไม่ได้สังขารในความหมายนี้จัดเป็นรูปขันธ์ในขันธ์๕มิใช่สังขารขันธ์และมีลักษณะเสมอกันโดยเป็นอนิจจังทุกขังอนัตตาค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังขาร สังขาร สังขาร สังขาร ไตรลักษณ์

     สังขารในที่นี้คือเจตสิกที่ปรุงแต่งจิตอันเป็น๑ในปรมัตถธรรม๔คือจิตเจตสิกรูปนิพพานค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังขาร สังขาร สังขาร สังขาร ปฏิจจสมุปบาท

     สังคหวัตถุหมายถึงหลักการครองใจคนหลักยึดเหนี่ยวใจกันไว้วิธีทำให้คนรักหลักสังคมสงเคราะห์ซึ่งเป็นเครื่องประสานใจและเหนี่วรั้งใจคนให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันได้และทำให้อยู่กันด้วยความรักความปรารถนาดีต่อกันเหมือนลิ่มสลักรถที่ตรึงตัวรถไว้มิให้ชิ้นส่วนกระจายไปทำให้รถแล่นไปได้ตามที่ต้องการ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังคหวัตถุ_ สังคหวัตถุ๔ สังคหวัตถุ สังคหวัตถุ๔ ทำให้คนรัก

     สังคหวัตถุแปลว่าธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กันธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังคหวัตถุ_ สังคหวัตถุ๔ สังคหวัตถุ สังคหวัตถุ๔ ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน

     สังคหวัตถุมีสี่ประการคือ๑ทานการให้การเสียสละการแบ่งปันเพื่อประโยชน์แก่คนอื่นช่วยปลูกฝังให้เป็นคนที่ไม่เห็นแก่ตัวแบ่งปันกัน๒ปิยะวาจาการพูดจาด้วยถ้อยคำไพเราะอ่อนหวานจริงใจไม่พูดหยาบคายก้าวร้าวพูดในสิ่งที่เป็นประโยชน์เหมาะกับกาลเทศะพูดดีต่อกัน๓อัตถจริยาช่วยเหลือกัน๔สมานัตตาการเป็นผู้มีความสม่ำเสมอโดยประพฤติตัวให้มีความเสมอต้นเสมอปลายวางตัวดีต่อกัน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังคหวัตถุ_ สังคหวัตถุ๔ สังคหวัตถุ สังคหวัตถุ๔ ให้พูดช่วยเหลือสม่ำเสมอ

     สังฆกรรมตามพระธรรมวินัยมี๔อย่างคือ๑อปโลกนกรรมการปรึกษาหารือ๒ญัตติสวดเผดียงสงฆ์การประชุมที่มีการสวดตั้งเรื่องที่จะประชุมเช่นการสวดพระปาฏิโมกข์๓ญัตติทุติยกรรมวาจาสวดตั้งญัตติและสวดอนุสาวนาถามความเห็นที่ประชุมเช่นการสวดกฐิน๔ญัตติจตุตถกรรมวาจาสวดตั้งญัตติและสวดกรรมวาจาถงสามครั้งเช่นการให้อุปสมบท พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆกรรม สังฆกรรม สังฆกรรม สังฆกรรม มี๔อย่าง

     สังฆกรรมหมายถึงกิจกรรมทางพระวินัยที่ภิกษุจำนวน๔รูปขึ้นไปซึ่งถือว่าเป็นสงฆ์จะพึงร่วมกันทำเป็นสังฆสามัคคีในการทำสงฆ์จะต้องพร้อมเพรียงกันทำต้องทำในเขตสีมาที่เรียกว่าอุโบสถหรือโบสถ์ต้องนั่งให้ได้หัตถบาทอยู่ในที่ประชุมตลอดเวลาที่ทำเวลามีมติต้องเป็นเอกฉันท์โดยใช้วิธีเงียบหรือรับว่าสาธุและเป็นไปโดยถูกต้องเป็นธรรมไม่มีอคติเช่นนี้จึงจะเป็นสังฆกรรมแท้ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆกรรม สังฆกรรม สังฆกรรม สังฆกรรม

     สังฆกรรมแปลว่ากรรมอันสงฆ์พึงทำค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆกรรม สังฆกรรม สังฆกรรม สังฆกรรม

     สังฆาฏิแปลว่าผ้าซ้อนนอกผ้าทาบค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆาฏิ สังฆาฏิ สังฆาฏิ สังฆาฏิ

     สังวาสแปลว่าการอยู่ร่วมกันการอยู่ด้วยกันธรรมเป็นเครื่องครองอยู่เสมอกัน พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังวาส สังวาส สังวาส สังวาส การอยู่ร่วมกัน

     สังวาสในคำวัดใช้หมายถึงการที่ภิกษุเป็นอยู่ขบฉันร่วมอุโบสถร่วมสังฆกรรมกันกับภิกษุอื่นๆมี๒อย่างคือการอยู่ร่วมกับภิกษุที่อุปสมบทแบบเดียวกันเรียกว่าสมานสังวาสการอยู่ร่วมกันกับภิกษุที่อุปสมบทต่างแบบกันเรียกว่านานาสังวาสเช่นภิกษุหินยานด้วยกันหรือภิกษุมหายานด้วยกันถือเป็นสมานสังวาสของกันและกันแต่ภิกษุที่เป้นหินยานกับภิกษุที่เป็นมหายานถือว่าเป็นนานาสังวาสกันค่ะในคำไทยเองใช้หมายถึงการร่วมประเวณีการมีเพศสัมพันธ์ก็มีนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังวาส สังวาส สังวาส สังวาส ภิกษุร่วมสังฆกรรม

     สังเวชนียสถานอ่านว่าสังเวชะนียะสะถานแปลว่าสถานที่อันเป็นที่ตั้งแห่งความสังเวชเป็นคำที่ใช้เรียกสถานที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธเจ้าโดยเฉพาะค่ะ สังเวชนียสถาน สังเวชนียสถาน สังเวชนียสถาน สังเวชนียสถาน

     สังเวชนียสถาน๔แห่งนี้ท่านว่าเป็นสถานที่ควรไปเคารพสักการะควรไปแสวงบุญเพื่อให้เกิดความสังเวชและเกิดพุทธานุสติอันจักนำมาซึ่งบุญกุศลและความปลาบปลื้มแช่มชื่นใจจากเนื้อความในมหาปรินิพพานสูตรแสดงให้เห็นว่าสังเวชนียสถานทั้งสี่นี้ได้เกิดขึ้นโดยคำแนะนำของพระพุทธองค์ที่ได้ตรัสว่า"ผู้ใดระลึกถึงพระองค์พึงจาริกไปยังสังเวชนียสถานทั้งสี่นี้" สังเวชนียสถาน สังเวชนียสถาน สังเวชนียสถาน สังเวชนียสถาน

     สังโยชน์เบื้องสูงหรืออุทธัมภาคิยสังโยชน์มี๕ประการคือ๑รูปราคะหมายถึงความพอใจในรูปฌานหรือรูปธรรมอันประณีตหรือความพอใจในรูปภพ๒อรูปราคะหมายถึงความพอใจในอรูปฌานหรือพอใจในอรูปธรรมเช่นความรู้เป็นต้นหรือความพอใจในอรูปภพ๓มานะหมายถึงความสำคัญตนว่าเป็นนั่นเป็นนี่เช่นเป็นพระอนาคามีแม้ว่าจะเป็นจริงๆก็ตามเป็นต้น๔อุทธัจจะคือความฟุ้งของจิต๕อวิชชาคือความไม่รู้แจ้ง พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อริยบุคคล สังโยชน์เบื้องสูง สังโยชน์ สังโยชน์ มี๕ประการ

     สัจจะแปลว่าความสัตย์ความซื่อถ้าขยายความตามศัพท์แยกได้๓ลักษณะคือมีความจริงความตรงและความแท้จริงคือไม่เล่นตรงคือความประพฤติทางกายวาจาตรงไม่บิดพลิ้วไม่บ่ายเบี่ยงแท้คือไม่เหลวไหล สัจจะ สัจจะ สัจจะ สัจจะ แปลว่าความสัตย์

     สัจจะต่อการงานก็คือการตั้งสัจจะลงไปในงานหมายถึงการทำงานนั้นต้องทำจริงเมื่อมีหน้าที่แล้วก็ย่อมมีงานตามมาคนที่ไม่จริงต่อการงานมีอยู่๓ประเภทด้วยกันคือ๑พวกทุจฺจริตํคือพวกที่ทำงานเสีย๒พวกสิถิลํคือพวกที่ทำงานเหลาะแหละ๓พวกอากุลํคือพวกที่ทำงานคั่งค้าง สัจจะ สัจจะ สัจจะ สัจจะ ต่อการงาน

     สัจจะต่อบุคคลคือต้องจริงต่อบุคคลในที่นี้คือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตัวเราจริงต่อบุคคลนั้นหมายถึงการเป็นผู้ที่ประพฤติต่อคนอื่นอย่างสม่ำเสมอไม่กลับกลอกและความจริงต่อบุคคลจะเกิดขึ้นได้นั้นต้องอาศัยความจริงใจต่อกันถ้าเราอยากให้คนอื่นเขาจริงใจต่อเราเราก็ต้องให้ความจริงกับเขาด้วย สัจจะ สัจจะ สัจจะ สัจจะ ต่อบุคคล

     สัจจะต่อวาจาคือจริงต่อวาจานั่นก็คือคำพูดของเราเองไม่ว่าจะเป็นการพูดด้วยปากหรือการเขียนตลอดจนการแสดงอาการที่เป็นการปฏิญาณต่อผู้อื่นก็ตามจัดอยู่ในเรื่องของวาจาได้สัจจะต่อวาจามีอยู่ด้วยกัน๒ประเภทคือ๑พูดอย่างไรทำอย่างนั้นคือเมื่อพูดออกไปแล้วก็ต้องพยายามทำให้ได้จริงตามที่พูด๒ทำอย่างไรพูดอย่างนั้นคือการพูดคำจริงเมื่อเราทำอะไรลงไปก็พูดไปตามนั้นการกระทำต้องตรงกับคำพูดของตัวเองเสมอ สัจจะ สัจจะ สัจจะ สัจจะ ต่อวาจา



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ