| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     สัญญาแปลว่าจำความได้ความหมายรู้ได้ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัญญา_(ศาสนาพุทธ) สัญญา สัญญา สัญญา แปลว่าจำความได้

     สัตตวณิชชาหมายถึงการค้าขายมนุษย์อันหมายถึงการจ้างวานแลกเปลี่ยนด้วยเงินทองเพื่อสำเร็จความพอใจที่เนื่องด้วยชีวิตมนุษย์เช่นการซื้อประเวณีตลอดถึงการค้าขายเด็กการค้าทาสตลอดจนการใช้แรงงานเด็กและสตรีอย่างทารุณเพื่อผลกำไร

     สัตบุรุษอ่านว่าสัดบุหรุดแปลว่าคนดีคนสงบคนที่พร้อมมูลด้วยธรรม พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัตบุรุษ สัตบุรุษ สัตบุรุษ สัตบุรุษ คนดี

     สัตบุรุษหมายถึงคนที่มีคุณธรรมคนที่เป็นสัมมาทิฐิคนที่ประพฤติธรรมเป็นปกติในทางปฏิบัติคือคนที่ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม๗ประการคือ๑เป็นผู้ประกอบด้วยธรรม๗ประการคือศรัทธาหิริโอตตัปปะพาหุสัจจะวิริยะสติปัญญา๒ไม่ปรึกษาอะไรที่เบียดเบียนตนและผู้อื่น๓ไม่คิดอะไรเพื่อเบียดเบียนตนและผู้อื่น๔ไม่พูดอะไรเพื่อเบียดเบียนตนและผู้อื่น๕ไม่ทำอะไรเพื่อเบียดเบียนตนและผู้อื่น๖มีความเห็นชอบเป็นสัมมาทิฐิ๗ให้ทานโดยความเคารพไม่ให้แบบทิ้งขว้าง พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัตบุรุษ สัตบุรุษ สัตบุรุษ สัตบุรุษ คนมีคุณธรรม

     สัทธรรมปุณฑริกสูตรเป็นพระสูตรที่สำคัญในพุทธศาสนาฝ่ายมหายานเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนิกชนมหายานโดยเฉพาะชาวจีนและประเทศในเอเชียตะวันออก สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สัทธรรมปุณฑรีกสูตร พระสูตรสำคัญในมหายาน

     สันโดษคือความยินดีความพอใจคือความรู้จักพอดีความรู้จักพอเพียงค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สันโดษ สันโดษ

     สัปปุริสทานหมายถึงทานของสัตบุรุษการให้อย่างสัตบุรุษ สัปปุริสทาน สัปปุริสทาน สัปปุริสทาน สัปปุริสทาน ทานของสัตบุรุษ

     สัปปุริสธรรม๗นี้มีบรรยายอยู่ในสังคีติสูตรในพระไตรปิฎกค่ะ สัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม

     สัปปุริสธรรม๗ประกอบด้วย๑ธัมมัญญุตาเป็นผู้รู้จักเหตุ๒อัตถัญญุตาเป็นผู้รู้จักผล๓อัตตัญญุตาเป็นผู้รู้จักตน๔มัตตัญญุตาเป็นผู้รู้จักประมาณ๕กาลัญญุตาเป็นผู้รู้จักกาล๖ปริสัญญุตาเป็นผู้รู้จักบริษัท๗ปุคคลัญญุตาหรือปุคคลปโรปรัญญุตาเป็นผู้รู้จักบุคคลค่ะ สัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม สัปปุริสธรรม รู้จักเหตุ

     สัมมากัมมันตะเป็นหนึ่งในมรรค๘หรือมรรคมีองค์แปดกระทำชอบทำการชอบคือการกระทำที่เว้นจากความประพฤติชั่วทางกาย๓อย่างอันได้แก่การงดเว้นจากการฆ่าสัตว์การงดเว้นจากการถือเอาสิ่งของที่เขามิได้ให้และการงดเว้นจากการประพฤติผิดในกามค่ะ สัมมากัมมันตะ สัมมากัมมันตะ

     สัมมาวายามะเพียรชอบเกิดฉันทะพยายามปรารภความเพียรประคองจิตไว้ตั้งจิตไว้เป็นหนึ่งในมรรค๘หรือมรรคมีองค์แปดเช่นกันคะเพื่อมิให้อกุศลธรรมอันลามกที่ยังไม่เกิดบังเกิดขึ้นเพื่อละอกุศลธรรมอันลามกที่บังเกิดขึ้นแล้วเพื่อให้กุศลธรรมที่ยังไม่เกิดบังเกิดขึ้นเพื่อความตั้งอยู่ไม่เลือนหายเจริญยิ่งไพบูลย์มีขึ้นเต็มเปี่ยมแห่งกุศลธรรมที่บังเกิดขึ้นแล้วการจะเกิดสัมมาสติต้องอาศัยความเพียรพยายามกำหนดสติอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอจนเกิดเป็นสัมมาสมาธิดังนั้นสัมมาวายามะจึงต้องมีอยู่หน้าสัมมาสติ สัมมาวายามะ สัมมาวายามะ

     สัมมาสติคือการมีสติกำหนดระลึกรู้อยู่เป็นนิจว่ากำลังทำอะไรอยู่กำหนดรู้สภาวะที่เกิดขึ้นจริงในขณะปัจจุบันในสภาวะทั้ง๔คือกายเวทนาจิตและธรรมตามความจำกัดความแบบพระสูตรคือหลักธรรมที่เรียกว่าสติปัฏฐาน๔แบ่งออกเป็น๔คือ๑กายานุปัสสนาสติปัฏฐานการกำหนดระลึกรู้ในกาย๒เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานการกำหนดระลึกรู้ในเวทนา๓จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานการกำหนดระลึกรู้ในจิต๔ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานการกำหนดระลึกรู้ในธรรมคือสัญญา(ความนึก)และสังขาร(ความคิด) สัมมาสติ สัมมาสติ

     สัมมาสังกัปปะหมายถึงดำริชอบหรือความนึกคิดในทางที่ถูกต้องเป็นหนึ่งในมรรค๘หรือมรรคมีองค์แปดค่ะ สัมมาสังกัปปะ สัมมาสังกัปปะ สัมมาสังกัปปะ สัมมาสังกัปปะ ดำริชอบ

     สัมมาสังกัปปะตรงกันข้ามกับมิจฉาสังกัปปะค่ะ สัมมาสังกัปปะ สัมมาสังกัปปะ สัมมาสังกัปปะ สัมมาสังกัปปะ ตรงข้ามข้ามมิจฉาสังกัปปะ

     สัมมาอาชีวะเลี้ยงชีพชอบหมายถึงการทำมาหากินด้วยอาชีพที่สุจริตค่ะเป็นหนึ่งในมรรค๘หรือมรรคมีองค์แปดด้วยนะค้า~ สัมมาอาชีวะ สัมมาอาชีวะ สัมมาอาชีวะ สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ

     สัมโมทนียกถาอ่านว่าสัมโมทะนียะแปลว่าถ้อยคำอันเป็นที่บันเทิงใจคำพูดที่ทำให้ประทับใจเรียกว่าอนุโมทนากถาก็ได้ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัมโมทนียกถา สัมโมทนียกถา สัมโมทนียกถา สัมมาอาชีวะ คำพูดที่ทำให้ประทับใจ

     สัสสตทิฐิอ่านว่าสัดสะตะทิถิแปลว่าความเห็นว่าเที่ยงค่ะ สัสสตทิฐิ สัสสตทิฐิ สัสสตทิฐิ สัสสตทิฐิ เที่ยงแท้

     สัสสตทิฐิเป็นลัทธิความเห็นที่มีมาก่อนสมัยพุทธกาลโดยเห็นว่าอัตตาหรือตัวตนเป็นสิ่งเที่ยงแท้ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไม่ขาดสูญแม้ตายแล้วก็เพียงร่างกายเท่านั้นที่สลายหรือตายไปแต่สิ่งที่เรียกว่าอาตมันหรืออัตตาชีวะเจตภูติยังเป็นอมตะไม่มีวันตายไม่มีวันสูญจะไปถือเอาปฏิสนธิในกำเนิดของภพอื่นต่อไปและเป็นทิฐิที่ตรงกันข้ามกับอุจเฉททิฐิซึ่งศาสนาพุทธถือว่าทั้งสองนี้ต่างก็เป็นมิจฉาทิฐิค่ะ สัสสตทิฐิ สัสสตทิฐิ สัสสตทิฐิ สัสสตทิฐิ อัตตาเที่ยงแท้

     สามัญลักษณะมี๓ประการคือ๑อนิจจตาความเป็นของไม่เที่ยงความเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา๒ทุกขตาความเป็นทุกข์คือทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้๓อนัตตตาความเป็นของมิใช่ตัวตนความมิใช่อนัตตาสามัญลักษณะ

     สามัญลักษณะอ่านว่าสามันยะแปลว่าลักษณะที่มีเสมอกันในสังขารทั้งปวงค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สามัญลักษณะ สามัญลักษณะ

     สามเณรและสามเณรีแปลว่าเหล่ากอของสมณะหน่อเนื้อของสมณะหมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อยยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุถ้าเป็นนักบวชหญิงอายุน้อยเรียกว่าสามเณรีคำว่าสามเณรสามเณรีเป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนาเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะไม่สาธารณะทั่วไปนะคะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สามเณร สามเณร เณร สามเณร เหล่ากอของสมณะ

     สามเณรและสามเณรีแปลว่าเหล่ากอของสมณะหน่อเนื้อของสมณะหมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนาที่มีอายุน้อยยังมิได้รับการอุปสมบทเป็นพระภิกษุถ้าเป็นนักบวชหญิงอายุน้อยเรียกว่าสามเณรีคำว่าสามเณรสามเณรีเป็นศัพท์เฉพาะในพระพุทธศาสนาเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะไม่สาธารณะทั่วไปผู้ที่จะบวชเป็นสามเณรสามเณรีได้นั้นทางพระวินัยกำหนดอายุอย่างต่ำไว้ประมาณขวบซึ่งพอช่วยเหลือตัวเองได้พระวินัยระบุว่าพอจะไล่กาไล่ไก่ได้ส่วนสูงไม่มีกำหนดไว้ผู้มีอายุไม่เกินปีจะบวชเป็นสามเณรตลอดไปไม่บวชเป็นภิกษุก็ได้ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สามเณร สามเณร เณร สามเณร เหล่ากอของสมณะ

     สารนาถเป็นพุทธสังเวชนียสถานแห่งที่๓ตั้งห่างจากเมืองพาราณสีเมืองศูนย์กลางทางศาสนาของศาสนาฮินดูไปทางเหนือราวเก้ากิโลเมตรอยู่ในรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดียในปัจจุบันหรือแคว้นมคธชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล สารนาถ สารนาถ สารนาถ สารนาถ สังเวชนียสถานแห่งที่๓



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ