ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
สารนาถในสมัยพุทธกาลเรียกกันว่าป่าอิสิปตนมฤคทายวันแปลว่าป่าอันยกให้แก่หมู่กวางและเป็นที่ชุมนุมฤๅษีเป็นสถานที่สงบและเป็นที่ชุมนุมของเหล่าฤๅษีและนักพรตต่างๆที่มาบำเพ็ญตบะและโยค่ะเพื่อเข้าถึงพรหมันตามความเชื่อในคัมภีร์อุปนิษัทของพรามหณ์ทำให้เหล่าปัญจวัคคีย์ที่ปลีกตัวมาจากเจ้าชายสิทธัตถะอันเนื่องมาจากที่พระองค์หันมาเสวยอาหารและถูกปัญจวัคคีย์ดูถูกว่าไม่มีทางตรัสรู้มาบำเพ็ญตบะกันที่นี่
สารนาถ
สารนาถ
สารนาถ
สารนาถ
ป่าอันยกให้แก่หมู่กวาง
สาวกแปลว่าผู้ฟังคือผู้ฟังตามครูบาอาจารย์ผู้สั่งสอนหลักธรรมใช้สำหรับบุรุษถ้าเป็นสตรีใช้ว่าสาวิกาค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สาวก
สาวก
สาวกในคำวัดใช้หมายถึงผู้ฟังโอวาทนุสาสนีหรือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าโดยเคารพใช้เรียกทั้งที่เป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์เช่นใช้ว่าพระอรหันตสาวกพระสงฆ์สาวกภิกษุสาวกภิกษุณีสาวิกาและใช้หมายถึงลูกศิษย์ของศาสดาอื่นๆด้วยเช่นวสาวกของนิครนถ์นาฏบุตรสาวกของพราหมณ์พาวรีสาวกในคำไทยใช้หมายรวมไปถึงลูกศิษย์ลูกน้องผู้ติดตามนักบวชนักบุญผู้มีชื่อเสียงตลอดถึงผู้มีอำนาจเช่นใช้ว่า"เจ้าสำนักแห่งนั้นมีชื่อเสียงไม่น้อยจึงมีสาวกอยู่ทั่วไป"
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สาวก
สาวกสาวก
สาวก
สาวก
สาวัตถีคือเมืองโบราณในสมัยพุทธกาลมีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองหลวงของแคว้นโกศล๑ในแคว้นมหาอำนาจใน๑๖มหาชนบทในสมัยพุทธกาลเมืองนี้รุ่งเรืองจากการที่เป็นชุมนุมการค้าขายการทหารเป็นเมืองมหาอำนาจใหญ่ควบคู่กับเมืองราชคฤห์แห่งแคว้นมคธในสมัยโบราณปัจจุบันเมืองนี้เหลือเพียงซากโบราณสถานคนอินเดียในปัจจุบันลืมชื่อเมืองสาวัตถีในภาษาบาลีหรือศราวัสตีในภาษาสันสกฤตไปหมดแล้วคงเรียกแถบตำบลที่ตั้งเมืองสาวัตถีนี้เพียงว่าสะเหถมะเหถปัจจุบันสะเหตมะเหตตั้งอยู่ในรัฐอุตตรประเทศประเทศอินเดียค่ะ
สาวัตถี
สาวัตถี
สาวัตถี
สาวัตถี
เมืองหลวงของแคว้นโกศล
สาวัตถีปัจจุบันยังมีซากโบราณสถานที่สำคัญปรากฏร่องรอยอยู่คือวัดเชตวันมหาวิหารซึ่งเป็นวัดที่พระพุทธเจ้าเคยประทับอยู่ถึง๑๙พรรษาบริเวณวังของพระเจ้าปเสนทิโกศลบ้านของอนาถบิณฑิกเศรษฐีบ้านบิดาขององคุลีมาลสถานที่พระเทวทัตถูกแผ่นดินสูบที่บริเวณหน้าวัดพระเชตวันมหาวิหารที่แสดงยมกปาฏิหาริย์แล้วเสด็จไปจำพรรษาณสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อแสดงพระอภิธรรมโปรดพระพุทธมารดาเป็นต้นค่ะกำแพงเมืองสาวัตถีโบราณก็ยังคงปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันภายในกำแพงเมืองมีโบราณสถานคงเหลืออยู่มากมายเช่นซากบ้านของบิดาพระองคุลีมาลซากคฤหาสถ์ของอนาถบิณฑิกเศรษฐีและวัดเก่าแก่ที่สร้างอุทิศแก่พระติรธังกร(ศาสดาองค์แรกของศาสนาเชน)บริเวณนอกเขตเมืองสาวัตถียังมีสถานที่สำคัญเช่นซากยมกปาฏิหาริย์สถูป(สถานที่ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงยมกปาฏิหาริย์)และวัดเชตวันมหาวิหาร(พระอารามที่พระพุทธเจ้าทรงจำพรรษามากที่สุดในพุทธกาล)ซึ่งเป็นสถานที่แสวงบุญสำคัญของชาวพุทธทั่วโลกนอกจากนี้ยังมีวัดที่ประเทศต่างๆที่นับถือศาสนาพุทธมาสร้างไว้ได้แก่ประเทศไทยเกาหลีใต้ศรีลังกาพม่าธิเบตและจีนค่ะ
สาวัตถี
สาวัตถี
สิกขมานาเป็นคำเรียกผู้ที่ถือศีล๖ข้อก่อนที่จะบวชเป็นภิกษุณีสามเณรีก็เรียก
สิกขมานา
สิกขมานา
สิกขาสิกขาบทหมายถึงข้อที่จะต้องศึกษาข้อที่ต้องปฏิบัติในทางศาสนาหมายถึงศีลสมาธิปัญญาในคำไทยนำมาใช้ว่าศึกษาหมายถึงการเล่าเรียนหรือพูดซ้ำว่าการศึกษาเล่าเรียนสิกขาบทยังหมายถึงข้อศีลข้อวินัยคือศีลแต่ละข้อวินัยแต่ละข้อเช่นศีลของสามเณรมี๑๐ข้อเรียกว่ามี๑๐สิกขาบทศีลของพระภิกษุมี๒๒๗ข้อเรียกว่ามี๒๒๗สิกขาบท
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สิกขา
สิกขา
สีมาหมายถึงเขตหรือแดนที่กำหนดไว้สำหรับทำสังฆกรรมต่างๆกำหนดเขตแดนด้วยเครื่องหมายบอกเขตที่เรียกว่านิมิตที่เหนือนิมิตนิยมสกัดหินเป็นแผ่นประดิษฐานไว้ในซุ้มที่สร้างครอบนิมิตถือเป็นสัญลักษณ์แทนนิมิตเรียกแผ่นหินนั้นว่าใบสีมาหรือใบเสมาเรียกซุ้มนั้นว่าซุ้มสีมาหรือซุ้มเสมาใบสีมานิยมทำด้วยแผ่หินสกัดเป็นแผ่นหนาประมาณ๕ถึง๗๕เซนติเมตรมีรูปทรงเฉพาะบางแห่งสกัดเป็นลายเส้นรูปธรรมจักรเพิ่มความสวยงามประดิษฐานไว้ในซุ้มที่สร้างคร่อมนิมิตทั้ง๘ทิศของโบสถ์คล้ายเป็นสัญลักษณ์แทนนิมิตถ้าเป็นวัดราษฎร์นิยมทำซุ้มละแผ่นเดียวถ้าเป็นวัดหลวงนิยมทำซุ้มละสองแผ่นเรียกว่าสีมาคู่นัยว่าเพื่อเป็นข้อสังเกตให้ทราบว่าเป็นวัดราษฎร์หรือวัดหลวงสีมายังหมายถึงอุโบสถได้อีกด้วยค่ะ
สีมาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘
สีมา
สีมาแปลว่าเขตแดนเครื่องหมายบอกเขตใช้ว่าเสมาก็มีค่ะ
สีมาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘
สีมา
สีลัพพตปรามาสเป็นศัพท์ในพระไตรปิฎกเถรวาทหมายความถึงความยึดมั่นถือมั่นอยู่ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือศีลพรตภายนอกพระพุทธศาสนาหรือความยึดมั่นถือมั่นในการบำเพ็ญเพียงกายและวาจาตามหลักธรรมพระพุทธศาสนา(ศีล)ของตนว่าเป็นสิ่งที่ประเสริฐซึ่งเป็นเหตุให้ละเลยการปฏิบัติทางด้านจิตใจหรือการใช้ปัญญาเพื่อหลุดพ้นสีลัพพตปรามาสจัดเป็นความเห็นผิดหรือมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่งจัดเข้าในกลุ่มสังโยชน์ขั้นต้นที่พระอริยบุคคลระดับโสดาบันจะละความยึดมั่นเช่นนี้ได้โดยสรุปสีลัพพตปรามาสคือความเชื่ออย่างเห็นผิดในอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายนอกตัวความยึดมั่นในความดีเพียงขั้นศีลของตนและความเชื่อว่าการบำเพ็ญทางกายวาจาเท่านั้นที่จะสามารถทำให้คนบริสุทธิ์จากกิเลสหรือหลุดพ้นได้ความเห็นเหล่านี้ถูกจัดเป็นความเห็นที่ผิดพลาดในทางพระพุทธศาสนาเพราะเนื่องด้วยพระพุทธศาสนาเน้นเรื่องภายในจิตใจคือการหลุดพ้นด้วยปัญญาภายในเป็นสำคัญนอกจากนี้พระพุทธเจ้าตรัสหลักสีลัพพตปรามาสไว้ก็เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ปฏิบัติหลงผิดจากแนวทางหลักในพระพุทธศาสนากล่าวคือไม่ให้มัวแต่หลงยึดมั่นแค่เพียงความบริสุทธิ์ของศีลที่มีเฉพาะด้านกายและวาจาโดยละเลยความบริสุทธิ์ด้านจิตใจไปซึ่งความยึดมั่นถือมั่นเช่นนี้จัดเป็นอัสมิมานะซึ่งจัดเป็นกิเลสชนิดหนึ่งค่ะ
สีลัพพตปรามาส
สีลัพพตปรามาส
สีลัพพตปรามาสในพระไตรปิฎกปรากฏทั้งในคัมภีร์สุตตันตปิฎกและอภิธรรมปิฎกโดยความหมายหลักของคำว่าศีลและพรตในศัพท์นี้หมายถึงการปฏิบัติตามความเชื่อนอกพระพุทธศาสนาเช่นความเชื่อในอำนาจบันดาลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือพระผู้เป็นเจ้าความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ที่เชื่อว่าการบำเพ็ญทุกกรกิริยาจะสามารถทำให้ผู้บำเพ็ญหลุดพ้นจากความทุกข์หรือหลุดพ้นจากอำนาจของกิเลสได้หรือความเชื่อของลัทธิตันตระที่เชื่อว่าการมั่วสุมอยู่ในกามารมณ์จะสามารถทำให้หลุดพ้นจากทุกข์ได้เป็นต้น
สีลัพพตปรามาส
สีลัพพตปรามาส
สุญญตวิโมกข์ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนัตตา
สุญญตามีความหมาย๔นัยคือ๑ความเป็นสภาพที่ว่างจากความเป็นสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาวะที่ขันธ์๕เป็นอนัตตาคือมิใช่ตัวตนไม่มีอัตตาว่างจากความเป็นตนตลอดจนว่างจากสารัตถะต่างๆเช่นความเที่ยงความสวยงามความสุขเป็นต้นโดยปริยายหมายถึงหลักธรรมฝ่ายปรมัตถ์ดังเช่นขันธ์ธาตุอายตนะและปฏิจจสมุปบาทที่แสดงแต่ตัวสภาวะให้เห็นความว่างเปล่าปราศจากสัตว์บุคคลเป็นเพียงธรรมหรือกระบวนธรรมล้วนๆ๒ความว่างจากกิเลสมีราคะโทสะโมหะเป็นต้นก็ดีสภาวะที่ว่างจากสังขารทั้งหลายก็ดีหมายถึงนิพพาน๓โลกุตตรมรรคได้ชื่อว่าเป็นสุญญตาด้วยเหตุผล๓ประการคือเพราะลุด้วยปัญญาที่กำหนดพิจารณาความเป็นอนัตตามองเห็นสภาวะที่สังขารเป็นสภาพว่าง(จากความเป็นสัตว์บุคคลตัวตน)เพราะว่างจากกิเลสมีราคะเป็นต้นและเพราะมีสุญญตาคือนิพพานเป็นอารมณ์๔ความว่างที่เกิดจากความกำหนดหมายในใจหรือทำใจเพื่อให้เป็นอารมณ์ของจิตในการเจริญสมาบัติเช่นผู้เจริญอากิญจัญญายตนสมาบัติกำหนดใจถึงภาวะว่างเปล่าไม่มีอะไรเลย
พระพรหมคุณาภรณ์(ประยุทธ์ปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์,หน้า๔๕๔๔๕๕สุญญตา
สุญญตา
สุญญตาแปลว่าความว่างเปล่าความเป็นของสูญคือความไม่มีตัวตนถือเอาเป็นตัวตนไม่ได้
พระพรหมคุณาภรณ์(ประยุทธ์ปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลศัพท์,หน้า๔๕๔๔๕๕สุญญตา
สุญญตา
สุตมยปัญญาเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญการเริ่มต้นในภาคการศึกษาการอ่านตำราการฟังเทปการฟังธรรมการซักถามข้อข้องใจจึงเรียกว่าภาคการศึกษาหรือเห็นสิ่งใดๆในที่ทั่วไปให้ศึกษาเหตุผลสิ่งนั้นๆความถูกเป็นอย่างไรมีอะไรเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้เกิดขึ้นถ้าฝึกในวิธีนี้ได้เราจะมีธรรมะได้ศึกษาในที่ทั่วไปสิ่งใดควรนำมาปฏิบัติได้ก็จดจำนำมาปฏิบัติต่อไปสิ่งใดไร้เหตุผลอย่างไรก็ศึกษาให้รู้ว่าเราจะไม่ทำไม่พูดในลักษณะอย่างนั้นแม้ในตำราต่างๆที่ได้ศึกษามาก็อย่าเพิ่งเชื่อทีเดียวใช้ปัญญาพิจารณาตีความหมายใช้เหตุผลมาเป็นตัวตัดสินให้รู้จักความผิดความถูกแล้วจึงตัดสินใจเชื่อในภายหลังจึงจะเกิดเป็นสัมมาทิฏฐิความเห็นที่ถูกต้องชอบธรรมเมื่อนำมาปฏิบัติก็จะเป็นผลออกมาเป็นปฏิเวธแนวทางปฏิบัติอย่างไรจะเป็นไปเพื่อความพ้นทุกข์ได้พระพุทธเจ้าทรงวางกฎเกณฑ์ไว้แล้วเป็นอย่างดีถึงจะผ่านกาลเวลามายาวนานก็เป็นหลักความจริงตลอดมาไม่ล้าสมัยยังมีประสิทธิภาพให้ผลแก่ผู้ปฏิบัติตลอดมาการปฏิบัติได้แค่ไหนขึ้นอยู่กับสติปัญญาและความสมารถของแต่ละท่านหากมีความสงสัยในการปฏิบัติอย่างไรก็ให้ศึกษากับท่านผู้รู้ผู้เข้าใจในธรรมอยู่เสมอเพื่อให้เป็นไปในความถูกต้องชอบธรรมการปฏิบัติก็จะก้าวหน้าไปด้วยดี
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญา
สุตมยปัญญา
หมายถึงความทรงจำมี๖คือ๑จักขุสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางตาภาพ๒โสตสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางหูเสียง๓ฆานะสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางจมูกกลิ่น๔ชิวหาสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางลิ้นรสชาติ๕กายสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางกายประสาทสัมผัส๖มนสัญญาสิ่งที่ทรงจำทางใจมโนสิ่งทรงจำทางใจมี๓คือ๑จำเวทนา๒จำสัญญา๓จำสังขาร๓คือ๑กายสังขารการบังคับร่างกาย๒วจีสังขารความคิดตรึกตรอง๓จิตตะสังขารอารมณ์ที่จรเข้ามาในใจ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัญญา_(ศาสนาพุทธ)
สัญญา
หลังจากพระเจ้าปเสนทิโกศลสวรรคตและหลังพระพุทธปรินิพพานพระเจ้าอชาตศัตรูแห่งแคว้นมคธได้เริ่มทำสงครามยึดแว่นแคว้นต่างๆและได้กำจัดแคว้นวัชชีได้สำเร็จและหลังจากกำจัดแคว้นวัชชีได้ไม่นานพระองค์จึงได้ยกทัพมายึดเมืองสาวัตถีไว้ในอำนาจได้สำเร็จเมืองสาวัตถีจึงสิ้นสุดความสำคัญในฐานะเมืองหลวงแห่งแคว้นโกศลในรัชกาลพระเจ้าวิฑูฑภะและหลังจากนั้นการค้าฯลฯอำนาจต่างๆได้ไปรวมศูนย์ที่เมืองราชคฤห์และสุดท้ายที่เมืองปาฏลีบุตรในฐานะเมืองหลวงแห่งแคว้นแต่วัดเชตวันมหาวิหารยังคงเป็นศูนย์กลางสำคัญทางศาสนาอยู่แต่ทว่าจนในที่สุดหลังพุทธสตวรรษที่๑๘เมืองสาวัตถีได้เสื่อมความสำคัญและถูกทิ้งร้างไปโดยสิ้นเชิงจนเหลือแต่ซากโบราณสถานในปัจจุบัน
สาวัตถี
สาวัตถี
อนิจจสัญญาพิจารณาว่ารูปไม่เที่ยงเวทนาไม่เที่ยงสัญญาไม่เที่ยงสังขารทั้งหลายไม่เที่ยงวิญญาณไม่เที่ยงพิจารณาเห็นโดยความเป็นของไม่เที่ยงในอุปาทานขันธ์๕เหล่านี้เป็นอนิจจังอนัตตสัญญาพิจารณาว่าจักษุเป็นอนัตตารูปเป็นอนัตตาหูเป็นอนัตตาเสียงเป็นอนัตตาจมูกเป็นอนัตตากลิ่นเป็นอนัตตาลิ้นเป็นอนัตตารสเป็นอนัตตากายเป็นอนัตตาโผฏฐัพพะเป็นอนัตตาใจเป็นอนัตตาธรรมารมณ์เป็นอนัตตาพิจารณาเห็นโดยความเป็นอนัตตาในอายตนะทั้งหลายทั้งภายในและภายนอก๖ประการเหล่านี้เป็นอนัตตาอสุภสัญญาพิจารณากายนี้นั่นแลเบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นไปเบื้องต่ำแต่ปลายผมลงมามีหนังหุ้มอยู่โดยรอบเต็มด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆว่าในกายนี้มีผมขนเล็บฟันหนังเนื้อเอ็นกระดูกเยื่อในกระดูกม้ามเนื้อหัวใจตับพังผืดไตปอดไส้ใหญ่ไส้น้อยอาหารใหม่อาหารเก่าดีเสลดหนองเลือดเหงื่อมันข้นน้ำตาเปลวมันน้ำลายน้ำมูกไขข้อมูตรพิจารณาเห็นโดยความเป็นของไม่งามในกายนี้อาทีนวสัญญาพิจารณาว่ากายนี้มีทุกข์มากมีโทษมากเพราะฉะนั้นอาพาธต่างๆจึงเกิดขึ้นในกายนี้คือโรคตาโรคหูโรคจมูกโรคลิ้นโรคกายโรคศีรษะโรคที่ใบหูโรคปากโรคฟันโรคไอโรคหืดโรคไข้หวัดโรคไข้พิษโรคไข้เซื่องซึมโรคในท้องโรคลมสลบโรคบิดโรคจุกเสียดโรคลงรากโรคเรื้อนโรคฝีโรคกลากโรคมองคร่อโรคลมบ้าหมูโรคหิดเปื่อยโรคหิดด้านโรคคุดทะราดหูดโรคละอองบวมโรคอาเจียนโลหิตโรคดีเดือดโรคเบาหวานโรคเริมโรคพุพองโรคริดสีดวงอาพาธมีดีเป็นสมุฏฐานอาพาธมีเสมหะเป็นสมุฏฐานอาพาธมีลมเป็นสมุฏฐานอาพาธมีไข้สันนิบาตอาพาธอันเกิดแต่ฤดูแปรปรวนอาพาธอันเกิดแต่การบริหารไม่สม่ำเสมออาพาธอันเกิดแต่ความเพียรเกินกำลังอาพาธอันเกิดแต่วิบากของกรรมความหนาวความร้อนความหิวความระหายปวดอุนจิปวดปัสสาวะพิจารณาเห็นโดยความเป็นโทษในกายนี้ปหานสัญญาไม่ยินดีละบรรเทาทำให้หมดสิ้นไปทำให้ถึงความไม่มีซึ่งกามวิตกอันเกิดขึ้นแล้วไม่ยินดีละบรรเทาทำให้หมดสิ้นไปทำให้ถึงความไม่มีซึ่งพยาบาทวิตกอันเกิดขึ้นแล้วไม่ยินดีละบรรเทาทำให้หมดสิ้นไปให้ถึงความไม่มีซึ่งวิหิงสาวิตกอันเกิดขึ้นแล้วไม่ยินดีละบรรเทาทำให้หมดสิ้นไปให้ถึงความไม่มีซึ่งอกุศลธรรมทั้งหลายอันชั่วช้าที่เกิดขึ้นแล้ว(พิจารณาเห็นว่าวิตกทั้งสองคือกามวิตกและพยาบาทวิตกคือการจองเวรเป็นเหตุให้จิตยินดีในการเวียนว่ายตายเกิดและอวิหิงสาเป็นเหตุให้รับวิบากกรรมในขณะเวียนว่ายตายเกิด)วิราคสัญญาพิจารณาว่าธรรมชาตินั่นสงบธรรมชาตินั่นประณีตคือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวงธรรมเป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง(อุปธิที่ตั้งแห่งทุกข์)ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหาธรรมเป็นที่สำรอกกิเลสธรรมชาติเป็นที่ดับกิเลสและกองทุกข์(ซึ่งก็คือสภาวะของพระนิพพานที่สัมผัสได้ในขณะที่มีชีวิตอยู่นั่นเอง)นิโรธสัญญาพิจารณาว่าธรรมชาตินั่นสงบธรรมชาตินั่นประณีตคือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวงธรรมเป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวงธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหาธรรมเป็นที่ดับโดยไม่เหลือธรรมชาติเป็นที่ดับกิเลสและกองทุกข์(วิราคะและนิโรธล้วนเป็นชื่อหนึ่งของพระนิพพานโดยวิราคะเน้นที่ความสำรอกกิเลสคือการไม่ปรุงแต่งในสิ่งภายนอกราบเรียบเสมอกันส่วนนิโรธเน้นที่ความดับไม่เหลือของกิเลสคือการไม่ยึดติดในสิ่งภายในว่าไม่ใช่ตัวกูของกู)สัพพโลเกอนภิรตสัญญาการกำหนดหมายในความไม่น่าเพลิดเพลินในโลกทั้งปวงละอุบายและอุปาทานในโลกอันเป็นเหตุตั้งมั่นถือมั่นและเป็นอนุสัยแห่งจิตย่อมงดเว้นไม่ถือมั่น(การเห็นสิ่งที่ไม่งดงามแต่สำคัญว่างดงามเพราะจิตเข้าไปปรุงแต่ง)สัพพสังขาเรสุอนิจจสัญญาการกำหนดหมายในความไม่น่าปรารถนาในสังขารทั้งปวงความอึดอัดระอาเกลียดชังแต่สังขารทั้งปวง(การเห็นสิ่งทั้งปวงมีแต่แตกกระจายไป)อานาปานสติการนั่งคู้บัลลังก์ตั้งกายให้ตรงดำรงสติไว้เฉพาะหน้าเธอเป็นผู้มีสติหายใจออกเป็นผู้มีสติหายใจเข้าเมื่อหายใจออกยาวก็รู้ชัดว่าหายใจออกยาวหรือเมื่อหายใจเข้ายาวก็รู้ชัดว่าหายใจเข้ายาวเมื่อหายใจออกสั้นก็รู้ชัดว่าหายใจออกสั้นหรือเมื่อหายใจเข้าสั้นก็รู้ชัดว่าหายใจเข้าสั้นสัญญา_(ศาสนาพุทธ)พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘
สัญญา
เจรจาชอบคือวจีสุจริต๔หรือก็เว้นจากวจีทุจริต๔นั่นเองค่ะแล้วสัมมาวาจานี่ยังเป็นหนึ่งในมรรค๘หรือมรรคมีองค์แปดด้วยน้า~
สัมมาวาจา
สัมมาวาจา
สัมมาวาจา
สัมมาวาจา
เจรจาชอบ
เนื่องจากสินค้าถังสีเหลืองส่วนใหญ่จะนำไปถวายพระสงฆ์ซึ่งผู้ซื้อจะไม่เคยแกะถังสีเหลืองเพื่อตรวจสอบน่ะสิค่ะ
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
ถังสีเหลือง
เนื่องด้วยเมืองสาวัตถีมีความเจริญรุ่งเรืองในฐานะเมืองหลวงของแคว้นโกศลมาแต่ก่อนพุทธกาลต่อเนื่องจนในสมัยพุทธกาลที่มีพระเจ้าปเสนทิโกศลปกครองมีความสงบและรุ่งเรืองมากและอีกสาเหตุสำคัญที่พระพุทธเจ้าเลือกเมืองนี้เป็นสถานที่จำพรรษานานที่สุดเพราะว่าพระเจ้าปเสนทิโกศลเป็นพระญาติกับพระเจ้าพิมพิสารกษัตริย์แห่งแคว้นมคธโดยพระนางเวเทหิอัครมเหสีของพระเจ้าพิมพิสารเป็นพระกนิษฐาของพระองค์เอง(พระเจ้ามหาโกศลพระราชบิดาของพระเจ้าปเสนทิโกศลส่งพระนางเวเทหิไปอภิเษกสมรสกับพระเจ้าพิมพิสารและมอบเมืองในแคว้นกาสีให้พระเจ้าพิมพิสารเพื่อเป็นของขวัญทำให้เมืองสาวัตถีและเมืองราชคฤห์เป็นไมตรีกันจนสิ้นรัชกาลของพระเจ้าพิมพิสาร)ทำให้พระพุทธเจ้าสามารถมาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในเมืองสาวัตถีได้สะดวกเพราะพระเจ้าปเสนทิโกศลย่อมมีความเกรงใจในพระศาสดาของพระเจ้าพิมพิสารซึ่งเป็นพระญาติของพระองค์เองนอกจากนี้เมืองสาวัตถีมีมหาอุบาสกมหาอุบาสิกาหลายคนเช่นอนาถบิณฑิกเศรษฐี,นางวิสาขามหาอุบาสิกาซึ่งมีความเคารพรักศรัทธาสร้างมหาสังฆารามวัดเชตวันมหาวิหาร(ของอนาถบิณฑิกเศรษฐี)และวัดบุพพารามมหาวิหาร(ของนางวิสาขา)และให้การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาอย่างมั่นคงด้วยเหตุหลายประการดังกล่าวพระพุทธเจ้าจึงเสด็จมาประทับที่เมืองนี้มากที่สุดโดยมาทรงประทับอยู่ถึง๒๕พรรษาโดยแบ่งเป็น๑๙พรรษาที่วัดเชตวันมหาวิหารและอีก๖พรรษาที่วัดบุพพารามค่ะ
สาวัตถี
สาวัตถี
เป็นชื่อเรียกผ้าผืนหนึ่งในจำนวน๓ผืนหรือไตรจีวรของพระคือผ้าที่ซ้อนทับจีวรอีกชั้นหนึ่งทำนองเป็นผ้าคลุมสำหรับป้องกันความหนาวในฤดูหนาวเมื่อห่มทาบจีวรก็จะเป็นผ้าสองชั้นทำให้อบอุ่นขึ้นเมื่อห่มจึงเรียกว่าผ้าสังฆาฏ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังฆาฏิ
สังฆาฏิ
สังฆาฏิ
สังฆาฏิ
เป็นพระสูตรที่รวบรวมธรรมะมากมายเป็นการบรรยายแจกธรรมเป็นหมวดๆโดยพระสารีบุตรอาจนับได้ว่าสังคีติสูตรเป็นต้นแบบของการสังคายนาพุทธศาสนาในยุคแรกๆ
สัปปุริสธรรม
สังคีติสูตร
สังคีติสูตร
สังคีติสูตร
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ