ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
เป็นส่วนแห่งบุญให้ผลแก่ขันธ์คือความดำริในเนกขัมมะดำริในความไม่พยาบาทดำริในความไม่เบียดเบียน
สัมมาสังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะ
สังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะ
ผลแก่ขันธ์
เป็นส่วนแห่งบุญให้ผลแก่ขันธ์คือเจตนางดเว้นจากการพูดเท็จงดเว้นจากการพูดส่อเสียดงดเว้นจากการพูดคำหยาบงดเว้นจากการเจรจาเพ้อเจ้อ
สัมมาวาจา
สัมมาวาจา
สัมมาวาจา
สัมมาวาจา
เจรจาชอบ
เป็นแนวปฏิบัติเพื่อให้เกิดความพอดีในชีวิตประจำวันไม่ฟุ้งเฟ้อเกินไปไม่เขียมเกินไปไม่ฟุ้งซ่านจนเกิดเดือดร้อนเป็นต้นเป็นแนวปฏิบัติกลางๆเพื่อให้ชีวิตมีความอิ่มไม่พร่องอันเป็นเหตุให้มีความสุขดังคำกล่าวที่ว่ารู้จักพอก่อสุขทุกสถานไงล่ะค้า~
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สันโดษ
สันโดษ
เป็นโลกุตระเป็นองค์มรรคคือความงดความเว้นความเว้นขาดเจตนางดเว้นจากวจีทุจริตทั้ง๔ของภิกษุผู้มีจิตไกลข้าศึกมีจิตหาอาสวะมิได้พรั่งพร้อมด้วยอริยมรรคเจริญอริยมรรคอยู่
สัมมาวาจา
สัมมาวาจา
เป็นโลกุตระเป็นองค์มรรคคือความตรึกความวิตกความดำริความแน่วความแน่ความปักใจวจีสังขารของภิกษุผู้มีจิตไกลข้าศึกมีจิตหาอาสวะมิได้พรั่งพร้อมด้วยอริยมรรคเจริญอริยมรรคอยู่
สัมมาสังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะ
สังกัปปะ
สัมมาสังกัปปะ
โลกุตระ
เพราะการที่จัดถวายทานแก่ส่วนรวมย่อมมีประโยชน์แก่พระศาสนามากกว่าทั้งเป็นการกระจายปัจจัยวัตถุอันจะพึงได้แก่คณะสงฆ์ทั้งปวงโดยไม่จำกัดหรือเลือกปฏิบัติแก่รูปใดรูปหนึ่งอีกด้วยค่ะ
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
อานิสงส์มาก
เพราะมีความสะดวกที่ไม่ต้องไปจัดหาสิ่งของด้วยตนเองและความสวยงามของการจัดรูปแบบสิ่งของในตัวบรรจุภัณฑ์น่ะค่ะ
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
ถังสังฆทาน
เริ่มต้นด้วยการตั้งนะโมสามจบนะโมตัสสะภะค่ะวะโตอะระหะโตสัมมาสัมพุทธธัสสะนะโมตัสสะภะค่ะวะโตอะระหะโตสัมมาสัมพุทธธัสสะนะโมตัสสะภะค่ะวะโตอะระหะโตสัมมาสัมพุทธธัสสะจากนั้นกล่าวคำถวายเป็นภาษาบาลีว่าอิมานิมยํภนฺเตภตฺตานิสปริวารานิภิกขุสงฺฆสฺสโอโณชยามสาธุโนภนฺเตภิกฺขุสังโฆอิมานิภตฺตานิสปริวารานิปฏิคฺคณฺหาตุอมฺหากํทีฆรตฺตํหิตายสุขายฯแล้วก็จบด้วยการกล่าวคำแปลข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายซึ่งภัตตาหารกับของที่เป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้แด่พระสงฆ์ขอพระสงฆ์จงรับซึ่งภัตตาหารกับของที่เป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้เพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนานเทอญแต่ถ้าของธรรมกายเค้าก็จะมีต่อท้ายด้วยนิพพานายะจะฯด้วยนะคะแปลว่าเพื่อมรรคผลนิพพานค่ะสังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
เรือนว่างค่ะ
วิปัสสนากรรมฐาน
สุญญาคาร
เสาอโศกหรือเสาหินพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นเสาหินโบราณที่สร้างโดยพระเจ้าอโศกมหาราชพระมหาจักรพรรดิแห่งราชวงศ์เมารยะที่ปกครองอนุทวีปอินเดียในช่วงยุคพุทธศตวรรษที่๔พระเจ้าอโศกมหาราชทรงสร้างเสาหินทรายขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและเพื่อระบุสถานที่ตั้งของสถานที่สำคัญทางพระพุทธศาสนาเสาหินเหล่านี้สร้างโดยหินทรายจากเมืองจุณนาเมืองทางตอนเหนือของอินเดียซึ่งถือได้ว่ามีคุณภาพดีที่สุดในสมัยนั้นโดยเสาทุกเสาจะมีหัวสิงห์แกะสลักประดิษฐานอยู่เป็นสัญลักษณ์ถึงคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าที่องอาจดุจราชสีห์และแผ่ไปไกลดุจเสียงแห่งราชสีห์โดยตัวเสาจะมีคำจารึกถึงความสำคัญของสถานที่ตั้งเสาหรือประกาศพระบรมราชโองการของพระเจ้าอโศกมหาราชเสาอโศกที่สมบูรณ์ที่สุดอยู่ที่อารามหลวงแห่งเจ้ามัลละในเมืองเวสาลีเมืองสำคัญในสมัยพุทธกาลแต่เสาอโศกต้นที่ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือเสาอโศกที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันเมืองพาราณสีสถานที่พระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนาเป็นเสาที่หักเป็นสี่ท่อนแต่ว่ารูปสลักรูปสิงห์สี่ทิศบนเสายังคงมีสภาพสมบูรณ์ปัจจุบันรัฐบาลอินเดียได้นำรูปสลักที่เสานี้มาเป็นสัญลักษณ์ของประเทศรูปพระธรรมจักร๒๔ซี่ได้ถูกนำไปประดิษฐานในธงชาติอินเดียและข้อความที่จารึกไว้โดยพระเจ้าอโศกว่าสตฺยเมวชยเตซึ่งแปลว่าความจริงชนะทุกสิ่งได้กลายมาเป็นคำขวัญประจำชาติอินเดียในปัจจุบันเดิมนั้นเสาอโศกมีอยู่ทั่วพระราชอาณาจักรของพระเจ้าอโศกมหาราชแต่ต่อมาได้ถูกทำลายลงทั้งจากมนุษย์และภัยธรรมชาติคงเหลือเพียงไม่กี่ต้นเท่านั้นที่ยังคงมีสภาพสมบูรณ์ในปัจจุบัน
เสาอโศก
แปลว่าการปรุงแต่งสิ่งที่ถูกปรุงแต่งค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สังขาร
สังขาร
สังขาร
สังขาร
การปรุงแต่ง
แปลว่านอนอย่างราชสีห์ค่ะสีหไสยาสน์
โดยสลากภัตนับเนื่องในสังฆทานที่มีอานิสงส์มากเพราะถือว่าแม้จะตั้งสลากถวายกับพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่งที่จับสลากได้ย่อมเท่ากับถวายกับพระสงฆ์ทั้งหมดเพราะสลากที่จับนั้นพระสงฆ์ทุกรูปในอารามนั้นมีสิทธิ์ได้นอกจากนั้นสลากภัตยังเป็นหลักการในพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงวางไว้เพื่อสร้างจิตสำนึกความเท่าเทียมกันและสร้างความเป็นอันหนึ่งเดียวกันแก่คณะสงฆ์
สลากภัต
สลากภัต
สลากภัต
สลากภัต
อานิสงส์มาก
โสดาบันเป็นชื่อเรียกพระอริยบุคคลประเภทแรกใน๔ประเภทคือโสดาบันสกทาคามีอนาคามีอรหันต์ผู้ได้บรรลุโสดาปัตติผลแล้วด้วยการละสังโยชน์เบื้องต่ำ๓ประการได้คือ๑สักกายทิฏฐิคือความเห็นเป็นเหตุถือตัวตนเช่นเห็นว่ากายนี้ใจนี้เป็นตัวตนของเรา๒วิจิกิจฉาคือความลังเลสงสัยเช่นสังสัยในข้อปฏิบัติของตนว่าถูกต้องหรือไม่สงสัยในพระรัตนตรัยหรือในอริยสัจ๔ว่ามีจริงหรือไม่๓สีลัพพตปรามาสคือความเชื่อถือยึดมั่นว่าความศักดิ์สิทธิ์มีได้ด้วยศีลและพรตอย่างนั้นอย่างนี้ข้อนี้ขยายความได้ว่ารักษาศีลแต่เพียงทางกายทางวาจาแต่ใจยังไม่เป็นศีลหรืออย่างน้อยก็ยังไม่เป็นศีลตลอดเวลาความเป็นพระโสดาบันนี้ก็เช่นเดียวกับความเป็นพระอริยบุคคลประเภทอื่นๆที่มิได้จำกัดอยู่เฉพาะเพศบรรพชิตหรือนักบวชเท่านั้นแม้คฤหัสถ์คือชายหรือหญิงผู้ครองเรือนก็สามารถเป็นพระโสดาบันได้เช่นในสมัยพุทธกาลคฤหัสถ์ที่เป็นพระโสดาบันที่มีชื่อเสียงก็มีจำนวนมากได้แก่นางวิสาขามหาอุบาสิกาอนาถบิณฑิกเศรษฐีพระเจ้าพิมพิสารเป็นต้นการเข้าถึงกระแสธรรมของพระโสดาบันนั้นเป็นการยกระดับจิตใจของท่านอย่างถาวรทำให้ท่านไม่สามารถกลับมาเป็นปุถุชนได้อีกเป็นผู้ที่จะไม่ไปเกิดในอบายภูมิทั้งยังเป็นผู้ที่จะบรรลุพระนิพพานในเบื้องหน้าอย่างแน่นอนค่ะ
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โสดาบัน
โสดาบัน
โสดาบัน
โสดาบัน
พระอริยบุคคลประเภทแรก
โสดาบันแปลว่าผู้เข้าถึงกระแสธรรมผู้แรกถึงกระแสธรรม
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โสดาบัน
โสดาบัน
โสดาบัน
โสดาบัน
ผู้เข้าถึงกระแสธรรม
โสตวิญญาณความรู้อารมณ์ทางหูคือรู้เสียงด้วยหูหรือการได้ยิน
โสตวิญญาณ
ใช่แล้วค่ะยังมีธรรมะอีกหมวดหนึ่งซึ่งคล้ายกันคือได้มีการบรรยายถึงพระเจ้าจักรพรรดิว่าทรงประกอบด้วยองค์๕ประการย่อมทรงยังจักรให้เป็นไปโดยธรรมจักรนั้นย่อมเป็นจักรอันมนุษย์ผู้เป็นข้าศึกใดๆจะต้านทานมิได้และแม้พระพุทธเจ้าก็ทรงประกอบด้วยธรรม๕ประการเหล่านี้ย่อมทรงยังธรรมจักรชั้นเยี่ยมให้เป็นไปโดยธรรมธรรมจักรนั้นย่อมเป็นจักรอันสมณะพราหมณ์เทวดามารพรหมหรือใครๆในโลกจะคัดค้านไม่ได้ธรรม๕ประการนี้ได้แก่ธัมมัญญุตาเป็นผู้รู้จักเหตุอัตถัญญุตาเป็นผู้รู้จักผลมัตตัญญุตาเป็นผู้รู้จักประมาณกาลัญญุตาเป็นผู้รู้จักกาลปริสัญญุตาเป็นผู้รู้จักบริษัท
สัปปุริสธรรม
สัปปุริสธรรม
ใช้เรียกการที่ภิกษุพูดแสดงความขอบคุณหรือกล่าวถึงประโยชน์และอานิสงส์ของความดีหรือบุญกุศลที่ทายกทายิกาได้ทำเช่นถวายอาหารสร้างกุฏิสร้างหอระฆังไว้ในพระพุทธศาสนาว่ากล่าวสัมโมทนียกถาซึ่งเป็นธรรมเนียมของพระสงฆ์มาแต่โบราณโดยกล่าวเป็นภาษาไทยใช้เวลามากน้อยแล้วแต่ผู้กล่าวและปกติจะกล่าวก่อนที่จะอนุโมทนาเป็นภาษาบาลีหรือที่รู้จักกันว่ายถาสัพพี
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘สัมโมทนียกถา
สัมโมทนียกถา
สัมโมทนียกถา
สัมมาอาชีวะ
คำพูดที่ทำให้ประทับใจ
ในคัมภีร์พระอภิธรรมมีการกล่าวถึงสัทธาในลักษณะที่เป็นเจตสิกเรียกว่าสัทธาเจตสิกมีลักษณะดังนี้คือมีความเชื่อในกุศลธรรมเป็นลักษณะมีความเลื่อมใสเป็นกิจมีความไม่ขุ่นมัวเป็นผลมีวัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเชื่อเป็นเหตุใกล้สัทธานี้จัดเป็นธรรมเบื้องต้นในอันที่จะทำให้บุคคลได้ประกอบคุณงามความดีเป็นบุญกุศลขึ้นมาและสัทธาที่จะเกิดขึ้นได้นั้นย่อมต้องอาศัยวัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเชื่อได้แก่พระรัตนตรัยผลของกรรมเป็นต้นสัทธานั้นเมื่อเกิดขึ้นย่อมทำให้เกิดความผ่องใสไม่ขุ่นมัวสามารถดำเนินไปจนเข้าถึงปีติได้เหตุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสศรัทธาได้แก่รูปปฺปมาณเลื่อมใสศรัทธาเพราะเห็นรูปสมบัติสวยงามลูขปฺปมาณเลื่อมใสศรัทธาเพราะเห็นความประพฤติเรียบร้อยเคร่งในธรรมวินัยโฆสฺปปมาณเลื่อมใสศรัทธาเพราะได้ฟังเสียงอันไพเราะธมฺมปฺปมาณเลื่อมใสศรัทธาเพราะได้สดับฟังธรรมของผู้ที่ฉลาดในการแสดง
ศรัทธาในศาสนาพุทธ
สัทธาเจตสิก
ในทางปฏิบัติสัจจะคือความรับผิดชอบหมายความว่าถ้าจะทำอะไรแล้วต้องตั้งใจทำจริงทำอย่างสุดความสามารถให้เป็นผลสำเร็จค่ะ
สัจจะ
สัจจะ
สัจจะ
สัจจะ
ความรับผิดชอบ
ในประเทศไทยมีประเพณีสลากภัตภาคเหนือเรียกว่าประเพณีทานก๋วยสลากตามวัดต่างๆโดยจัดในช่วงเดือน๖จนถึงเดือน๘ซึ่งเป็นช่วงผลไม้อุดมสมบูรณ์โดยมีการรวมตัวของคณะศรัทธาทั้งหมู่บ้านนำผลไม้และสำรับคาวหวานไปตั้งเป็นสลากถวายพระภิกษุที่นิมนต์มาจากวัดต่างๆเป็นประเพณีใหญ่สำหรับหมู่บ้านและวัดนั้นๆโดยในแต่ละภูมิภาคมีรายละเอียดการจัดประเพณีแตกต่างกันไป
สลากภัต
สลากภัต
สลากภัต
สลากภัต
ก๋วยสลาก
ในปัจจุบันมีความเชื่อว่ายังมีภิกษุณีสายเถรวาทเหลืออยู่และอ้างหลักฐานยืนยันว่าภิกษุณีทางสายมหายานวัชรยานนั้นสืบสายไปจากภิกษุณีสายเถรวาทโดยถือกันว่าหากภิกษุณีสายเถรวาทสืบสายไปเป็นมหายานได้เช่นภิกษุณีจากลังกาไปบวชให้คนจีนภิกษุณีมหายานก็สืบสายมาเป็นเถรวาทได้เช่นกันในกรณีนี้เคยมีประเด็นถกเถียงอยู่ช่วงหนึ่งว่าปัจจุบันนี้สามารถบวชภิกษุณีได้หรือไม่มีข้อสรุปจากทางพระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทว่าพระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้มีการบวชเป็นภิกษุณีได้ก็ต่อเมื่อบวชต่อสงฆ์ทั้ง๒ฝ่ายคือต้องบวชทั้งฝ่ายพระภิกษุสงฆ์และฝ่ายภิกษุณีสงฆ์เป็นการลงญัตติจตุตถกรรมวาจาทั้งสองฝ่ายจึงจะสามารถเป็นภิกษุณีได้ดังนั้นในเมื่อภิกษุณีสงฆ์เถรวาทได้เสื่อมสิ้นลงไม่มีผู้สืบต่อจึงทำให้ในปัจจุบันไม่สามารถทำการบวชผู้หญิงเป็นภิกษุณีฝ่ายเถรวาทได้การที่มีข้ออ้างว่าสายมหายานสืบสายวงศ์ภิกษุณีสงฆ์ไปก็ไม่สามารถอ้างได้เพราะการสืบสายทางมหายานมีข้อวินัยและการทำสังฆกรรมบวชภิกษุณีที่ไม่ถูกต้องกับพระไตรปิฎกฝ่ายเถรวาทปัจจุบันศรีลังกาพยายามฟื้นฟูภิกษุณีสงฆ์จนมีหลายร้อยรูปที่เมืองไทยเองก็มีคนบวชเป็นภิกษุณีหลายรูปแล้วเช่นกันแต่คณะสงฆ์ไทยไม่ยอมรับเป็นภิกษุณีสงฆ์เพราะสาเหตุดังกล่าวมาแล้วข้างต้นค่ะ
สิกขมานา
สิกขมานา
ในสมัยพุทธกาลพระพุทธเจ้าได้ทรงใช้จิตวิทยาในการปกครองพระสงฆ์สาวกโดยการยกย่องผู้ที่ควรยกย่องป้องปรามผู้ที่ควรป้องปรามดังจะเห็นได้จากทรงยกย่องพระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะเป็นพระอัครสาวกฝ่ายซ้ายฝ่ายขวาและทรงตั้งเอตทัคคะกล่าวคือทรงยกย่องพระสาวกอีกส่วนหนึ่งว่ามีความเป็นเลิศในด้านต่างๆแต่อย่างไรก็ตามกรณีดังกล่าวยังมิได้ถือว่าเป็นสมณศักดิ์เมื่อพระพุทธองค์เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้วเพื่อสามารถสืบทอดเจตนารมณ์ของพระพุทธศาสนาพระประมุขแห่งประเทศต่างๆที่นับถือพุทธศาสนาจึงได้มีการพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์โดยปรากฏหลักฐานว่ามีการพระราชทานสมณศักดิ์และพัดยศพร้อมทั้งเครื่องประกอบสมณศักดิ์อื่นๆได้รับแบบอย่างมาจากประเทศศรีลังกาสำหรับประเทศไทยนั้นระบบสมณศักดิ์ของพระสงฆ์เริ่มใช้มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยในรัชสมัยพระมหาธรรมราชลิไทยพระองค์ได้โปรดให้ราชบัณฑิตไปอาราธนาพระมหาสามีสังฆราชมาจากประเทศลังกาเพื่อให้ประกาศพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ในกรุงสุโขทัยพระมหาสามีสังฆราชคงจะได้ถวายพระพรให้พระมหาธรรมราชาลิไททรงตั้งสมณศักดิ์ถวายแด่พระสงฆ์ตามราชประเพณีที่ถือปฏิบัติในประเทศลังการะบบสมณศักดิ์ในสมัยสุโขทัยไม่สลับซับซ้อนเพราะมีเพียง๒ระดับชั้นเท่านั้นคือพระสังฆราชและพระครูพอมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาระบบสมณศักดิ์ได้รับการปรับให้มีระดับชั้นเพิ่มขึ้นเป็น๓ระดับคือสมเด็จพระสังฆราชพระสังฆราชคณะหรือพระราชาคณะและพระครูค่ะ
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
พระมหาธรรมราชลิไทย
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ