ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
ในอดีตการพิจารณาแต่งตั้งและเลื่อนสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์เป็นพระราชอำนาจและเป็นพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์เมื่อทรงเห็นหรือทรงทราบด้วยพระเนตรพระกรรณว่าพระภิกษุรูปใดมีความรู้ความเชี่ยวชาญในพระไตรปิฎกมีศีลาจารวัตรน่าเลื่อมใสมีความสามารถในการปกครองหมู่คณะให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยทั้งยังเป็นศูนย์รวมแห่งศรัทธาของประชาชนแล้วก็จะพระราชทานสมณศักดิ์เพื่อเป็นเกียรติและกำลังใจในการจะได้ช่วยกันจรรโลงพระพุทธศาสนาสืบไปต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นช่วงเวลาที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสทรงดำรงตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชเจ้าสกลมหาสังฆปริณายกอยู่นั้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะโปรดพระราชทานสมณศักดิ์แก่พระสงฆ์รูปใดก็จะทรงปรึกษากับสมเด็จพระมหาสมณเจ้าก่อนทุกครั้งตรงนี้ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ทรงให้พระสงฆ์ได้มีส่วนร่วมในการพิจารณาเสนอความคิดเห็นได้ปัจจุบันเป็นหน้าที่ทางคณะสงฆ์จะช่วยกันพิจารณาให้ความเห็นชอบตามลำดับขั้นคือจากเจ้าอาวาสเจ้าคณะตำบลเจ้าคณะอำเภอเจ้าคณะจังหวัดเจ้าคณะภาคและเจ้าคณะใหญ่เมื่อได้รับความเห็นชอบจากเจ้าคณะผู้ปกครองตามลำดับแล้วสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติจึงได้เสนอเรื่องเพื่อนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานสมณศักดิ์ตามระเบียบของทางราชการต่อไปแต่ในการพระราชทานสมณศักดิ์ชั้นสูงเช่นสมเด็จพระสังฆราชหรือสมเด็จพระราชาคณะทางคณะสงฆ์ชอบที่จะถวายพระเกียรติแด่องค์พระมหากษัตริย์ด้วยการเสนอนามพระเถระที่เห็นสมควรขึ้นไปหลายรูปเพื่อให้ทรงพิจารณาตามพระราชอัธยาศัยเป็นธรรมเนียมปฏิบัติเสมอมาเพราะพระราชอำนาจส่วนนี้เป็นของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเพียงพระองค์เดียว
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
พิจารณา
ในเสขปฏิปทาสูตรซึ่งบรรยายโดยพระอานนท์ได้กล่าวถึงคุณสมบัติของผู้ที่ประกอบด้วยสัปปุริสธรรมไว้๗ประการคือ๑เป็นผู้มีศรัทธาคือเชื่อความตรัสรู้ของพระตถาคตว่าแม้เพราะเหตุนี้ๆพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นพระอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะเสด็จไปดีแล้วทรงรู้แจ้งโลกเป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเป็นผู้เบิกบานแล้วเป็นผู้จำแนกพระธรรม๒เป็นผู้มีหิริคือละอายกายทุจริตวจีทุจริตมโนทุจริตละอายต่อการถึงพร้อมแห่งอกุศลธรรมอันลามก๓เป็นผู้มีโอตตัปปะคือสะดุ้งกลัวกายทุจริตวจีทุจริตมโนทุจริตสะดุ้งกลัวต่อการถึงพร้อมแห่งอกุศลธรรมอันลามก๔เป็นพหูสูตทรงธรรมที่ได้สดับแล้วสั่งสมธรรมที่ได้สดับแล้วธรรมเหล่าใดงามในเบื้องต้นงามในท่ามกลางงามในที่สุดประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถพร้อมทั้งพยัญชนะบริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิงธรรมทั้งหลายเห็นปานนั้นอันท่านได้สดับมามากทรงจำไว้ได้สั่งสมด้วยวาจาตามเพ่งด้วยใจแทงตลอดด้วยดีด้วยความเห็น๕เป็นผู้ปรารภความเพียรเพื่อละอกุศลธรรมเพื่อถึงพร้อมแห่งกุศลธรรมมีความเข้มแข็งมีความบากบั่นมั่นคงไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย๖เป็นผู้มีสติคือประกอบด้วยสติและปัญญาเครื่องรักษาตนอย่างยิ่งระลึกได้ตามระลึกได้แม้ซึ่งกิจการที่ทำไว้แล้วนานแม้ซึ่งถ้อยคำที่พูดไว้แล้วนาน๗เป็นผู้มีปัญญาคือประกอบด้วยปัญญาอันเห็นความเกิดและความดับอันเป็นอริยะชำแรกกิเลสให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบคุณสมบัติของผู้ที่ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม๗ประการนี้เรียกว่าสัทธัมมสมันนาคโตบางทีก็เรียกสัปปุริสธรรม๗และในจูฬปุณณมสูตรซึ่งพระพุทธองค์ตรัสบรรยายความแตกต่างระหว่างสัตบุรุษและอสัตบุรุษทรงแสดงถึงสักษณะของผู้ประกอบด้วยธรรมของสัตบุรุษ๘ประการ(ในพจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลธรรมเรียกธรรมของสัตบุรุษ๘ประการนี้ว่าสัปปุริสธรรม๘)ได้แก่๑เป็นผู้ประกอบด้วยธรรมของสัตบุรุษคือเป็นผู้มีศรัทธามีหิริมีโอตตัปปะมีสุตะมากมีความเพียรปรารภแล้วมีสติตั้งมั่นมีปัญญา(คือสัทธัมมสมันนาคโตดังกล่าวไปแล้วนั่นเอง)๒เป็นผู้ภักดีต่อสัตบุรุษคือมีสมณพราหมณ์ชนิดที่มีศรัทธามีหิริมีโอตตัปปะมีสุตะมากมีความเพียรปรารภแล้วมีสติตั้งมั่นมีปัญญาเป็นมิตรเป็นสหาย๓เป็นผู้มีความคิดอย่างสัตบุรุษคือย่อมไม่คิดเบียดเบียนตนเองไม่คิดเบียดเบียนผู้อื่นไม่คิดเบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย๔เป็นผู้มีความรู้อย่างสัตบุรุษคือย่อมไม่รู้เพื่อเบียดเบียนตนเองไม่รู้เพื่อเบียดเบียนผู้อื่นไม่รู้เพื่อเบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่าย๕เป็นผู้มีถ้อยคำอย่างสัตบุรุษคือเป็นผู้งดเว้นจากการพูดเท็จงดเว้นจากคำพูดส่อเสียดงดเว้นจากคำหยาบงดเว้นจากการเจรจาเพ้อเจ้อ๖เป็นผู้มีการงานอย่างสัตบุรุษคือเป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาตงดเว้นจากอทินนาทานงดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร๗เป็นผู้มีความเห็นอย่างสัตบุรุษคือเป็นผู้มีความเห็นอย่างนี้ว่าทานที่ให้แล้วมีผลยัญที่บูชาแล้วมีผลสังเวยที่บวงสรวงแล้วมีผลผลวิบากของกรรมที่ทำดีทำชั่วมีอยู่โลกนี้มีโลกหน้ามีมารดามีบิดามีสัตว์ที่เป็นอุปปาติกะมีสมณพราหมณ์ทั้งหลายผู้ดำเนินชอบปฏิบัติชอบซึ่งประกาศโลกนี้โลกหน้าให้แจ่มแจ้งเพราะรู้ยิ่งด้วยตนเองในโลกมีอยู่๘ย่อมให้ทานอย่างสัตบุรุษคือย่อมให้ทานโดยเคารพทำความอ่อนน้อมให้ทานให้ทานอย่างบริสุทธิ์เป็นผู้มีความเห็นว่ามีผลจึงให้ทาน
สัปปุริสธรรม
สัปปุริสธรรม
ไม่จำเพาะถวายรูปนั้นรูปนี้เช่นเป็นพระผู้ทรงพรรษาพระรูปที่เรารู้จักหรือพระรูปที่ตนศรัทธาหรือถวายโดยมีเจตนาเพื่อบำรุงพระสงฆ์สามเณรโดยไม่เลือกผู้รับเช่นการใส่บาตรโดยไม่เลือกพระผู้รับไม่ว่าจะเป็นพระสงฆ์หรือสามเณรก็ตาม
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
๐๑๐๐๐๑๑๑๐๑๑๑๐๑๐๐๐๑๐๑๐๑๐๐๐๐๑๐๑๑๑๐๐๐๑๑๑๐๐๐๑๑๑๐๐๐๐๐๑๑๑๑๑๑๐๐๐๑๑๐๑๐๐๑๑๐๑๐๐๐๑๑๑๐๑๐๑๐๑๐๐๐๑๑๐๐๐๐๑๑๑๐๑๐๑๐๐๐๑๐๐๑๐๑๐๐๑๐๑๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๐๐๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๐๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๐๑๐๑๐๑๑๐๑๐๑๐๑๐๑๑๑๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๑๐๐๐๑๑๑๑๑๐๐๑๑๑๐๐๑๑๑๐๐๐๐๑๐๑๐๑๐๑๑๑๑๐๐๐๐๑๑๐๐๐๑๑๐๑๐๑๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๐๑๑๑๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๐๐๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๑๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๑๐๐๐๐๑๐๑สัญญาณไฟฟ้า
สัญญาณไฟฟ้า
สัญญาณไฟฟ้า
๐๑
๑สบายการอยู่อาวาสสัปปายะที่อยู่เหมาะสมไม่พลุกพล่านจอแจเกินไป๒สบายการไปโคจรสัปปายะแหล่งการกินการเดินทางสถานที่สำคัญต่างๆมีระยะพอเหมาะไม่ไกลเกินไปนักเดินทางได้ง่าย๓สบายพูดคุยภัสสสัปปายะการพูดคุยที่เหมาะสมในหมู่คนดีไม่พูดมากหรือน้อยเกินไป๔สบายคบคนปุคคลสัปปายะคบหาบุคคลที่ถูกกันเหมาะสมกันพากันไปในทางที่ดีมีผู้รู้เป็นที่ปรึกษามีมิตรแท้ที่จริงใจ๕สบายการกินโภชนสัปปายะรับประทานอาหารที่เหมาะสมต่อสุขภาพเพศวัยอย่างไม่ยากและไม่เป็นโทษต่อร่างกาย๖สบายอากาศอุตุสัปปายะดินฟ้าอากาศธรรมชาติแวดล้อมที่เหมาะสมไม่หนาวเกินไปไม่ร้อนเกินไปน้ำไม่ท่วมไม่มีภัยธรรมชาติ๗สบายท่าทางอิริยาปถสัปปายะการอยู่ในอิริยาบถที่เหมาะสมกับเหตุการณ์เคลื่อนไหวได้สะดวกอิสระวางตนได้เหมาะกับกาลเทศะ
?
สัปปายะ
สัปปายะ
สัปปายะ
ที่สบาย
๑ปุพพเจตนาหรือมีความตั้งใจในการทำบุญโดยการเลือกซื้อสิ่งของที่เป็นประโยชน์แท้จริงแก่พระสงฆ์เช่นของมีคุณภาพหรือสิ่งของที่พระสงฆ์ต้องการ๒มุญฺจเจตนาคืออาการที่ถวายเป็นสังฆทานถูกต้องเช่นถวายเข้ากองกลางของวัดหรือถวายแก่ตัวแทนของพระสงฆ์เพื่อนำสิ่งของไปแจกจ่ายหรือเผดียงสงฆ์ไม่เลือกระบุตัวพระสงฆ์ผู้รับโดยการถวายดังกล่าวควรทำเจตนาในการถวายให้มุ่งตรงต่อหมู่สงฆ์ไม่ใช่ถวายแก่บุคคล๓อปราปรเจตนาเมื่อถวายแล้วก็ทำจิตใจให้เป็นบุญนึกถึงการถวายสังฆทานดังกล่าวเมื่อใดก็มีความยินดีไม่เกิดความเสียดาย
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
สังฆทาน
ประกอบด้วย
๑สถานที่ประสูติ๒สถานที่ตรัสรู้๓สถานที่แสดงปฐมเทศนา๔สถานที่ปรินิพพาน
สังเวชนียสถาน
สังเวชนียสถาน
สังเวชนียสถาน
สังเวชนียสถาน
มี
๑สมเด็จพระสังฆราช๑พระองค์๒สมเด็จพระราชาคณะ๘รูป๓พระราชาคณะเจ้าคณะรอง๑๙รูป๔พระราชาคณะชั้นธรรม๓๕รูป๕พระราชาคณะชั้นเทพ๖๖รูป๖พระราชาคณะชั้นราช๑๔๔รูป๗พระราชาคณะชั้นสามัญ๓๙๔รูป๘พระครูสัญญาบัตรชั้นตรีโทเอกพิเศษซึงไม่จำกัดจำนวนค่ะ๙พระครูฐานานุกรมตั้งได้ตามจำนวนที่ปรากฏในสัญญาบัตรของพระราชาคณะ๑๐พระครูประทวนสมณศักดิ์หรือพระครูผู้อุปการะการศึกษาไม่จำกัดจำนวนเช่นกันค่ะ๑๑พระเปรียญปธ๙ปธ๘ปธ๗ปธ๖ปธ๕ปธ๔ปธ๓
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
สมณศักดิ์
สมเด็จพระสังฆราช๑พระองค์
๑เอกพีชีผู้มีพืชคืออัตตภาพอันเดียวคือเกิดอีกครั้งเดียวก็จักบรรลุเป็นพระอรหันต์๒โกลังโกละผู้ไปจากสกุลสู่สกุลคือเกิดในตระกูลสูงอีก๒ถึง๓ครั้งหรือเกิดในสุคติอีก๒ถึง๓ภพก็จักบรรลุอรหัต๓สัตตักขัตตุงปรมะผู้มีเจ็ดครั้งเป็นอย่างยิ่งคือเวียนเกิดในสุคติภพอีกอย่างมากเพียง๗ครั้งก็จักบรรลุอรหันต์
พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัดวัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘โสดาบัน
โสดาบัน
โสดาบัน
โสดาบัน
๗ครั้งจักบรรลุอรหันต์
การห่มดองหมายถึงการครองผ้าลดไหล่ของภิกษุแบบมหานิกายมีสังฆาฏิพาดคือการครองผ้าจีวรอันเป็นปริมณฑลห่มครบไตรจีวรที่เรียกว่าห่มดองกระทำโดยมีการพับจีวรเป็นทบแล้วคลี่ทาบมาที่บ่าชั้นหนึ่งก่อนแล้วจึงนำผ้าสังฆาฎิซึ่งพับเป็นผืนยาวมาพาดไหล่ด้านซ้ายของผู้ห่มก่อนที่จะนำผ้ารัดอกมารัดบริเวณอกอีกชั้นหนึ่งปัจจุบันเป็นการห่มที่เป็นที่นิยมทั่วไปของพระสงฆ์มหานิกายซึ่งดูเรียบร้อยและทะมัดทะแมงแน่นหนาเนื่องจากมีผ้ารัดอกข้อเสียคือเปิดสีข้างดูไม่งามอีกทั้งไม่ใช่การครองจีวรที่มีมาตามพระบรมพุทธานุญาติเนื่องจากผ้ารัดอกไม่มีในอัฏฐบริขารมหานิกาย
ห่มดองคือการห่มผ้าของพระสงฆ์แบบหนึ่งโดยห่มเฉวียงบ่าคือเปิดบ่าขวาปิดบ่าซ้ายพาดสังฆาฏิแล้วคาดอกด้วยผ้ารัดอกการห่มดองถือว่าเป็นการนุ่งห่มของพระธรรมยุตินิกายแต่ปัจจุบันเป็นการห่มครองที่นิยมในกลุ่มพระฝ่ายมหานิกายมากกว่าฝ่ายธรรมยุติไม่ใคร่นิยมแล้วนิยมห่มในภาคเหนือของประเทศและวัดที่เป็นสำนักเรียนส่วนใหญ่จะกำหนดให้พระและสามเณรนุ่มห่มเพื่อให้ไปในแนวทางเดียวกันอาจเพราะเนื่องจากมีสามเณรเป็นจำนวนมากซึ่งการห่มดองไม่หลุดง่ายบางท้องที่ถือว่าเป็นการห่มของของสามเณรไม่ใช่การห่มของพระก็มีปัจจุบันมหาวิทยาลัยสงฆ์ทั้งสองแห่งจะกำหนดให้พระนิสิตนุ่มห่มเมื่อมามหาวิทยาลัยแม้แต่กลุ่มวัดพระธรรมกายก็ยึดถือเป็นการห่มที่กลุ่มสาขาต้องห่มเหมือนกันและยังส่งเสริมให้พระสงฆ์ในประเทศห่มอีกด้วยรูปปั้นพระสีวลีปางเดินธุดงค์ส่วนมากจะนุ่มห่มดองเช่นกันและมีพระธุดงค์บางกลุ่มนิยมห่มเมื่อออกเดินธุดงค์โดยจะถือเป็นสัญญลักษณ์หรือธรรมเนียมของกลุ่มเช่นวัดศีรีล้อมถ้ำนิรภัยพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ห่มดอง
ห่มดอง
ห่มดอง
ห่มดอง
เปิดบ่าขวาปิดบ่าซ้าย
กัณฑ์หิมพานต์มีความยาวของเนื้อหาจำนวน๑๓๔คาถาจากทั้งหมด๑,๐๐๐คาถาพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิมพานต์_(กัณฑ์)หิมพานต์
กัณฑ์หิมพานต์มีเนื้อหาเริ่มแต่พระเวสสันดรประสูติอภิเสกสมรสกับนางมัทรีมีพระโอรสธิดาสองพระองค์คือชาลีกับกัณหาตอนหลังถูกชาวเมืองขับไล่ให้ไปอยู่ป่าด้วยข้อหาพระราชทานช้างเผือกคู่บ้าคู่เมืองให้แก่ชาวกลิงครัฐพระนางมัทรีจึงขอติดตามไปด้วยพร้อมทั้งพรรณาธรรมชาติในป่าหิมพานต์ให้พระเวสสันดรทรงทราบโดยละเอียดพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิมพานต์_(กัณฑ์)หิมพานต์
การที่ม้วนขวาเนื่องจากในสมัยพุทธกาลถือว่าการม้วนขวานั้นเป็นมงคลถ้าห่มบิดขวาเป็นการห่มแบบมหานิกายแท้เป็นวัตรปฏิบัติในการครองจีวรของพระสงฆ์มหานิกายหรือพระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์ในประเทศไทยก่อนที่จะมีคำสั่งของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสให้พระภิกษุทั่วสังฆมณฑลห่มผ้าตามแบบของธรรมยุติกนิกายทั้งหมดนั้นปัจจุบันพระฝ่ายมหานิกายส่วนมากนิยมหมุนซ้ายแบบธรรมยุตหรือพระรามัญไปแทบทั้งสิ้นสันนิษฐานว่าสมณะนอกศาสนานั้นย่อมห่มชายจรดชายม้วนขวาม้วนเข้าหาตัวลูกบวบวางบนบ่าเช่นเดียวกันเพราะสังคมอินเดียสมัยนั้นถือว่าม้วนขวาหรือประทักษิณเป็นมงคลม้วนซ้ายเป็นกาลกิณีแต่ว่าน่าจะวางไว้ที่บ่าขวาเมื่อห่มเฉวียงบ่าจะเปิดไหล่ซ้ายเช่นเดียวกับนักบวชของศาสนาฮินดูหรือนอกศาสนาพุทธในประเทศอินเดียที่นิยมเปิดบ่าซ้ายสังเกตได้แม้ในปัจจุบันนี้ดังนั้นพระสงฆ์ในพุทธศาสนาจึงวางไว้ที่บ่าซ้ายและเปิดบ่าขวาเพื่อแสดงถึงความแตกต่างค่ะมหานิกายการครองจีวร
ก็หญ้าที่นายโสตถิยะพราหมณ์ได้ถวายแด่พระโพธิสัตว์ในตอนเย็นแล้วพระองค์ได้นำไปปูลาดเป็นบังลังก์แล้วก็ตรัสรู้ในคืนนั้นน่ะค่ะหญ้า
ก็หญ้าที่นายโสตถิยะพราหมณ์ได้ถวายแด่พระโพธิสัตว์ในตอนเย็นแล้วพระองค์ได้นำไปปูลาดเป็นบังลังก์แล้วก็ตรัสรู้ในคืนนั้นน่ะค่ะหญ้า
สำนักท่องปาฏิโมกข์อำเภอตากฟ้านครสวรรค์ค่ะห่มดอง
หญ้ากุศะค่ะหญ้าหญ้าคาหญ้าคาหญ้ากุศะ
หญ้าคาค่ะหญ้าหญ้ากุศะหญ้ากุศะหญ้าคา
หอไตรหมายถึงอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่มีลักษณะเป็นหอสูงสำหรับเก็บคัมภีร์พระไตรปิฎกหรือหนังสือธรรมทางพุทธศาสนาเรียกว่าหอพระไตรก็มีหอพระธรรมก็มีค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หอไตรหอไตร
หอไตรใช้เป็นที่เก็บคัมภีร์ใบลานที่จารึกคำสอนทางพระพุทธศาสนาที่เรียกว่าพระไตรปิฎกหรือจารึกความรู้เรื่องอื่นๆเช่นเรื่องตำรายาโบราณวรรณคดีโบราณเป้นต้นซึ่งถือว่าเป็นของสูงเป็นของศักดิ์สิทธิ์และหาได้ยากและนิยมสร้างไว้กลางสระน้ำในวัดทั้งนี้เพื่อป้องกันมิให้มดปลวกและแมลงสาบขึ้นไปกัดแทะทำลายคัมภีร์เหล่านั้นส่วนใหญ่นิยมสร้างเพื่อมุ่งบุญกุศลเป็นสำคัญด้วยถือคติว่าสร้างไว้เก็บรักษาพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์สำคัญจึงนิยมสร้างอย่างวิจิตรงดงามมีรูปทรงพิเศษแปลกตาด้วยฝีมือที่สุดยอดในยุคสมัยนั้นๆพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หอไตรหอไตร
หิมพานต์เป็นชื่อกัณฑ์ที่๒แห่งเทศน์มหาชาติจาก๑๓กัณฑ์คือทศพรหิมพานต์ทานกัณฑ์วนประเวศน์ชูชกจุลพนมหาพนกุมารมัทรีสักกบรรพหมาราชฉกษัตริย์นครกัณฑ์ค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิมพานต์_(กัณฑ์)หิมพานต์หิมพานต์กัณฑ์หิมพานต์หิมพานต์กัณฑ์ที่๒เทศน์มหาชาติ
หิริหมายถึงความละอายใจตัวเองต่อการทำความชั่วความผิดต่อการประพฤติทุจริตทั้งหลายและความละอายใจตัวเองที่จะละเว้นไม่ทำความดีซึ่งควรจะทำให้เกิดมีในตนเช่นบิดามารดามีความละอายใจที่จะไม่ดูแลบุตรของตนเช่นนี้เรียกว่ามีหิริพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิริหิริหิริหิริความละอายใจตัวเองต่อการทำความชั่ว
หิริอ่านว่าหิริหรือจะหิหริก็ได้ค่ะแปลว่าความละอายแก่ใจความละอายต่อบาปค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิริหิริหิริหิริความละอายต่อบาป
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ