| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ

     หิริเกิดขึ้นได้ด้วยการคิดถึงการศึกษาฐานะยศศักดิ์ชาติตระกูลของตนคิดถึงความเสียกายที่จะเกิดขึ้นรวมกับความแกล้วกล้าของจิตใจที่จะไม่ทำชั่วเช่นนั้นพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิริหิริหิริหิริความเสียกายที่จะเกิดขึ้นรวมกับความแกล้วกล้าของจิตใจ

     หิริเป็นธรรมรักษาคุ้มครองโลกทำให้โลกเกิดสันติทำให้คนเราอยู่กันอย่างสงบสุขเพราะคนที่มีหิริจะเกลียดความชั่วและละอายที่จะทำความชั่วทั้งต่อหน้าและลับหลังทำให้ไม่ก่อความเดือดร้อนให้แก่โลกและสรรพสัตว์ทั้งปวงพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘หิริหิริหิริหิริทำให้โลกเกิดสันติ

     ห่มคลุมหมายถึงการคลองจีวรด้วยการม้วนผ้าชายจรดชายม้วนเข้าหาตัวลูกบวบมาวางบนบ่าคลุม๒บ่ามิดชิดดีใช่ในการห่มออกนอกวัดซึ่งถ้าไม่ห่มคลุมในเวลาออกนอกเขตวัดหรือเขตติจีวรวิปวาโสต้องอาบัติทุกกฎปัจจุบันมักห่มดองออกนอกวัดโดยถือเป็นเรื่องธรรมดาว่าถูกต้องโดยเฉพาะภาคเหนือทั้งๆที่ผิดวินัยมหานิกายห่มคลุมห่มคลุมห่มคลุมม้วนผ้าชายจรดชายม้วน

     ห่มมังกรหมายถึงการครองผ้าที่หมุนผ้าลูกบวบไปทางขวาเมื่ออยู่ในวัดจะห่มเฉวียงบ่าและห่มคลุมในเวลาออกนอกวัดเป็นการห่มตามธรรมเนียมของพระมหานิกายที่ถือว่าถูกต้องตามพระบรมพุทธานุญาตคือชายจรดชายม้วนขวาหรืออีกนัยหนึ่งแปลว่าข้างนอกหรือพาหันตะคือม้วนออกข้างนอกตัวซึ่งก็เข้ากันได้กับการม้วนขวาวางบนแขนปัจจุบันยังมีบางวัดนิยมการห่มแบบนี้อยู่โดยมากจะเป็นวัดมหานิกายในกรุงเทพมหานครเฉพาะผู้ที่มีการศึกษาสูงการห่มมังกรนั้นแบ่งออกเป็นสองอย่างคือการห่มมังกรอย่างไทยและการห่มมังกรอย่างพม่าการห่มมังกรอย่างไทยนั้นจะใช้รักแร้หนีบลูกบวบไว้และจะไม่คลี่ลูกบวบเพื่อเอามือออกแต่จะเวิกผ้ายกขึ้นมาเลยส่วนการห่มมังกรอย่างพม่านั้นจะวางลูกบวบบนบ่าและจะคลี่ลูกบวบเพื่อเอามือออกและจะติดกระดุมสองแห่งคือปิดที่คอและชายผ้าซึ่งการห่มมังกรอย่างพม่าจะเป็นการห่มแบบดั้งเดิมมหานิกายห่มมังกร

     ห่มลดไหล่ห่มเฉียงหรือห่มเฉวียงบ่าซึ่งเป็นการห่มที่ใช้ในการแสดงความเคารพปัจจุบันใช้ในการห่มในเขตวัดโดยนำผ้าจีวรผืนหนึ่งมาพันตัวชายจรดชายม้วนเข้าหาตัวลูกบวบวางบนบ่ามหานิกายห่มลดไหล่

     อาจจะเพราะครูบาศรีวิชัยซึ่งเป็นที่ศรัทธาของชาวล้านนาท่านห่มดองก็เป็นได้นะคะห่มดอง

     แต่เดิมนั้นภพมนุษย์ติดต่อกับสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาที่เชิงป่าหิมพานต์อันเป็นอุทยานของสวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาครั้นต่อมามนุษย์มีกิเลสหนาขึ้นทำให้สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกากับโลกมนุษย์แยกออกจากกันค่ะป่าหิมพานต์เป็นเหมือนอุทยานแห่งชาติของสวรรค์มีต้นไม้ดอกไม้ที่นี่สวยสดงดงามใบไม้เวลาตกลงมาถึงพื้นก็แวบหายไปไม่ทับถมกันเป็นปุ๋ยเหมือนต้นไม้ในเมืองมนุษย์ดอกไม้มีกลิ่นหอมฟุ้งจรุงใจพอร่วงหล่นลงมาก็ออกดอกใหม่ฤดูกาลของที่นี่จะเป็นฤดูสบายคือเย็นสบายๆไม่หนาวไม่ร้อนปีหนึ่งๆต้นไม้จะออกดอก๑เดือนบ้าง๒เดือนบ้าง๓เดือนบ้างในป่าหิมพานต์นี้มียอดเขา๘๔,๐๐๐ยอดมีแม่น้ำใหญ่๕สายคือคงคายมุนาสรภูอจิรวดีมหิมามีสระใหญ่๗สระคืออโนดาตกัณณมุณฑะรถกาละฉัททันตะมัณฑากินีสีหปปาตะกุณาละเฉพาะที่สระอโนดาตมีภูเขา๕ลูกล้อมรอบคือเขาสุทัสสนะเขาจิตรกูฏเขากาฬกูฏเขาไกรลาสเขาคันธมาทน์ที่เขาคันธมาทน์นี้มีเงื้อมเขาหนึ่งชื่อนันทมูลกะเป็นที่อยู่ของพระปัจเจกพุทธเจ้ามีถ้ำอยู่๓แห่งคือถ้ำทองถ้ำแก้วถ้ำเงินในป่าหิมพานต์เป็นที่อยู่ของเทวดาชั้นกลางเช่นครุฑยักษ์นาคคนธรรพ์วิทยาธรและมีสัตว์อัศจรรย์หลายชนิดซึ่งสัตว์ที่อยู่ตรงนี้สวยมากเหมือนเป็นต้นตระกูลของสัตว์ทั้งหลายมีสัตว์รูปร่างพิสดารมากมายเช่นกินนรกินนรีติณณราชสีห์กาฬราชสีห์ปัณฑุราชสีห์ไกรสรราชสีห์คชสีห์และมีต้นมักกะลีผลซึ่งมีผลเป็นนารีเป็นที่หมายปองของเหล่าเทวดาหลายพวกเช่นวิทยาธรคนธรรพ์ในป่าหิมพานต์ทั้งหลายเป็นต้นตายแล้วไปไหนนรกสวรรค์สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกาหิมพานต์_(กัณฑ์)หิมพานต์

     แหล่หมายถึงการเทศน์ที่ใช้เสียงและทำนองที่มุ่งความไพเราะเป็นสำคัญเช่นเทศน์มหาชาติเรียกว่าเทศน์แหล่มีทั้งแหล่ในคือเทศน์ตามคัมภีร์เทศน์มหาชาติและแหล่นอกคือเทศน์เรื่องนอกคัมภีร์มหาชาติค่ะแหล่อีกความหมายหนึ่งหมายถึงตอนหนึ่งหรือบทหนึ่งของแต่ละกัณฑ์ในเทศน์มหาชาติเมื่อเทศน์ไปได้ตอนหนึ่งก็เรียกได้ว่าแหล่หนึ่งสองตอนก็สองแหล่จบแต่ละตอนก็เรียกว่าจบแหล่ค่ะพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘แหล่แหล่แหล่แหล่มุ่งความไพเราะ

     แหล่เป็นคำกร่อนมาจากคำว่านั่นแลเพราะในการเทศน์มหาชาติทุกกัณฑ์เมื่อจบตอนหนึ่งแล้วท่านจะลงท้ายด้วยคำว่านั่นแลทุกตอนไปเมื่อลากเสียงคำว่าแลยาวออกไปจึงกลายเป็นแหล่ไปพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘แหล่แหล่

     เคยอ่านเจอมาว่าพระโพธิสัตว์ก็กลับเป็นทารกปกติหัดเดินหัดพูดตามวัยแหละค่ะ อาสภิวาจา อาสภิวาจา อาสภิวาจา เป็นเด็กปกติ

      "อคฺโคหมสฺมิโลกสฺสเชฏฺโฐหมสฺมิโลกสฺสเสฏฺโฐหมสฺมิโลกสฺสอยมนฺติมาชาตินตฺถิทานิปุนพฺภโวเราเป็นผู้เลิศแห่งโลกเราเป็นผู้เจริญที่สุดแห่งโลกเราเป็นผู้ประเสริฐที่สุดแห่งโลกชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายบัดนี้ภพใหม่ย่อมไม่มีดังนี้" —สยามรฏฺฐเตปิฏกํปาลีอจฺฉริยอพฺภูตธมฺมสุตฺตอุปริม๑๔๒๔๙๒๕๑๓๖๖๗๘๙,๓๗๑ อาสภิวาจา อาสภิวาจา อาสภิวาจา เราเป็นผู้เลิศแห่งโลก

      "การไม่กล่าวร้าย๑การไม่ทำร้าย๑ความสำรวมในปาติโมกข์๑ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร๑ที่นั่งนอนอันสงัด๑ความเพียรในอธิจิต๑นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย" โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา ไทย๓

      "การไม่ทำความชั่วทั้งปวง๑การบำเพ็ญแต่ความดี๑การทำจิตของตนให้ผ่องใส๑นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย" โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา ไทย๒

      "ขนฺตีปรมํตโปตีติกฺขานิพฺพานํปรมํวทนฺติพุทฺธานหิปพฺพชิโตปรูปฆาตีสมโณโหติปรํวิเหฐยนฺโตฯ" โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา บาลี๑

      "ขันติคือความอดกลั้นเป็นตบะอย่างยิ่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวว่านิพพานเป็นบรมธรรมผู้ทำร้ายคนอื่นไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิตผู้เบียดเบียนคนอื่นไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ" โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา ไทย๑

      "สพฺพปาปสฺสอกรณํกุสลสฺสูปสมฺปทาสจิตฺตปริโยทปนํเอตํพุทฺธานสาสนํฯ" โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา บาลี๒

      "อนูปวาโทอนูปฆาโตปาติโมกฺเขจสํวโรมตฺตญฺญุตาจภตฺตสฺมึปนฺตญฺจสยนาสนํอธิจิตฺเตจอาโยโคเอตํพุทฺธานสาสนํฯ" โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา โอวาทปาติโมกข์ พุทธศาสนา บาลี๓

     "มหาบพิตรผู้ที่เห็นโทษน้อยใหญ่แล้วคอยตักเตือนและให้ระลึกไม่ให้ทำบาปอกุศลชื่อว่าพระอุปัชฌาย์" อุปัชฌาย์ อุปัชฌาย์

     "ยถาวาริวหาปูราปริปูเรนฺติสาครํเอวเมวอิโตทินฺนํเปตานํอุปกปฺปติอิจฺฉิตํปตฺถิตํตุมฺหํขิปฺปเมวสมิชฺฌตุสพฺเพปูเรนฺตุสงฺกปฺปาจนฺโทปณฺณรโสยถามณิโชติรโสยถา"ค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา

     "สพฺพีติโยวิวชฺชนฺตุสพฺพโรโควินสฺสตุมาเตภวตฺวนฺตราโยสุขีทีฆายุโกภวอภิวาทนสีลิสฺสนิจฺจํวุฑฺฒาปจายิโนจตฺตาโรธมฺมาวฑฺฒนฺติอายุวณฺโณสุขํพลํ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อนุโมทนา อนุโมทนา

     อุปสมานุสติคือให้ระลึกถึงความสงบได้แก่พระนิพพานค่ะ หลวงปู่เทสก์เทสรํสีวัดหินหมากเป้งจหนองคาย อุปสมานุสติ อุปสมานุสติ อุปสมานุสติ ระลึกสงบ

     หลักการอันเป็นหัวใจสำคัญเพื่อเข้าถึงจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนาแก่พุทธบริษัททั้งปวงโดยย่อหรือหลักการ๓กล่าวกันเป็นเป็นการสรุปรวบยอดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาอันเป็นแนวทางที่พุทธบริษัทพึงปฏิบัติได้แก่๑การไม่ทำบาปทั้งปวง๒การทำกุศลให้ถึงพร้อม๓การทำจิตใจให้บริสุทธิ์ โอวาทปาติโมกข์ โอวาทปาติโมกข์

      อามิสบูชาได้แก่การนำสิ่งของไปสักการะไปบูชาบุคคลหรือสิ่งที่ควรบูชาเช่นให้ข้าวให้น้ำให้เครื่องนุ่งห่มที่อยู่อาศัยยารักษาโรคตลอดถึงการดูแลปฏิบัติรับใช้ช่วยเหลือผู้มีพระคุณด้วยวัตถุสิ่งของและแรงกายของตนเป็นการแสดงความเคารพนับถือเป็นการยกย่องเชิดชูหรือให้เกียรติอย่างหนึ่งต่อผู้ที่ควรเคารพผู้ที่ควรยกย่องนับถือและเป็นการตอบแทนพระคุณความดีของท่านผู้มีพระคุณด้วยสิ่งของอันแสดงถึงความเป็นผู้มีน้ำใจและผู้มีคุณธรรมค่ะ พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘อามิสบูชา อามิสบูชา อามิสบูชาเป็นการบูชาด้วยสิ่งของปรนนิบัติดูแลให้ข้าวน้ำที่อยู่อาศัยยารักษาโรคค่าใช้จ่ายและบูชาด้วยดอกไม้ธูปเทียนอามิสบูชาคืออะไร



๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป

| | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | | ก ถึง ฮ