ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ
จักขุวิญญาณความรู้อารมณ์ทางตาคือรู้รูปด้วยตาหรือการเห็น
จักขุวิญญาณ
จักขุวิญญาณ
จักขุวิญญาณ
การเห็น
จักรวรรดิวัตร๑๒คือธรรมอันเป็นพระราชจริยานุวัตรสำหรับพระมหาจักรพรรดิและพระราชาเอกในโลกทั้งนี้โดยพระมหากษัตริย์ผู้ปกครองประชาชนทรงถือและอาศัยธรรมข้อนี้เป็นธงชัยร่วมกันกับทศพิธราชธรรมและราชสังคหะ๔สำหรับการดำเนินกุศโลบายและวิเทโศบายค่ะจักรวรรดิวัตร_
จักรวรรดิวัตร๑๒
จักรวรรดิวัตร๑๒
จักรวรรดิวัตร
ธรรมสำหรับพระมหาจักรพรรดิ
จังหันหมายถึงข้าวอาหารของขบเคี้ยวเป็นคำโบราณที่ใช้กับพระสงฆ์ปกติใช้เป็นคำเรียกรวมอาหารทั้งคาวหวานผลไม้และของขบฉันทุกชนิดที่จัดไว้สำหรับพระสงฆ์โดยเฉพาะเช่นใช้คำพูดว่าพระท่านกำลังฉันจังหันอยู่โดยรวมแล้วฉันจังหันคือรับประทานอาหารนั่นเองความจริงคำว่าจังหันเป็นคำที่แปลความหมายมาจากคำว่าภัตหรือภัตตาหารแต่ในปัจจุบันไม่นิยมใช้จังหันแต่ใช้คำว่าภัตตาหารแทนเช่นคำพูดที่ว่าข้าพเจ้าทั้งหลายขอถวายภัตตาหารกับของที่เป็นบริวารทั้งหลายเหล่านี้แด่พระสงฆ์พระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘จังหัน
จังหัน
จังหัน
จังหัน
อาหาร
จาคะแปลว่าความเสียสละการแบ่งปันความเอื้อเฟื้อมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่าทานและบริจาคจาคะหมายถึงการสละสิ่งของและความสุขส่วนตัวเพื่อประโยชน์สุขแก่ผู้อื่นและหมายรวมถึงการสละละทิ้งกิเลสละความโลภความเห็นแก่ตัวความตระหนี่ความใจแคบและการเลิกละนิสัยตลอดถึงความประพฤติที่ไม่ดีที่ทำให้เกิดความเสียหายก่อความบาดหมางทะเลาะเบาะแว้งเป็นต้นด้วยจาคะเป็นคุณธรรมที่เป็นเหตุให้ผู้ปฏิบัติมองเห็นและเอื้ออาทรต่อความทุกข์ยากและความต้องการของคนอื่นนำให้เป็นคนไม่คับแคบไม่เห็นแก่ตัวแล้วให้ความช่วยเหลือเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ด้วยความเห็นอกเห็นใจเป็นคนชอบให้ชอบแบ่งปันคิดถึงคนอื่นมากกว่าตัวเองพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘จาคะ
จาคะ
จาคะ
จาคะ
ความเสียสละ
จาตุทสีอ่านว่าจาตุดทะสีแปลว่าดิถีเป็นที่เต็ม๑๔วันคือวัน๑๔ค่ำใช้เรียกทั้งข้างขึ้นและข้างแรมเรียกเต็มว่าจาตุทสีดิถีจาตุทสีปกติใช้ในการประกาศองค์อุโบสถในวันพระซึ่งหัวหน้าอุบาสกหรืออุบาสิกาจะประกาศก่อนที่จะรับศีลอุโบสถจากพระว่าขอประกาศเริ่มเรื่องความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถอันพร้อมไปด้วยองค์แปดประการให้สาธุชนที่ได้ตั้งจิตสมาทานทราบทั่วกันก่อนแต่สมาทานณบัดนี้ด้วยวันนี้เป็นจาตุทสีดิถีที่สิบสี่แห่งกาฬปักษ์มาถึงแล้วก็แหละวันเช่นนี้เป็นกาลที่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติแต่งตั้งไว้ให้ประชุมกันฟังธรรมและเป็นกาลที่จะรักษาอุโบสถของอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายถ้าเป็นวัน๘ค่ำใช้ว่าวันอัฐมีวัน๑๕ค่ำใช้ว่าวันปัณรสีพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘จาตุทสี
จาตุทสี
จาตุทสี
จาตุทสี
วัน๑๔ค่ำ
จิตตวิสุทธิหมายถึงความหมดจดแห่งจิตคือจิตที่สมดุลเพราะวิริยะพละเสมอกับสมาธิพละทำให้สมาธิก็สมดุลวิริยะก็สมดุลเป็นปัจจัยให้สติกำหนดรู้อยู่ในปัจจุบันขณะได้อย่างพอดีไม่ไปในอนาคตเพราะวิริยะมีมากไม่อยู่ในอดีตเพราะสมาธิมีกำลังมากไปเป็นการฝึกอบรมจิตจนบังเกิดขณิกสมาธิที่ปราศจากนิวรณ์เพราะสติต่อเนื่องจนนิวรณ์ไม่สามารถเข้าแทรกในจิตได้อันเป็นปทัฏฐานที่สำคัญทำให้เจริญวิปัสสนาได้ง่าย
จิตตวิสุทธิ
จิตตวิเวกความสงัดใจได้แก่การทำจิตให้สงบผ่องใสสงัดจากนิวรณ์หมายเอาจิตแห่งผู้มีสมาธิและสติ
จิตตุปบาทอ่านว่าจิดตุปะบาดหรือจะจิดตุบปะบาดก็ได้แปลว่าการเกิดขึ้นแห่งความคิดความคิดที่เกิดขึ้นที่เกิดขึ้นแห่งความคิดเขียนว่าจิตตุบาทก็ได้จิตตุปบาทได้แก่ความคิดที่เกิดขึ้นในขณะนั้นหรือเกิดแบบกะทันหันใช้กับความคิดทั้งที่ดีและไม่ดีซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกับคำว่าจิตนั่นเองเช่นใช้ว่าเรากล่าวว่าจิตตุปบาทมีอุปการะมากในกุศลธรรมทั้งหลายพระเทวทัตเกิดความปรารถนาว่าเราจักบริหารภิกษุสงฆ์และพระเทวทัตก็ได้เสื่อมจากฤทธิ์นั้นพร้อมกับจิตตุปบาทนั่นเองอกุศลมูล๓คือโลภะโทสะโมหะและกิเลสที่ตั้งอยู่ในจิตตุปบาทอันเดียวกับโลภะโทสะโมหะนั้นพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘จิตตุปบาท
จิตตุปบาท
จิตตุปบาท
จิตตุปบาท
ความคิดที่เกิดขึ้น
จิตนิยามคือกฎธรรมชาติที่เกี่ยวกับกลไกการทำงานของจิตพระพุทธศาสนาค้นพบว่าคนเราประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ๒ส่วนคือร่างกายและจิตใจจิตนิยามคือกฎธรรมชาติในส่วนที่เกี่ยวกับการทำงานของจิตเท่านั้นกระบวนการของความคิดพระพุทธศาสนาเชื่อว่าสัตว์โลกประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญส่วนหนึ่งของชีวิตคือจิตจิตในทัศนะของพุทธศาสนาเป็นสิ่งต่างหากจากกายในฐานะที่เป็นสิ่งหนึ่งต่างหากจากกายจิตก็มีกฎเกณฑ์ในการทำงานเปลี่ยนแปลงและแสดงพฤติกรรมเป็นแบบฉบับเฉพาะตัวจิตนิยามได้แก่นามธาตุคือจิตและเจตสิกที่เป็นธรรมธาตุ
จิตนิยาม
จิตนิยาม
จิตนิยาม
การทำงานของจิต
จิตรลดาวันแปลว่าป่ามีเถาวัลย์หลากสีสวยงามตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกกของสวรรค์ชั้นดาวดึงส์สระในอุทยานนี้มีชื่อว่าจิตรโบกขรณีและจุลจิตรโบกขรณีส่วนแผ่นศิลาแก้วในอุทยานนี้แผ่นหนึ่งมีชื่อว่าจิตรปาสาณอีกแผ่นหนึ่งมีชื่อว่าจุลจิตรปาสาณ
อุทยานบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
จิตรลดาวัน
จิตรลดาวัน
เถาวัลย์หลากสี
จิตอ่อนจิตที่ไม่แข็งจิตที่อ่อนแล้วนี่แหละที่ควรแก่การงานนึกจะทำอะไรก็ได้เป็นจิตที่ดีเป็นจิตที่ควรชมควรแก่การงานจะพิจารณาอะไรก็ได้ค่ะ
[]หลวงปู่ขาวอนาลโย[]
[]'เมตตาจิตพิชิตกิเลส'คติธรรมคำสอน'หลวงปู่ขาวอนาลโย'[]
จิต
จิต
จิต
จิตเบาจิตว่าง
จินตามยปัญญาเป็นคู่กับปฏิบัติการปฏิบัติมี๒วิธี๑ปฏิบัติที่เป็นไปในขั้นกามาวจร๒ปฏิบัติให้เป็นไปในโยคาวจรทั้งสองวิธีนี้มีอุบายในการปฏิบัติที่แตกต่างกันอย่างไรเราปฏิบัติอยู่ในขณะนี้เป็นระดับขั้นกามาวจรหรือเป็นขั้นโยคาวจรจะรู้วิธีในการปฏิบัติให้ถูกต้องต่อไป๑ปฏิบัติในขั้นกามาวจรเป็นวิธีปฏิบัติเพื่อเสริมสร้างบารมีที่เรียกว่าการบำเพ็ญกุศลไม่หวังมรรคผลนิพพานในชาตินี้แต่อย่างใดทำไปเพื่อให้เกิดความสุขภายในใจเท่านั้นเช่นการทำบุญให้ทานการรักษาศีลการเจริญเมตตาภาวนาการทำสมาธิการทำสมาธิทุกคนก็พอจะเข้าใจเพราะทำกันอยู่แล้วทำเพื่อความสุขสบายในใจไปชั่วคราวเท่านั้นถึงจะทำสมาธิให้จิตมีความสงบลึกลงไปเป็นฌานรูปฌานอรูปฌานอยู่ก็ตามก็จะได้ไปเกิดในภพของรูปพรหมอรูปพรหมเท่านั้นเมื่ออำนาจฌานเสื่อมลองก็จะได้มาเกิดในโลกนี้ต่อไปเว้นพระพรหมในพระอนาคามีเท่านั้นนอกนั้นจะต้องลงมาเกิดภายในภพทั้งสามต่อไป๒ปฏิบัติในขั้นโยคาวจรเป็นอุบายการปฏิบัติเพื่อจะพ้นไปจากภพทั้งสามในชาตินี้ให้ได้จะไปได้หรือไม่ได้เป็นอีกเรื่องหนึ่งแต่ความตั้งใจจะให้พ้นไปได้ในชาตินี้จริงๆการปฏิบัติในขั้นโยคาวจรใช้สติปัญญาเป็นหลักที่ยืนตัวการทำสมาธิก็เพื่อเป็นอุบายเสริมให้แก่สติปัญญาเท่านั้นการทำสมาธิก็ไม่มีอะไรเป็นพิเศษให้ทำเหมือนที่ได้ทำตามปกติทั่วๆไปข้อสำคัญอย่าให้มีความอยากในสิ่งใดๆอย่าหวังผลว่าให้เป็นอย่างนั้นให้รู้อย่างนี้การนึกคำบริกรรมก็เอาตามที่เรามีความถนัดหรือกำหนดสติระลึกรู้อยู่กับลมหายใจเข้าหายใจออกก็ได้เมื่อจิตเป็นสมาธิตั้งใจมั่นได้แล้วให้สังเกตดูจิตตัวเองว่าจิตมีความต้องการที่จะสงบต่อไปหรือต้องการพิจารณาในสิ่งต่างๆถ้าจิตต้องการความสงบก็ปล่อยให้ลงสู่ความสงบอย่างเต็มที่ในช่วงจิตมีความสงบอยู่นั้นอย่าไปบังคับให้จิตได้ถอนปล่อยให้จิตอยู่ในความสงบจนอิ่มตัวเมื่อจิตอิ่มตัวในความสงบแล้วก็จะเริ่มถอนออกมาเองในขณะที่จิตถอนอย่าให้ถอนเร็วให้มีสติกำหนดรู้เอาไว้ไม่ให้ถอนออกหมดให้อยู่ในขณิกะอุปจารสมาธิในความตั้งใจมั่นจากนั้นก็น้อมใจพิจารณาในหมวดธรรมต่างๆต่อไปเหมือนกับนอนหลับแล้วตื่นขึ้นอย่าให้ตื่นพรวดพราดลืมตาเลยทีเดียวให้มีสติหลับตาเอาไว้ถ้าหากมีความฝันอย่างไรจะได้เรียบเรียงดูความฝันนั้นได้นี้ฉันใดเมื่อจิตถอนออกจากสมาธิก็ให้เป็นในลักษณะฉันนั้นในบางกรณีหรือบางคนเมื่อจิตรวมอยู่ในสมาธิตั้งใจมั่นได้แล้วจะกำหนดให้จิตลงสู่ความสงบต่อไปอีกไม่ได้จิตชอบคิดในเรื่องนี้เป็นนิสัยถ้าเป็นในลักษณะนี้ให้หยุดคำบริกรรมเสียให้น้อมใจพิจารณาในหมวดธรรมต่างๆต่อไปการใช้ปัญญาพิจารณาในหมวดสัจธรรมนั้นให้พิจารณาในสัจธรรมต่างๆที่เคยคิดพิจารณามาแล้วเคยฝึกคิดพิจารณาถึงสิ่งที่ไม่เที่ยงเคยฝึกคิดพิจารณาเรื่องความทุกข์และเหตุให้เกิดทุกข์เคยคิดพิจารณาในเรื่องอนัตตาว่าธาตุสี่ขันธ์ห้าไม่เป็นอัตตาตัวตนเป็นเพียงจิตได้อาศัยกันอยู่กับธาตุเท่านั้นอีกไม่นานก็จะได้ผุพังเปื่อยเน่าเป็นธาตุดินให้คิดพิจารณาในวัตถุสมบัติทั้งหลายว่าเป็นปัจจัยอาศัยประจำชีวิตเท่านั้นอีกไม่กี่วันเดือนปีก็จะได้ตายจากสมบัติไปคิดพิจารณาว่าไม่มีสมบัติอะไรเป็นของของเราที่แน่นอนตายตัวการคิดพิจารณาในสิ่งที่ไม่เที่ยงให้คิดเรียบเรียงไปตามความเปลี่ยนแปลงในสิ่งนั่นๆว่ามีความเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างไรทำความเข้าใจให้รู้เห็นตามความเป็นจริงในสิ่งนั้นให้ชัดเจนทั้งสิ่งภายนอกที่มีอยู่เป็นอยู่ในที่ทั่วไปภายในคือธาตุสี่มีธาตุดินธาตุน้ำธาตุลมธาตุไฟที่รวมกันอยู่เป็นรูปธาตุให้พิจารณาเรียบเรียงไปตามวัยวัยหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปเป็นอีกวัยหนึ่งจนถึงปัจฉิมวัยคือวัยที่แก่หง่อมเต็มที่มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างไรใช้ปัญญาพิจารณาให้รู้เห็นตามความเป็นจริงอยู่บ่อยๆจิตก็จะค่อยรู้เห็นในก้อนธาตุที่ไม่เที่ยงนี้ได้อย่างชัดเจนทั้งเราทั้งเขาและสัตว์ดิรัจฉานทุกชนิดก็มีความไม่เที่ยงเปลี่ยนแปลงไปตามวัยเช่นกันการพิจารณาความทุกข์หมายถึงความทุกข์ทางใจอย่างอื่นเพียงเป็นเหตุปัจจัยให้เป็นทุกข์เท่านั้นลำพังใจอย่างเดียวจะไม่มีความสุขความทุกข์อะไรใจที่เป็นทุกข์เป็นสุขไปตามเหตุนั้นๆเรียกว่ากิเลสตัณหากิเลสตัณหาหมายถึงความรักความใคร่ความกำหนัดย้อมใจอยู่ในกามคุณที่ใจหลงว่าเป็นความสุขที่จริงก็เป็นเหตุให้เกิดความทุกข์นั้นเองความสุขและความทุกข์เป็นผลเกิดขึ้นจากความสมหวังและความผิดหวังถ้าได้อะไรมาตามใจชอบก็ถือว่ามีความสุขถ้าไม่ได้ตามใจก็ถือว่าเป็นทุกข์ทั้งสุขทั้งทุกข์จึงเป็นกิเลสด้วยกันทั้งสองความสุขทุกคนมีความต้องการความทุกข์ไม่มีใครต้องการแต่มีความหมั่นขยันในการสร้างเหตุให้เกิดทุกข์อยู่ตลอดเวลาหารู้ตัวเองไม่ว่าเรากำลังสร้างเหตุแห่งทุกข์ให้แก่ตัวเองความไม่รู้นี้เองจึงเรียกว่าโมหะอวิชชาจึงได้เกิดเป็นตัณหาความอยากความต้องการอยากนั้นบ้างอยากนี้บ้างจิปาถะจะนับเป็นตัวเลขไม่ได้เลยจึงเป็นความอยากเพื่อเสริมกิเลสให้มีกำลังถ้าทำลายหรือตัดความอยากออกจากใจได้แล้วกิเลสก็จะหมดสภาพไปเองอนัตตาหมายถึงสูญสลายไปไม่ใช่อัตตาตัวตนเราเขาการพิจารณาในอนัตตาให้รู้จำในคำว่าอัตตาเอาไว้เพราะอนัตตาเป็นลักษณะที่สูญไปจากอัตตานั้นเองอัตตามี๒อย่างรูปอัตตาหมายถึงธาตุธุลีคือธาตุดินธาตุน้ำธาตุลมธาตุไฟที่รวมกันอยู่เรียกว่านามอัตตาหมายถึงเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณเรียกว่าอาการของจิตการพิจารณาในธาตุสี่ให้แยกพิจารณาดูแต่ละธาตุให้เข้าใจแล้วใช้ปัญญาพิจารณารวมกันเรียกว่าเจริญอาการ๓๒ให้เป็นธาตุด้วยกันทั้งหมดและให้พิจารณาในอสุภะในความสกปรกโสโครกเน่าเฟะในทุกส่วนของธาตุนั้นๆคิดพิจารณาสร้างภาพตามความเป็นจริงอยู่บ่อยๆใจก็จะค่อยเกิดความรู้เห็นเป็นไปตามความจริงชัดเจนก็จะรู้เห็นความไม่สวยงามความสกปรกในร่างกายนี้ให้พิจารณาดูร่างกายของตัวเองและพิจารณาดูรูปร่างกายของคนอื่นให้เป็นในลักษณะสกปรกเน่าเฟะเปื่อยผุพังเหมือนกับตัวเราหรือให้พิจารณาซากศพคนและสัตว์ตายก็ได้เพื่อเป็นพยานหลักฐานยืนยันในความเป็นจริงเมื่อทิ้งไว้ก็จะเป็นอาหารของแมลงวันและหนอนไปเมื่อเอาไปเผาก็เหลือเพียงกระดูกออกมาให้เห็นเราก็จะเป็นในลักษณะนี้เช่นกันหากใจยังครองร่างกายนี้อยู่ก็เคลื่อนไหวไปมาได้เมื่อใจออกจากร่างกายนี้ไปรูปกายทุกส่วนก็จะนอนทับถมสลายไปในแผ่นดินนี้ทั้งหมดจึงไม่เป็นสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาแต่อย่างใดจึงเป็นรูปังอนัตตาอนัตตาในนามที่เป็นอาการของจิตมีเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณอาการของจิตทั้ง๔นี้มีวิญญาณการรับรู้เป็นประธานวิญญาณการรับรู้นี้เองจะเชื่อมโยงให้จิตได้รู้อารมณ์ที่เป็นสุขอารมณ์ที่เป็นทุกข์อารมณ์ที่ไม่สุขไม่ทุกข์ที่เรียกว่าเวทนาสัญญาความจดจำในสิ่งต่างๆวิญญาณการรับรู้ในความจดจำนั้นๆจำในรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะกามคุณห้านี้เองจึงเป็นอาหารที่เลิศรสให้แก่กิเลสตัณหามีความต้องการอยากที่จะสัมผัสจึงทำให้เกิดเวทนาความจำในรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะจำมาเพื่อให้เกิดความหลงรักหลงชังจึงเรียกว่าสัญญาเมื่อจำมาได้ก็ปรุงแต่งให้ใจเกิดความรักขึ้นมาอย่างหยดย้อยทีเดียวใจจึงหลงในความรักมีความยินดีพอใจในความรักความอยากได้อยากมีอยากสัมผัสในความรักนั้นๆอย่างฝังใจทีเดียวรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะที่ไม่ชอบใจก็ใช้วิธีคิดปรุงแต่งให้ใจเกิดความโกรธไม่พอใจในสิ่งใดจึงได้เกิดความทุกข์ขึ้นมาฉะนั้นเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณจึงเป็นลักษณะอาการของใจอาศัยการสัมผัสของอายตนะภายในภายนอกจึงเกิดกระแสแห่งความรักความชังจึงได้เกิดความหลงความเข้าใจผิดไปว่าเป็นตนกิเลสตัณหาน้อยใหญ่จึงเกิดมีในใจจึงทำให้เกิดทิฏฐิมานะจึงเกิดความยึดถือไปว่าเป็นอัตตาตัวตนจึงเกิดมิจฉาทิฏฐิความเห็นผิดว่าเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณเป็นเราขึ้นมากิเลสตัณหาน้อยใหญ่จะอาศัยอยู่ในนามจิตอย่างมืดมิดทีเดียวถ้าสติปัญญาไม่มีความละเอียดแหลมลึกจริงๆจะเจาะเข้าไปให้รู้เห็นตามความจริงนี้ไม่ได้เลยฉะนั้นอัตตาทั้งสองคือรูปอัตตานามอัตตาที่เรียกว่าขันธ์ห้ามีรูปเวทนาสัญญาสังขารวิญญาณเป็นเพียงให้กิเลสตัณหาอาศัยอยู่จึงฝึกสติปัญญาพิจารณาให้รู้เห็นให้เป็นไปในอนิจจังทุกขังอนัตตาให้รู้เห็นเป็นสภาวะที่เกิดขึ้นแล้วย่อมดับไปตามเหตุปัจจัยของขันธ์นั้นๆให้แจ่มแจ้งชัดเจนจะไม่เกิดความเห็นผิดความเข้าใจผิดไปว่าขันธ์ห้าเป็นอัตตาตัวตนแต่อย่างใดจินตามยปัญญาในภาคปฏิบัตินี้เองจึงเรียกว่าการเจริญวิปัสสนาในขั้นโยคาวจรเป็นอุบายการฝึกใจให้ปฏิเสธทอดอาลัยในสรรพสังขารทั้งหลายว่าไม่มีอะไรเป็นเราและเป็นของของเราโดยประการทั้งปวงการใช้ปัญญาพิจารณาในหมวดธรรมใดมิใช่ว่าจะให้เกิดความรู้เห็นเป็นไปในสัจธรรมเท่านั้นต้องทำใจให้ปฏิเสธไปพร้อมๆกันใช้ความจริงจังในขณะพิจารณานั้นอย่างเข้มข้นฮึกเหิมจะใช้ความคิดพิจารณาด้วยปัญญาในเรื่องความจริงอะไรต้องใช้กำลังภายในเป็นองค์ประกอบทุกครั้งไปเสียงภายในก็ใช้วิธีดุดันอย่างเผ็ดร้อนและปฏิเสธไปพร้อมๆกันในขณะนั้นใช้กำลังปัญญาบวกกับกำลังเสียงกระตุกใจให้ตื่นตัวเหมือนกับไฟกำลังโหมไหม้บ้านตัวเองอยู่ผู้ที่ยังนอนหลับหลงใหลไม่รู้ตัวก็ต้องตะโกนกระชากให้ตื่นขึ้นเพื่อจะได้หาน้ำมาดับไฟให้หมดไปนี้ฉันใดไฟของราคะไฟของโทสะไฟของโมหะที่กำลังโหมตัวร้อนใจหลงใหลใฝ่ฝันเมามันอยู่ในกามคุณจะใช้ปัญญาธรรมดาพรรณนาในเรื่องความจริงอย่างไรใจก็ยังใฝ่ฝันไปในความรักความใคร่ในกามคุณที่เป็นฝ่ายต่ำหยาบคายก็ต้องใช้ปัญญาอย่างหยาบกระทบกระแทกใจให้ได้ตื่นตัวเมื่อใจไม่ยอมรับความจริงก็ต้องใช้วิธีดุด่าขู่เข็ญปัญญาจี้ให้ใจได้รู้เห็นในสิ่งที่ไม่เที่ยงจี้ให้ใจรู้เห็นในทุกข์และเหตุให้เกิดทุกข์จี้บังคับให้ใจยอมรับความเป็นจริงเหมือนกับงูที่คาบเขียดกำลังจะกลืนจะบอกให้งูคายออกมาด้วยความนุ่มนวลอ่อนหวานด้วยคำพูดอย่างไรงูก็ไม่ยอมปล่อยวางจึงให้ใช้วิธีตะคอกดุด่าตบตีให้งูเกิดความตกใจกลัวงูจึงจะวางเขียดออกไปได้นี้ฉันใดกิเลสตัณหากำลังเกาะใจอย่างเหนียวแน่นจะใช้ปัญญาพิจารณาที่ถูกต้องตามหลักความจริงกิเลสตัณหาก็จะเกาะอยู่กับใจใจก็เกาะอยู่กับกิเลสตัณหาจึงใช้วิธีตะเพิดดุด่าตะคอกเพื่อให้ใจกับกิเลสตัณหาได้คลายออกจากกันไปไม่ให้มีความผูกพันต่อกันดังที่เคยเป็นมาการใช้ปัญญาสอนใจไม่ให้เป็นมิตรต่อกิเลสตัณหาต้องเอาความความทุกข์ที่เป็นผลงานของกิเลสตัณหามาเป็นพยานหลักฐานพรรณนาความทุกข์ที่ใจได้รับมาเป็นข้อมูลให้ใจได้รู้ได้เห็นในทุกข์โทษภัยในเหตุการณ์ต่างๆที่ผ่านมานจนถึงปัจจุบันเป็นผลงานที่ทรมานเดือดร้อนให้แก่ใจมาตลอดทำให้ใจได้หลงไปในทางที่ต่ำทรามมายาวนานเป็นปัญหาที่สะสมหมักหมมกันมานับชาติไม่ถ้วนเมื่อมาถึงชาตินี้ต้องชำระให้ปัญหาหมดไปจากใจเสียทีสติปัญญาจะพิพากษาว่าการตัดสินลงโทษให้แก่กิเลสตัณหาให้สะใจให้ใจได้มีอิสระไม่มีพันธะผูกพันกับกิเลสตัณหาอีกต่อไปเหมือนกับต้นกำเนิดของไฟเกิดขึ้นในที่ใดจะต้องดับไฟในที่นั้นไม่ปล่อยให้ไฟได้เกิดไหม้ลุกลามต่อไปไม่มีที่สิ้นสุดนี้ฉันใดไฟของราคะไฟของโทสะไฟของโมหะที่โหมทับถมใจให้มีความเดือดร้อนเป็นทุกข์อยู่ตลอดเวลาจึงเป็นหน้าที่ของสติปัญญาต้องเข้าไปแก้ไขระงับเหตุให้หมดไปใจจะได้รู้ตัวว่าถูกกิเลสตัณหาหลอกมายาวนานมีความทุกข์ทรมานเดือดร้อนที่กิเลสตัณหาให้เป็นไปเมื่อมารู้เห็นทุกข์โทษภัยในกิเลสตัณหานี้แล้วใจจะได้รู้ตัวไม่มั่วสุมลุ่มหลงอยู่กับกิเลสตัณหาอีกต่อไปเหมือนกับผู้เคยได้รับโทษภัยในหมู่คนพาลมาแล้วจะได้เป็นบทเรียนจดจำในการกระทำของกลุ่มคนพาลเหล่านั้นจะไม่เข้าใกล้มั่วสุมกับกลุ่มคนพาลอีกต่อไปนี้ฉันใดใจเมื่อถูกฤทธิ์ของกิเลสตัณหาได้พาให้เป็นทุกข์มาแล้วจะเกิดความตื่นตัวจะไม่เป็นเพื่อนเป็นมิตรกับกิเลสตัณหาอีกต่อไปจึงใช้สติปัญญาระงับเหตุแก้ไขในปัญหาให้แก่ใจให้ได้อย่าไปกลัวอิทธิพลศักดิ์ศรีของกิเลสตัณหาแต่อย่างใดบัดนี้จึงเป็นทีของสติปัญญาจะขึ้นสู่บัลลังก์ว่าการอย่างเต็มที่มีทีเด็ดแพรวพราวอย่างไรก็แสดงออกมาด้วยความกล้าหาญเหมือนเข้าสู่สนามรบแล้วก็ต้องเตรียมพร้อมในอาวุธนานาประการไม่มีในคำว่าถอยหลังให้ข้าศึกตั้งหลักได้อาวุธน้อยใหญ่มีเท่าไรจะต้องใส่กันอย่างเต็มที่มีศัตรูน้อยใหญ่ขนาดไหนจะต้องสับฟันห้ำหั่นให้เรียบราบไปจนกว่าจะได้ชนะกลับมาอย่างสง่าผ่าเผยนี้ฉันใดผู้ปฏิบัติต้องฝึกสติปัญญาศรัทธาความเพียรให้พร้อมขณะนี้ขึ้นเวทีตัวจริงไม่มีคำว่าเพื่อนไม่มีคำว่ามิตรอีกต่อไปไม่มีคำว่าแพ้ไม่มีคำว่าเสมอมีแต่ชนะอย่างเดียวกิเลสตัณหาไม่ตายเรายอมตายเราไม่ตายให้กิเลสตัณหาได้ตายไปในครั้งแรกก็ใช้สติปัญญาพิจารณาในสัจธรรมตามความเป็นจริงอยู่บ่อยๆในเมื่อกิเลสตัณหายังมาทำให้ใจได้เกิดความหลงใหลในกามคุณอยู่ไม่ยอมรับความจริงที่สติปัญญาได้อบรมสั่งสอนถ้าอย่างนี้จะไม่มีในคำว่าอภัยอีกต่อไปจะต้องใช้พระเดชแบ่งเขตที่หวงห้ามในทันทีกิเลสตัณหาเข้ามาหลอกใจเมื่อไรในเมื่อนั้นสติปัญญาก็ฟาดฟันให้แตกหักกันไปในทันทีแต่ก่อนมาหลงคิดว่าเป็นมิตรแต่บัดนี้จึงมารู้ว่าเป็นพิษภัยให้แก่ใจทำให้เกิดความทุกข์นานาประการในชาติที่ผ่านมากิเลสตัณหาได้ทำให้ใจได้รับความทุกข์มาตลอดในชาตินี้ก็มีวิธีทำให้ใจได้รับความทุกข์อีกและยังวางแผนงานที่จะทำให้ใจได้รับความทุกข์ในชาติหน้าอีกต่อไปกามตัณหาภวตัณหาและวิภวตัณหานี้เองหรือเป็นต้นเหตุให้ใจหลงผิดเกิดความลุ่มหลงหลงในรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะหลงในวัตถุสมบัติและหลงไปตามกระแสโลกจึงได้เกิดความพอใจยินดีอยู่ในภพทั้งสามซึ่งเป็นผลผลิตขึ้นมาจากตัณหานี้ทั้งสิ้นมีสติปัญญาเท่านั้นที่จะแก้ไขให้ได้เกิดความรู้จริงเห็นจริงได้แต่ก่อนมากิเลสตัณหาได้อบรมสั่งสอนใจมาตลอดบัดนี้ได้ฝึกสติปัญญามาอบรมสั่งสอนใจบ้างให้ใจมีความรู้ความฉลาดรอบรู้ตามความเป็นจริงจะได้เกิดความสำนึกตื่นตัวขึ้นมาได้จะไม่หลงใหลจมอยู่ในกิเลสตัณหาดังที่เคยเป็นมาในชาติอดีตจนถึงปัจจุบันพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘ปัญญา
จินตามยปัญญา
จินตามยปัญญา
จินตามยปัญญา
ปฏิเสธอาลัยสังขาร
จิรัฐิติกาลอ่านว่าจิรัดถิติแปลว่าเวลาที่ยั่งยืนเวลาที่ตั้งอยู่นานคือกาลเวลาอันยาวนานใช้ในกรณีบอกให้รู้ว่ากาลเวลานั้นยาวนานมากจนไม่อาจนับหรือประมาณได้ใช้บ่งบอกเวลาที่ยาวนานปกติใช้เป็นคำสูงเช่นใช้ในคำอวยพรเป็นต้นว่าขอให้พระพุทธศาสนาดำรงคงมั่นเป็นธงชัยแห่งสยามประเทศตลอดจิรัฐิติกาลหรือขอให้เจริญด้วยอายุวรรณะสุขะพละปฏิภาณคุณสารสิริสวัสดิวิรุฬหิไพบูลย์ในพระพุทธศาสนาตลอดจิรัฐิติกาลเทอญพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘จิรัฐิติกาล
จิรัฐิติกาล
จิรัฐิติกาล
จิรัฐิติกาล
ยาวนาน
ท้าวกุเวรรักษาโลกด้านทิศเหนือทำหน้าที่ปกครองยักษ์ท้าวกุเวรมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าท้าวเวสวัณหรือท้าวเวสสุวรรณ
สวรรค์ชั้นแรก
สวรรค์
สวรรค์
ท้าวกุเวร
ท้าวธตรัฐรักษาโลกด้านทิศตะวันออกทำหน้าที่ปกครองเทวดา๓จำพวกได้แก่กุมภัณฑ์วิทยาธรคนธรรพ์
สวรรค์ชั้นแรก
สวรรค์
สวรรค์
ท้าวธตรัฐ
ท้าววิรุฬหกรักษาโลกด้านทิศใต้ทำหน้าที่ปกครองครุฑ
สวรรค์ชั้นแรก
สวรรค์
สวรรค์
ท้าววิรุฬหก
ท้าววิรูปักษ์รักษาโลกด้านทิศตะวันตกทำหน้าที่ปกครองนาค
สวรรค์ชั้นแรก
สวรรค์
สวรรค์
ท้าววิรูปักษ์
บำรุงรักษาวัดจัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป้นไปด้วยดีปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ที่มีอยู่หรือพำนักอาศัยในวัดนั้นปฏิบัติตามพระธรรมวินัยกฎมหาเถรสมาคมข้อบังคับระเบียบหรือคำสั่งของมหาเถรสมาคมเป็นธุระในการอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์ให้ความสะดวกตามสมควรในการทำบุญทำกุศล
หน้าที่เจ้าอาวาส
เจ้าอาวาส
เจ้าอาวาส
บำรุงรักษาวัด
ปัจจัยในคำวัดหมายถึงเครื่องอาศัยของบรรพชิตคือสิ่งของเครื่องใช้ที่จำเป็นสำหรับดำรงชีพของภิกษุสามเณรเรียกอีกอย่างหนึ่งว่านิสสัยมีสี่อย่างจึงได้ชื่อว่าจตุปัจจัยหรือปัจจัย๔จีวรคือเครื่องนุ่งห่มได้แก่ไตรจีวรผ้าห่มผ้าอาบน้ำฝนบิณฑบาตคืออาหารได้แก่ข้าวน้ำผลไม้เป็นต้นเสนาสนะคือที่นอนที่นั่งคือกุฏิศาลาเตียงตั่งหมอนเป็นต้นคิลานเภสัชคือยารักษาโรคปัจจัยเหล่านี้เป็นของควรถวายหรือเป็นของที่สามารถถวายภิกษุสามเณรได้จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าปัจจัยไทยทานในปัจจุบันเงินที่ถวายพระหรือวัดก็นิยมเรียกว่าปัจจัยคงเห็นว่าเงินนั้นสามารถนำไปใช้สอยซื้อหาปัจจัย๔อย่างนั้นได้หรือเป็นสิ่งแทนปัจจัย๔นั้นจึงพลอยเรียกว่าปัจจัยไปด้วยพระธรรมกิตติวงศ์(ทองดีสุรเตโช)ปธ๙ราชบัณฑิตพจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ชุดคำวัด,วัดราชโอรสารามกรุงเทพฯพศ๒๕๔๘จตุปัจจัย
จตุปัจจัย
จตุปัจจัย
จตุปัจจัย
เครื่องอาศัยพระ
พระภิกษุสงฆ์มหานิกายในประเทศไทยมีการครองผ้าจีวรหลายประเภทเช่นห่มดองห่มลดไหล่หรือห่มเฉวียงบ่าซึ่งห่มเวลาลงสังฆกรรมห่มคลุมเวลาออกนอกอารามและห่มมังกรมหานิกาย
การครองจีวร
การครองจีวร
การครองจีวร
หลายประเภท
พักอยู่ค่ะวันเข้าพรรษา
จำ
จำ
จำ
พักอยู่
พุทธิจริตหนักไปทางใช้ปัญญาเจ้าปัญญาเจ้าความคิดมีความฉลาดมีปฏิภาณไหวพริบการคิดการอ่านความทรงจำดีถือหลักการอนุรักษนิยมชอบสั่งสอนคนอื่น
พุทธิจริต
จริต
พุทธิจริต
เจ้าความคิด
มีพรรษา๕พรรษาขึ้นไปกับมีสำนักอยู่ในตำบลนั้นและกำลังดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะตำบลมาแล้วไม่ต่ำกว่า๒ปีหรือกำลังดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสในตำบลนั้นมาแล้วไม่ต่ำกว่า๔ปีหรือเป็นภิกษุที่มีสมณศักดิ์หรือเป็นพระคณาจารย์หรือเป็นเปรียญหรือเป็นนักธรรมเอก
เจ้าคณะตำบล
เจ้าคณะตำบล
เจ้าคณะตำบล
๕พรรษา
๒๓ ความรู้ก่อนหน้า |๒๓ ความรู้ต่อไป
ก | ข | ค | ง | จ | ฉ | ช | ซ | ฌ | ญ | ฐ | ฑ | ฒ | ณ | ด | ต | ถ | ท | ธ | น | บ | ป | ผ | ฝ | พ | ฟ | ภ | ม | ย | ร | ล | ว | ศ | ษ | ส | ห | ฬ | อ | ฮ | ก ถึง ฮ